SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
ระดับครู
 ผู้ช่วย
ห้องเรีย
นที่ 1
ภารกิจ
               ที่ ีการจัดการเรียนรู้ของครู
ให้ท่านวิเคราะห์วิธ 1
แต่ล่ะคนว่าอยู่ในกระบวนทัศน์การออกแบบ
การสอนใดและมีพื้นฐานมาจาทฤษฎีการ
เรียนรู้ใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ครูบญุ
                  มี


        กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครู
บุญมี คือ การออกแบบการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำาคัญ ใส่ใจในกระบวกการเรียนรู้ของ
นักเรียน ตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของการ
เรียนรู้ที่เน้นผูเรียนเป็นสำาคัญได้แก่
                 ้
• ลงมือปฏิบัตดวยตนเอง : การจดบันทึก การ
                ิ ้
ท่องซำ้าในส่วนที่สำาคัญ
• เรียนอย่างมีความสุข: ใช้สื่อประกอบการ
สอนเพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อ หน่าย เป็น
เป็นการกระตุ้นการเรียนรู้
• ได้แลกเปลี่ยนเรียนรูร่วมกับผู้อื่น : การท่อง
                          ้
ศัพท์ โดยอาจจะเปลี่ยนกันท่องกันจำา เพื่อให้
เกิดความแม่นยำา
• มีโอกาสใช้กระบวนการคิด : เมื่อเรียนจบ
แต่ละบทครูบุญมีก็จะทำาการสอบเก็บคะแนน
เพื่อวัดความรูความเข้าใจ และทบทวนความรู้
• ได้ใช้สื่อต่างๆเพื่อการเรียนรู้ : ใช้บทเรียน
โปรแกรม/ ชุดการสอน เพื่อให้ผเรียนเข้าใจได้ดี
                              ู้
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน
ของครูบุญมี มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการ
เรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม โดยจะ
สังเกตได้จากวิธีการสอนของครูบุญมีที่จะ
สอนแบบบรรยาย เน้นการท่องจำา ท่องซำ้าๆ
ให้จำาได้ การฝึกคัดลายมือ ซึงตรงตาม
                              ่
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแนวพฤติกรรมนิยมที่
เน้นให้ผู้เรียนจดจำาความรู้ให้ได้ปริมาณมาก
ที่สุด ครูเป็นเพียงผูเสนอข้อมูล สารสนเทศ
                     ้
เช่น ตำาราเรียน การบรรยาย โดยที่นักเรียน
ไม่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนเลย
ครู
                  บุญช่วย


        กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครู
บุญช่วย คือ การออกแบบการสอนที่ เน้นผู้เรียน
เป็นสำาคัญ ครูบุญช่วยจะใส่ใจถึงความคิด ความ
ต้องการการเรียนรู้ของเด็ก โดยจะสังเกตได้จาก
ก่อนจะเริมเข้าสู่บทเรียนครูได้มีการหยิบยกเอา
           ่
เรื่องราวในชีวตประจำาวันหรือข่าวสารต่างๆมา
               ิ
เชื่อมโยงความรู้ของนักเรียนเป็นการผ่อนคลาย
และกระตุนให้ผเรียนพร้อมต่อการเรียนรู้ที่กำาลัง
             ้   ู้
จะเกิดขึน้
ในส่วนของกิจกรรมในชันเรียน ครูบุญช่วยได้
                        ้
สร้างสถานการณ์ปัญหาให้เด็กได้ร่วมกันศึกษา
การแก้ปัญหา มีการเตรียมแหล่งการเรียนรู้เพื่อ
ให้นักเรียนได้ใช้ศึกษา ค้นคว้าในการทำา
กิจกรรม ครูเป็นแค่ผแนะนำา ผู้เรียนได้ลงมือ
                     ู้
ทดลอง/แก้ปัญหาได้ด้วนตนเอง สุดท้าย
นักเรียนก็จะนำาเอาความคิดของกลุ่มตนมานำา
เสนอเพือให้เกิดการเรียนรู้และความเข้าใจร่วม
         ่
กัน
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครู
บุญช่วย มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้ตามแนว
คอนสรัคติวสต์  ิ
         บทบาทของผูเรียน คือ ลงมือกระทำาการ
                      ้
เรียนรู้ สร้างความรู้ตนเองผ่านประสบการณ์ โดย
ครูบุญช่วยให้สถานการณ์ปัญหามาแล้วแบ่งกลุ่ม
ให้เด็กได้แก้ปัญหา เด็กจะเกิดกระบวนการคิดแก้
ปัญหาอาจจะมาจากประสบการณ์เดิมของตน
ของเพื่อนหรือได้ใช้แหล่งเรียนรู้ที่ครูได้จดไว้ให้
                                          ั
เช่น หนังสือ วีดิทัศน์ เป็นต้น เด็กได้ลงมือศึกษา
แก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการระดมความคิดกับ
เพื่อน สร้างวิธีการแก้ปัญหาขึ้นมา นำาเสนอวิธี
การกลุ่มตนกับเพื่อนกลุ่มอื่นเป็นการแลกเปลี่ยน
บทบาทของผูสอน จะเป็นผู้แนะแนว
                      ้
ทาง เป็นโค้ช หรือผู้ที่ร่วมแก้ปัญหาไปพร้อม
กับผู้เรียน โดยก่อนเรียนครูบุญช่วยได้นำา
เข้าสู่บทเรียนโดยการ ใช้เรื่องราวที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจำาวัน ข่าวสารต่างๆมาเป็นตัวกระตุ้น
เป็นการสอนให้เด็กได้ใช้การเชือมโยงสิ่ง
                                 ่
ต่างๆเข้าสู้บทเรียนได้ และการจัดสถานการณ์
ปัญหาขึ้นมาให้แต่ละกลุ่มได้ศกษานั้นก็เพื่อ
                               ึ
ส่งเสริมให้เด็กได้เกิดกระบวนการเรียนรู้จาก
การทำากิจกรรมกลุ่มร่วมกัน ให้เด็กได้ใช้ความ
คิด การเชือมโยงความรูเก่ามาใช้ มีการจด
           ่              ้
ความคิดอย่างเป็นระบบ เมื่อผู้เรียนออกนอก
ครูบุญชู


       กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของ
ครูบุญชู คือ การออกแบบการสอนทีเน้นครู
                                    ่
เป็นสำาคัญ เนื่องจากครูบุญชูเน้นเนื้อหาที่จะ
สอนและการจดจำาของผูเรียนเป็นหลัก เช่นการ
                       ้
ใช้ คำาคล้องจอง การแต่งเพลงร้องสร้างความ
จำา การใช้แผนภูมิ รูปภาพประกอบ เป็นต้น
โดยครูเน้นให้เด็กท่องจำา ทำาซำ้าๆจนจนได้ แม้
จะมีการเชื่อมโยงความรู้เก่ามาใช้แต่เป็นการ
ใช้เพียงเพือการจดจำาให้ขนใจเท่านั้นไม่ได้
           ่             ึ้
เน้นให้เด็กเกิดกระบวนการคิดขณะเรียนแต่
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน
ของครูบุญชู มีพื้นฐานมาจากแนวคิด
พฤติกรรมนิยม โดยเน้นความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง เน้นให้ผู้
เรียนสามารถจดจำาความรู้ให้ได้ปริมาณมาก
ที่สุดโดยไม่ได้สนใจกระบวนการภายในตัว
ของผู้เรียน เช่น ในวิชาภาษาอังกฤษของ
ครูบุญชูได้ใช้คำาคล้องจอง หรือแต่งเพลงให้
ผูเรียนได้ฝกร้องเพื่อให้เกิดความจำา แต่ผู้
   ้         ึ
เรียนก็ไม่ได้ใช้กระบวนการคิดในขณะที่เรียน
รู้จึงไม่ทำาให้ผเรียนเกิดการพัฒนา
                ู้
ภารกิจที่ 2


