SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึงอะไร
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทางานตามชุดคาสั่งอย่างอัตโนมัติ โดยจะทาการคานวณเปรียบเทียบ
ทางตรรกกับข้อมูล และให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ โดยมนุษย์ไม่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องในการประมวลผล
1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนา
คอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทาง
เครื่องพิมพ์ ส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติ
ต่าง ๆ คือ
1.2.1 ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางานแบบอัตโนมัติภายใต้คาสั่งที่
ได้ถูกกาหนดไว้ ทางานดังกล่าวจะเริ่มตั้งแต่การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมา
ให้อยู่ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้
1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที
1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี
ข้อผิดพลาด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอหากผล
ของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่โปรแกรม
1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ใน
ปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาด
ใหญ่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร
1.2.6 ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้การติดต่อสื่อสาร
ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อม
กัน ทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information Superhighway)
1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) ช่วยลดปัญหาเรื่องความอ่อนล้าจากการทางานของแรงงานคน
นอกจากนี้ยังลดความผิดพลาดต่างๆได้ดีกว่าด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม
จะสามารถคานวณและหาผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว
3. ระบบคอมพิวเตอร์ เริ่มจากผู้ใช้ทาการกรอกข้อมูลหรือคาสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล
(Input Devices) ซึ่งข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆที่รับเข้ามาจะถูกนาไปเก็บไว้ที่หน่วยความจาหลัก (Memory) จากนั้นก็จะ
ถูกนาไปประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing) แล้วนาผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้
ในหน่วยความจาแรม พร้อมทั้งแสดงออกทางอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) ดังนั้นระบบคอมพิวเตอร์จึง
ประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ส่วนอุปกรณ์รับข้อมูล ส่วนประมวลผลกลาง หน่วยความจา และอุปกรณ์
แสดงผล
คอมพิวเตอร์มีหลักการทางานอยู่ 4 ขั้นตอน คือ
วงจรการทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (IPOS cycle)
1. รับข้อมูล คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคาสั่งผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลและคาสั่ง คือ คีย์บอร์ด เมาส์ และ
สแกนเนอร์ เป็นต้น
รูปที่ 2 แสดงอุปกรณ์นาเข้าคาสั่งและข้อมูล
2. ประมวลผลข้อมูล หรือ CPU (Central Processing Unit) ใช้คานวณและประมวลผลคาสั่งต่างๆ
ตามโปรแกรมที่กาหนด
3. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์ จะเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ใน
อนาคต เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตด์ แผ่นซีดี และอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ตยูเอสบีไดร์ ซึ่งหน่วยเก็บข้อมวล
นี้สามารถ
แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
3.1 หน่วยควมจาหลัก สามารถแบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูลได้ดังนี้คือ
(3.1.1) หน่วยความจาแบบลบเลือนได้ คือ หากเกิดไฟดับระหว่างใช้งาน ข้อมูลจะหาย เรียกว่า แรม
(RAM)
รูปที่ 4 แสดงหน่วยความจาแรม
(3.1.2) หน่วยความจาแบบลบเลือนไม่ได้ คือ หน่วยความจาถาวร แม้ไฟจะดับข้อมูลก็จะยังอยู่เหมือนเดิม
เรียกว่า รอม (ROM)
รูปที่ 5 แสดงหน่วยความจารอม
3.2 หน่วยความจาสารอง คือ หน่วยความจาที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตด์ แผ่นซีดีและอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ต ยูเอสบี
4. แสดงผลข้อมูล เมื่อ ทาการประมวลผลแล้ว คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แสดง
ข้อมูล เช่น หากเป็นรูปภาพกราฟิกก็จะแสดงผลทางจอภาพ ถ้าเป็นงานเอกสารก็จะแสดงผลทางเครื่องพิมพ์
หรือหากเป็นในรูปแบบของเสียงก็จะแสดงผลออกทางลาโพง เป็นต้น
2. ประโยชน์และโทษของคอมพิวเตอร์
จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการทาให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่อ การดาเนินชีวิตประจาวัน
ในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย
รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( Word processing) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้
คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน นอกจากคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์มากมายแล้ว โทษที่เกิดจากใช้
คอมพิวเตอร์ก็มีด้วยเช่นกัน ดังจะกล่าวต่อไปนี้
ประโยชน์จากการใช้งานคอมพิวเตอร์
ด้านการศีกษา : สร้างสื่อการเรียนการสอนได้หลายรูปแบบค้นหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ศึกษา
บทเรียนออนไลน์
ด้านความบันเทิง : สามารถใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความบันเทิงได้ เช่น เล่นเกมส์ ดูภาพยนตร์ ร้องเพลง ฟัง
เพลง เป็นต้น
ด้านติดต่อสื่อสาร : สามารถใช้คอมพิวเตอร์ รับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ และยังสามารถสนทนาผ่าน
ระบบอินเทอร์เน็ตได้
ด้านการออกแบบและสร้างงานศิลปะ : สามารถนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยในเรื่องการออกแบบงาน สร้างงาน
กราฟิกได้
ด้านการพิมพ์เอกสาร : สามารถนาคอมพิวเตอร์ มาสร้างงานด้านงานเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือนาเสนองาน
เป็นรูปเล่มได้
โทษจากการใช้งานคอมพิวเตอร์
เสียสุขภาพ : การใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้ เช่น สายตาพร่ามัว
ปวดเมื่อยตามร่างกาย เป็นต้น
ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างลดลง : ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัวและคนรอบข้างลดน้อยลง เพราะ
เวลาส่วนใหญ่จะถูกใช้ไปกับการอยู่ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ทาให้ขาดสังคมได้
เกิดปัญหาสังคม : ทาให้เกิดปัญหาสังคม เช่นการล่อลวงเพื่อทาการมิดีมิร้าย ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับวัยของ
นักเรียน เพราะเป็นวัยที่ไว้ใจคนง่าย จึงเป็นช่องทางให้มิจฉาชีพปฏิบัติในสิ่งที่ไม่ดี
เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมที่ไม่ดี : เพราะสื่อที่เห็นทางอินเทอร์เน็ตทาให้เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมต่างๆ
ที่ไม่เหมาะสม เช่น การแสดงออกกับเพศตรงข้ามอย่างไม่เหมาะสม หรือ แม้กระทั่งการตั้งแก๊งก่อเหตุต่างๆ
เป็นต้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการdollar onohano
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมMooAuan_Mini
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1maysasithon
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 