วิธีการเรียนรู้ของครูแต่ละคนมีข้อดี
        และข้อเด่นอย่างไร
ครูบุญมี

             ข้อ                    ข้อ
              ดี                    เสีย
1.ใช้สื่อการสอน เช่น     1.นักเรียนไม่มีส่วนร่วมใน
บทเรียนโปรแกรม และ           การเรียนรู้
ชุดการสอน                มีแต่รอรับความรู้จากครู
2. เมื่อเรียนจบแต่ละบท       ฝ่ายเดียว
จะมีการสอบเก็บคะแนน      2. นักเรียนคิดและแก้
ซึงเป็นวิธีการเสริมแรง
  ่                          ปัญหาไม่เป็น
เพือประเมินความรู้
    ่                    3.นักเรียนไม่สามารถ
นักเรียน และกระตุนให้
                   ้         เชื่อมโยงความรู้เก่า
นักเรียนมีพัฒนาการใน         กับความรู้ใหม่ได้
ข้อ                    ข้อ
           ดี                   เสีย
3.การสอนแต่ละ          5. นักเรียนไม่ได้
    ชัวโมงจะเน้น
      ่                ทำางานเป็นกลุ่ม
    การบรรยาย          และไม่ได้แลก
4. เน้นยำ้าจุดสำาคัญ   เปลี่ยนความคิดกับ
    ให้นักเรียนจด      เพื่อน
    บันทึก และ         6.นักเรียนไม่
    ท่องจำาหลายๆๆ      สามารถคิดรวบยอด
    ครั้ง              หรือคิดแบบองค์รวม
5. ให้นักเรียนท่อง     ได้
    คำาศัพท์วนละ
              ั
    5คำาทุกวัน และ
    ให้คัดลายมือมา
ครูบญช่วย
                              ุ
              ข้อ                                 ข้อ
              ดี                                  เสีย
1.เตรียมแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ       1.การแบ่งนักเรียนให้ทำางาน
เช่น หนังสือ วีดีทัศน์ ฯลฯเพื่อให้   ร่วมกันเป็นกลุ่ม
ผู้เรียนค้นหาคำาตอบ และร่วมมือ       เด็กบางคนไม่กล้าแสดงความ
กันเรียนรู้หรือแลกเปลี่ยน            คิดเห็น บางกลุ่มมีคน
ประสบการณ์                           ทำางาน1-2คน เพื่อนที่เหลือนั่ง
2.ครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา หากพบ       ดู นั่งเล่นกัน หรือคุยกันเรื่อง
ว่ามีผู้เรียนคนใดหรือกลุ่มใดเข้า     ต่างๆๆขณะที่เพื่อนทำางาน
คลาดเคลื่อน                          2. นักเรียนบางคนคิดนอกกรอบ
ครูก็จะเข้าไปอธิบายและกระตุ้น        ไม่เป็น เพราะยึดติดกับการ
ให้คิด                               เรียนการสอนแบบเดิมๆๆที่อิง
3.กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้    ตำารา
และมีทักษะในการสร้างความรู้          3.ความคิดเห็นไม่ตรงกัน
ข้อ               ข้อ
               ดี               เสีย
5.ครูจะนำาเข้าสู่บทเรียนโดย
เชื่อมโยงเนื้อหาที่เรียนกับ
ประสบการณ์เดิมของผูเรียน้
เช่นการใช้คำาถาม
6.แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุม  ่
แล้วมอบสถานการณ์ปัญหาให้
ผูเรียนทุก ๆ กลุ่ม
  ้
7. ส่งเสริมการมีกจกรรมร่วมกัน
                   ิ
ระหว่างผู้เรียน
8. เปิดโอกาสให้ผเรียนู้
วางแผน ดำาเนินการ และการ
ประเมินด้วยตนเอง
 9.หลังจากได้คำาตอบแล้ว
ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอแนวคิด
ครูบุญชู

           ข้อ                           ข้อ
            ดี                           เสีย
1.สอนเทคนิคให้นักเรียนจำา     1. นักเรียนไม่เกิด
คำาศัพท์ภาษาอังกฤษได้            กระบวนการเรียนรู้ด้วย
โดยไม่ลืม เช่น การแต่ง           ตัวเอง
เป็นบทเพลง การใช้คำา          2. นักเรียนคิดนอกกรอบ
คล้องจอง การใช้แผนภูมิ           ไม่เป็น
รูปภาพประกอบเนื้อหาที่        3. นักเรียนไม่มีส่วนร่วมใน
ต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจถึง      การเรียนรู้
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์       4.นักเรียนไม่สามารถคิด
ประกอบ                           รวบยอดหรือคิดแบบ
2. นักเรียนสามารถเชือม่          องค์รวมได้
โยงความรู้เดิมมาช่วยใน        5.นักเรียนยังไม่สามารถคิด
ข้อ                        ข้อ
              ดี                        เสีย
4.นักเรียนเรียบเรียงความรู้ 7. นักเรียนไม่ได้ทำางานเป็นก
อย่างเป็นระบบและสามารถ ลุ่ม และไม่ได้แลกเปลี่ยน
เรียกกลับมาใช้ได้เมื่อ       ความคิดกับเพื่อน
ต้องการ
5.การให้ผเรียนจำาคำาศัพท์
          ู้
โดยใช้การออกเสียงภาษา
อังกฤษที่เหมือนกับภาษา
ไทย เช่น
pic กับ พริก และ bear กับ
แบมือ พร้อมมีรูปประกอบซึง  ่
เป็นการ
ภารกิจที่ 3


วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่สอดคล้องกับ
 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
      ๒๕๔๒ มากที่สด เพราะเหตุใด
                      ุ
ซึงผูสอนใช้สื่อการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือที่
              ่ ้
ใช้ในการถ่ายทอดความรู้                      ความเข้าใจ
ความรู้สึก เพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ สร้าง
สถานการณ์การเรียนรู้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา
ศักยภาพทางความคิดและมุ่งเน้นการส่งเสริมผู้เรียน
ทางด้านการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเช่น ในการ
สอนแต่ละครั้งครูบุญช่วยจะนำาเข้าสู่บทเรียนโดย
เชื่อมโยงเนื้อหาที่เรียนกับประสบการณ์เดิมของผู้
เรียน นอกจากนี้ครูบุญช่วยยังได้เตรียมแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ วีดทัศน์ เว็บไซต์ที่
                                ี
เกี่ยวข้องฯลฯให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผเรียนค้นหาคำา
                                         ู้
ตอบ และร่วมมือกันเรียนรู้หรือแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์         มีวิธีการคือ แบ่งนักเรียนออกเป็นก
ลุ่มแล้วมอบสถานการณ์ปัญหาให้ผเรียนทุก ๆ กลุม
                                      ู้              ่
วิธีการจัดการเรียนรู้ของครูบุญช่วยสอดคล้องกับพระราช
    บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด


         เพราะผูสอนมุ่งเน้นที่การพัฒนาศักยภาพของผู้
                ้
 เรียนเป็นสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความรู้
และ การพัฒนากระบวนการคิด ทั้งนี้การจัดการศึกษา
 ต้องยึดหลักการว่าผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้
                    ้
 และพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำาคัญ
 ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผเรียน
                                             ู้
 สามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
เพื่อเปิดโอกาสให้ผเรียนวางแผน ดำาเนิน
                            ู้
การ และการประเมินด้วยตนเอง ครูเป็นผูให้คำา
                                        ้
แนะนำา หากพบว่ามีผเรียนคนใดหรือกลุ่มใดเข้า
                      ู้
คลาดเคลื่อน       ครูก็จะเข้าไปอธิบายและกระตุ้น
ให้คิด หรือ กระตุ้นให้ผเรียนแสวงหาความรู้และมี
                         ู้
ทักษะในการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง ซึงเรียกว่า
                                      ่
การเน้นผูเรียนเป็นศูนย์กลาง
           ้                    หลังจากได้คำา
ตอบแล้ว ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอแนวคิดความ และ
ร่วมกับสรุปบทเรียนเป็นความเข้าใจของตนเอง
ห้องเรีย
นที่ 2
ภารกิจ
               ที่ 1