Mais procurados (18)

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
 

Destaque

Happy 40th Birthday, Jason!
Happy 40th Birthday, Jason!Happy 40th Birthday, Jason!
Happy 40th Birthday, Jason!shelmac26
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ไกรลาศ จิบจันทร์
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8duangnapa27
 
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักไกรลาศ จิบจันทร์
 
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6Sara Zara
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5พงศธร ภักดี
 
B'wan0182sort
B'wan0182sortB'wan0182sort
B'wan0182sortGWROY
 
Ffs sracture pdf
Ffs sracture pdfFfs sracture pdf
Ffs sracture pdfSunil Jain
 
B'ak0773
B'ak0773B'ak0773
B'ak0773GWROY
 
Aula dra. fabiana tomé 25-03-14
Aula dra. fabiana tomé   25-03-14Aula dra. fabiana tomé   25-03-14
Aula dra. fabiana tomé 25-03-14Fernanda Moreira
 
Formato para t1 (1)
Formato para t1 (1)Formato para t1 (1)
Formato para t1 (1)Luis Rojas
 

Destaque (20)

Banner
BannerBanner
Banner
 
Frameset
FramesetFrameset
Frameset
 
Happy 40th Birthday, Jason!
Happy 40th Birthday, Jason!Happy 40th Birthday, Jason!
Happy 40th Birthday, Jason!
 