 ให้ท่านวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นว่าน่าจะมี
สาเหตุมาจากอะไรบ้าง
จากหลักสูตรแกนกลาง


1.รูปแบบหลักสูตรยากเกินไป เนื้อหาเยอะ
เพราะเน้นการ(ฝึก-ทำา-ยำ้า-ทวน) หรือเน้นการ
ท่องจำามากกว่าการคิดเป็นแก้ปัญหาเป็น
2.ไม่เน้นผูเรียนเป็นสำาคัญ เพราะนักเรียนยัง
           ้
รอรับความรู้จากครูผสอน โดยไม่ศึกษาความรู้
                     ู้
ด้วยตัวเอง
3.ไม่มีการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้
คนไทยมีทักษะกระบวนการและเจตคติที่ดีทาง
คณิตศาสตร์ เพื่อมีความคิดสร้างสรรค์
4.การนำา หลักสูตรไปใช้ยังไม่สามารถสร้างพื้น
ฐานในการคิด สร้างวิธีการ
เรียนรู้ให้คนไทยมีทักษะในการจัดการและทักษะ
ในการบูรณาการเข้ากับการดำาเนินชีวิตเพื่อพัฒนา
คนให้มีความ
5.ไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์
จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำา ได้คิดเป็น ทำาเป็น รัก
การอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องผสมผสาน
สาระทางคณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่างๆได้
จากตัวครู


1.ครูสอนนักเรียนโดยอาศัยการท่องจำา (ฝึก- ทำา –
ยำ้า – ทวน ) มากกว่าการทำาความเข้าใจ
2. ครูเน้นคำาตอบที่ถูกต้องมากกว่ากระบวนการคิด
ของนักเรียนทำาให้เด็กคิดไม่เป็น เด็กจึงอาศัยหลัก
การจำาในการทำาข้อสอบเพื่อให้ได้คำาตอบที่ถกต้อง
                                           ู
เพียงคำาตอบเดียว เมื่อสอบเส็จนักเรียนก็จะลืม
เนื่องจากความรู้ที่ได้เป็นการจดจำาระยะสั้น
3.ครูไม่สอนให้นักเรียนเห็นว่าวิชาคณิตศาสตร์มี
ความสำาคัญกับการใช้ชวตประจำาวันอย่างไร
                          ี ิ
4.ครูไม่มีเทคนิคหรือวิธีการต่างๆๆที่เป็นสิ่งดึงดูดใจ
ให้ผเรียนไม่น่าเบื่อเมื่อเรียนวิชาคณิตศาสตร์
      ู้
5.ครูผู้สอนไม่มีการดึงดูดความสนใจผูเรียนเข้าสู่การ
                                       ้
เรียน
ซึงอาจทำาได้โดยการถาม การเล่าเรื่องที่น่าสนใจ
  ่
เพือเข้าสู่บทเรียน
    ่
6.ครูผู้สอนไม่เน้นผูเรียนเป็นศูนย์กลาง ซึงไม่เปิด
                     ้                   ่
โอกาสให้นักเรียนได้ฝึกกระบวนการคิด การแก้
ปัญหาและให้ผเรียนลงมือปฎิบัติดวยตนเอง
                ู้                 ้
จากตัวนักเรียน
1.นักเรียนมีอคติที่ไม่ดีตอรายวิชาคณิตศาสตร์เพราะคิด
                         ่
ว่าเป็นวิชาที่เรียนยากและไม่สามารถนำาความรู้ที่ได้ไป
ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวันได้ได้ เช่น การดิฟ กับ
อินทิเกรต
2.นักเรียนไม่เห็นประโยชน์หรือคุณค่าของวิชา
คณิตศาสตร์ซงเป็นพื้นฐานของทุกอย่าง
                ึ่
3.เมื่อนักเรียนเรียนวิชาคณิตศาสตร์แล้วไม่สามารถแก้
ปัญหาได้จริงจากสถานการณ์จริงเนื่องจากรอรับความรู้
จากครูอย่างเดียวจึงทำาให้เกิดความเบื่อหน่ายส่งผลให้
ศักยภาพทางคณิตศาสตร์ลดลง
4. ไม่มีแรงจูงใจหรือสิ่งกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเรียน
คณิตศาสตร์และนักเรียนขาดความตังใจในการเรียน
                                      ้
ภารกิจ
                 ที่ 2
 วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรียนรู้ และการออกแบบการ
สอนที่สามารถแก้ปัญหาได้
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สามารถแก้ปัญหาได้ คือ ทฤษฎีการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์    ิ
• ผูเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ได้ลงมือกระทำาการเรียน
     ้
รู้เอง สร้างความรู้อย่างตืนตัวด้วยตนเอง โดยพยายาม
                          ่
สร้างความเข้าใจนอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รบโดยการ
                                             ั
สร้างสิ่งแทนความรู้
• ผูเรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านประสบการณ์
       ้
สามารถเชื่อมโยงความรู้เก่าสู่ความรู้ใหม่ และสามารถ
สร้างองค์ความรู้ใหม่ได้
• ผูสอนเป็นผู้แนะนำา ช่วยให้นักเรียนแต่ละเกิดการเรียนรู้
         ้
จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผเรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง
                                  ู้
มีประสิทธิภาพ
การออกแบบการสอนที่สามารถแก้ปัญหาได้ คือ
เราจะใช้รูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรูตาม    ้
แนวคอนสตรัคติวิสต์ ซึงจะมีหลักการที่สำาคัญดังนี้
                         ่
• สถานการณ์ปัญหา : ผูสอนสร้างสถานการณ์ปัญหา
                           ้
ที่เหมาะสมกับสภาพการเรียนรู้ของผูเรียน เช่น สร้าง
                                   ้
สถานการณ์ปัญหาทรงกระบอกมาประกอบการสอนการ
เรียนเรื่องการหาพื้นที่
• แหล่งการเรียนรู้ : ครูควรให้แหล่งการเรียนรู้ที่เพียง
พอและเหมาะสม เช่น หนังสือ วีดิทัศน์ เว็บ เป็นต้น
• ฐานการช่วยเหลือ : เมื่อผูเรียนมีปัญหาครูควรช่วย
                             ้
เหลือโดยการให้คำาแนะนำาทั้งทางด้านความคิดรวบยอด
ความคิด กระบวนการ กลยุทธ์
• การร่วมมือกันแก้ปัญหา : ผู้สอนจะต้องเป็นผูแนะนำา
                                                ้
ร่วมศึกษาปัญหาต่างๆไปพร้อมกับผูเรียนจะส่งผลให้ผู้
                                 ้
ภารกิจ
            ที่ 3
 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ
แก้ปญหาดังกล่าวได้
    ั
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถแก้ปัญหาดัง
กล่าวได้ ดังนี้
-เน้นผูเรียนเป็นสำาคัญ โดยเปิดโอกาสให้ผเรียนได้
       ้                                 ู้
ศึกษาค้นคว้า ความรู้ด้วยตัวเอง
-กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้และมีทักษะในการสร้าง
ความรู้ได้เอง สามารถเชือมโยงความรู้และบูรณาการกับ
                        ่
ชีวิตประจำาวันได้
-สามารถสร้างสิ่งที่แทนความรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่
ได้ด้วยตนเอง
-นักเรียนมีอิสระทางความคิด
-ครูเป็นผูแนะนำา แนวแนวทางการเรียนรู้ การแก้ปัญหา
           ้
-สร้างกิจกรรมที่น่าสนใจ เพื่อส่งเสริมลักษณะ
กระบวนการเรียนรู้
สมาชิก
       ในกลุ่ม


นางสาวเจนจิรา    ศรีสุชาติ
          543050015-7
นางสาวณัฐธีรา    มะโพธิ์ศรี
       543050019-9
นางสาวลัดดาวัลย์ จำาปานุ้ย
          543050563-5