Photosho cs
Photosho csPhotosho cs
Photosho cs
 
การสร้างเฟรมเซต
การสร้างเฟรมเซตการสร้างเฟรมเซต
การสร้างเฟรมเซต
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
 
การเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรมการเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรม
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8
 
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
 
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
B'wan0182sort
B'wan0182sortB'wan0182sort
B'wan0182sort
 
Ffs sracture pdf
Ffs sracture pdfFfs sracture pdf
Ffs sracture pdf
 
B'ak0773
B'ak0773B'ak0773
B'ak0773
 
Aula dra. fabiana tomé 25-03-14
Aula dra. fabiana tomé   25-03-14Aula dra. fabiana tomé   25-03-14
Aula dra. fabiana tomé 25-03-14
 
Formato para t1 (1)
Formato para t1 (1)Formato para t1 (1)
Formato para t1 (1)
 

Semelhante a ระบบคอมพิวเตอร์

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันkanit087
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์deepre
 
งาน
งานงาน
งานuddod
 

Semelhante a ระบบคอมพิวเตอร์ (20)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 

Mais de ไกรลาศ จิบจันทร์

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ไกรลาศ จิบจันทร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ไกรลาศ จิบจันทร์
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ไกรลาศ จิบจันทร์
 

Mais de ไกรลาศ จิบจันทร์ (15)

ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
 
ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียนการสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
 
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความการขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
 
ตัวอย่างเว็บไซต์
ตัวอย่างเว็บไซต์ตัวอย่างเว็บไซต์
ตัวอย่างเว็บไซต์
 

ระบบคอมพิวเตอร์

  • 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึงอะไร คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทางานตามชุดคาสั่งอย่างอัตโนมัติ โดยจะทาการคานวณเปรียบเทียบ ทางตรรกกับข้อมูล และให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ โดยมนุษย์ไม่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องในการประมวลผล 1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนา คอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทาง เครื่องพิมพ์ ส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติ ต่าง ๆ คือ 1.2.1 ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางานแบบอัตโนมัติภายใต้คาสั่งที่ ได้ถูกกาหนดไว้ ทางานดังกล่าวจะเริ่มตั้งแต่การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมา ให้อยู่ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้ 1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที 1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี ข้อผิดพลาด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย 1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอหากผล ของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่โปรแกรม 1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร 1.2.6 ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้การติดต่อสื่อสาร ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อม กัน ทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information Superhighway) 1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) ช่วยลดปัญหาเรื่องความอ่อนล้าจากการทางานของแรงงานคน นอกจากนี้ยังลดความผิดพลาดต่างๆได้ดีกว่าด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคานวณและหาผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว
  • 2. 3. ระบบคอมพิวเตอร์ เริ่มจากผู้ใช้ทาการกรอกข้อมูลหรือคาสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) ซึ่งข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆที่รับเข้ามาจะถูกนาไปเก็บไว้ที่หน่วยความจาหลัก (Memory) จากนั้นก็จะ ถูกนาไปประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing) แล้วนาผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้ ในหน่วยความจาแรม พร้อมทั้งแสดงออกทางอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) ดังนั้นระบบคอมพิวเตอร์จึง ประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ส่วนอุปกรณ์รับข้อมูล ส่วนประมวลผลกลาง หน่วยความจา และอุปกรณ์ แสดงผล คอมพิวเตอร์มีหลักการทางานอยู่ 4 ขั้นตอน คือ วงจรการทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (IPOS cycle) 1. รับข้อมูล คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคาสั่งผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลและคาสั่ง คือ คีย์บอร์ด เมาส์ และ สแกนเนอร์ เป็นต้น
  • 3. รูปที่ 2 แสดงอุปกรณ์นาเข้าคาสั่งและข้อมูล 2. ประมวลผลข้อมูล หรือ CPU (Central Processing Unit) ใช้คานวณและประมวลผลคาสั่งต่างๆ ตามโปรแกรมที่กาหนด 3. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์ จะเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ใน อนาคต เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตด์ แผ่นซีดี และอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ตยูเอสบีไดร์ ซึ่งหน่วยเก็บข้อมวล นี้สามารถ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 3.1 หน่วยควมจาหลัก สามารถแบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูลได้ดังนี้คือ (3.1.1) หน่วยความจาแบบลบเลือนได้ คือ หากเกิดไฟดับระหว่างใช้งาน ข้อมูลจะหาย เรียกว่า แรม (RAM)
  • 4. รูปที่ 4 แสดงหน่วยความจาแรม (3.1.2) หน่วยความจาแบบลบเลือนไม่ได้ คือ หน่วยความจาถาวร แม้ไฟจะดับข้อมูลก็จะยังอยู่เหมือนเดิม เรียกว่า รอม (ROM) รูปที่ 5 แสดงหน่วยความจารอม 3.2 หน่วยความจาสารอง คือ หน่วยความจาที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตด์ แผ่นซีดีและอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ต ยูเอสบี 4. แสดงผลข้อมูล เมื่อ ทาการประมวลผลแล้ว คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แสดง ข้อมูล เช่น หากเป็นรูปภาพกราฟิกก็จะแสดงผลทางจอภาพ ถ้าเป็นงานเอกสารก็จะแสดงผลทางเครื่องพิมพ์ หรือหากเป็นในรูปแบบของเสียงก็จะแสดงผลออกทางลาโพง เป็นต้น
  • 5. 2. ประโยชน์และโทษของคอมพิวเตอร์ จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการทาให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่อ การดาเนินชีวิตประจาวัน ในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( Word processing) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน นอกจากคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์มากมายแล้ว โทษที่เกิดจากใช้ คอมพิวเตอร์ก็มีด้วยเช่นกัน ดังจะกล่าวต่อไปนี้ ประโยชน์จากการใช้งานคอมพิวเตอร์ ด้านการศีกษา : สร้างสื่อการเรียนการสอนได้หลายรูปแบบค้นหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ศึกษา บทเรียนออนไลน์
  • 6. ด้านความบันเทิง : สามารถใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความบันเทิงได้ เช่น เล่นเกมส์ ดูภาพยนตร์ ร้องเพลง ฟัง เพลง เป็นต้น ด้านติดต่อสื่อสาร : สามารถใช้คอมพิวเตอร์ รับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ และยังสามารถสนทนาผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตได้ ด้านการออกแบบและสร้างงานศิลปะ : สามารถนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยในเรื่องการออกแบบงาน สร้างงาน กราฟิกได้
  • 7. ด้านการพิมพ์เอกสาร : สามารถนาคอมพิวเตอร์ มาสร้างงานด้านงานเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือนาเสนองาน เป็นรูปเล่มได้ โทษจากการใช้งานคอมพิวเตอร์ เสียสุขภาพ : การใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้ เช่น สายตาพร่ามัว ปวดเมื่อยตามร่างกาย เป็นต้น
  • 8. ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างลดลง : ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัวและคนรอบข้างลดน้อยลง เพราะ เวลาส่วนใหญ่จะถูกใช้ไปกับการอยู่ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ทาให้ขาดสังคมได้ เกิดปัญหาสังคม : ทาให้เกิดปัญหาสังคม เช่นการล่อลวงเพื่อทาการมิดีมิร้าย ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับวัยของ นักเรียน เพราะเป็นวัยที่ไว้ใจคนง่าย จึงเป็นช่องทางให้มิจฉาชีพปฏิบัติในสิ่งที่ไม่ดี เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมที่ไม่ดี : เพราะสื่อที่เห็นทางอินเทอร์เน็ตทาให้เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมต่างๆ ที่ไม่เหมาะสม เช่น การแสดงออกกับเพศตรงข้ามอย่างไม่เหมาะสม หรือ แม้กระทั่งการตั้งแก๊งก่อเหตุต่างๆ เป็นต้น