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Chaya Kunnock
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Noppasorn Boonsena
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
Jo Smartscience II
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Vs'veity Sirvcn
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
wannisa_bovy
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
ananphar
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
Kobwit Piriyawat
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
ทศพล พรหมภักดี
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
Beeby Bicky
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 

Mais procurados (15)

ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3
 

Destaque

Enjoy ourselves
Enjoy ourselvesEnjoy ourselves
Enjoy ourselves
pakon
 
...eta GAZTEOK ZER?
...eta GAZTEOK ZER?...eta GAZTEOK ZER?
...eta GAZTEOK ZER?
laieneblog
 
2012 04-14 - textos dramat verde vida
2012 04-14 - textos dramat verde vida2012 04-14 - textos dramat verde vida
2012 04-14 - textos dramat verde vida
O Ciclista
 
Aplicacions educatives d'eines web III
Aplicacions educatives d'eines web IIIAplicacions educatives d'eines web III
Aplicacions educatives d'eines web III
Estiu Web
 
Mapas conceptuales pastor oswaldo
Mapas conceptuales pastor oswaldoMapas conceptuales pastor oswaldo
Mapas conceptuales pastor oswaldo
opastor
 

Destaque (20)

Lab brochure IT
Lab brochure ITLab brochure IT
Lab brochure IT
 
Katalogs 09 2012
Katalogs 09 2012Katalogs 09 2012
Katalogs 09 2012
 
[Cook it] 비영리를 위한 프레지(Prezi) 간단 활용법
[Cook it] 비영리를 위한 프레지(Prezi) 간단 활용법[Cook it] 비영리를 위한 프레지(Prezi) 간단 활용법
[Cook it] 비영리를 위한 프레지(Prezi) 간단 활용법
 
Enjoy ourselves
Enjoy ourselvesEnjoy ourselves
Enjoy ourselves
 
1度c的温暖
1度c的温暖1度c的温暖
1度c的温暖
 
...eta GAZTEOK ZER?
...eta GAZTEOK ZER?...eta GAZTEOK ZER?
...eta GAZTEOK ZER?
 
2012 04-14 - textos dramat verde vida
2012 04-14 - textos dramat verde vida2012 04-14 - textos dramat verde vida
2012 04-14 - textos dramat verde vida
 
Tugas 3 konsep layanan
Tugas 3 konsep layananTugas 3 konsep layanan
Tugas 3 konsep layanan
 
Работа команды CUBE
Работа команды CUBEРабота команды CUBE
Работа команды CUBE
 
设计师提案设计模板 V1.0
设计师提案设计模板 V1.0设计师提案设计模板 V1.0
设计师提案设计模板 V1.0
 
Ravi ppt
Ravi pptRavi ppt
Ravi ppt
 
Aplicacions educatives d'eines web III
Aplicacions educatives d'eines web IIIAplicacions educatives d'eines web III
Aplicacions educatives d'eines web III
 
My profile
My profileMy profile
My profile
 
Social collaboration
Social collaborationSocial collaboration
Social collaboration
 
2015 12-02 - dia não fumador - ji ce avelãs
2015 12-02 - dia não fumador - ji ce avelãs2015 12-02 - dia não fumador - ji ce avelãs
2015 12-02 - dia não fumador - ji ce avelãs
 
第六章1
第六章1第六章1
第六章1
 
Connections Roundtable 3
Connections Roundtable 3Connections Roundtable 3
Connections Roundtable 3
 
第七章 图[1]
第七章 图[1]第七章 图[1]
第七章 图[1]
 
Mapas conceptuales pastor oswaldo
Mapas conceptuales pastor oswaldoMapas conceptuales pastor oswaldo
Mapas conceptuales pastor oswaldo
 
第四章 串
第四章 串第四章 串
第四章 串
 

Semelhante a ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
panggoo
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Arm Watcharin
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Vs'veity Sirvcn
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
Vachii Ra
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
นภสร ยั่งยืน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Jutamart Bungthong
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
Atima Teraksee
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
FuangFah Tingmaha-in
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
Junya Punngam
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach06709
 

Semelhante a ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม (20)

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 

ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม

  • 3. ภารกิจ ที่ ีการจัดการเรียนรู้ของครู ให้ท่านวิเคราะห์วิธ 1 แต่ล่ะคนว่าอยู่ในกระบวนทัศน์การออกแบบ การสอนใดและมีพื้นฐานมาจาทฤษฎีการ เรียนรู้ใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 4. ครูบญุ มี กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครู บุญมี คือ การออกแบบการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำาคัญ ใส่ใจในกระบวกการเรียนรู้ของ นักเรียน ตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของการ เรียนรู้ที่เน้นผูเรียนเป็นสำาคัญได้แก่ ้
  • 5. • ลงมือปฏิบัตดวยตนเอง : การจดบันทึก การ ิ ้ ท่องซำ้าในส่วนที่สำาคัญ • เรียนอย่างมีความสุข: ใช้สื่อประกอบการ สอนเพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อ หน่าย เป็น เป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรูร่วมกับผู้อื่น : การท่อง ้ ศัพท์ โดยอาจจะเปลี่ยนกันท่องกันจำา เพื่อให้ เกิดความแม่นยำา • มีโอกาสใช้กระบวนการคิด : เมื่อเรียนจบ แต่ละบทครูบุญมีก็จะทำาการสอบเก็บคะแนน เพื่อวัดความรูความเข้าใจ และทบทวนความรู้ • ได้ใช้สื่อต่างๆเพื่อการเรียนรู้ : ใช้บทเรียน โปรแกรม/ ชุดการสอน เพื่อให้ผเรียนเข้าใจได้ดี ู้
  • 6. กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน ของครูบุญมี มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการ เรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม โดยจะ สังเกตได้จากวิธีการสอนของครูบุญมีที่จะ สอนแบบบรรยาย เน้นการท่องจำา ท่องซำ้าๆ ให้จำาได้ การฝึกคัดลายมือ ซึงตรงตาม ่ ทฤษฎีการเรียนรู้ของแนวพฤติกรรมนิยมที่ เน้นให้ผู้เรียนจดจำาความรู้ให้ได้ปริมาณมาก ที่สุด ครูเป็นเพียงผูเสนอข้อมูล สารสนเทศ ้ เช่น ตำาราเรียน การบรรยาย โดยที่นักเรียน ไม่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนเลย
  • 7. ครู บุญช่วย กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครู บุญช่วย คือ การออกแบบการสอนที่ เน้นผู้เรียน เป็นสำาคัญ ครูบุญช่วยจะใส่ใจถึงความคิด ความ ต้องการการเรียนรู้ของเด็ก โดยจะสังเกตได้จาก ก่อนจะเริมเข้าสู่บทเรียนครูได้มีการหยิบยกเอา ่ เรื่องราวในชีวตประจำาวันหรือข่าวสารต่างๆมา ิ เชื่อมโยงความรู้ของนักเรียนเป็นการผ่อนคลาย และกระตุนให้ผเรียนพร้อมต่อการเรียนรู้ที่กำาลัง ้ ู้ จะเกิดขึน้
  • 8. ในส่วนของกิจกรรมในชันเรียน ครูบุญช่วยได้ ้ สร้างสถานการณ์ปัญหาให้เด็กได้ร่วมกันศึกษา การแก้ปัญหา มีการเตรียมแหล่งการเรียนรู้เพื่อ ให้นักเรียนได้ใช้ศึกษา ค้นคว้าในการทำา กิจกรรม ครูเป็นแค่ผแนะนำา ผู้เรียนได้ลงมือ ู้ ทดลอง/แก้ปัญหาได้ด้วนตนเอง สุดท้าย นักเรียนก็จะนำาเอาความคิดของกลุ่มตนมานำา เสนอเพือให้เกิดการเรียนรู้และความเข้าใจร่วม ่ กัน
  • 9. กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครู บุญช่วย มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้ตามแนว คอนสรัคติวสต์ ิ บทบาทของผูเรียน คือ ลงมือกระทำาการ ้ เรียนรู้ สร้างความรู้ตนเองผ่านประสบการณ์ โดย ครูบุญช่วยให้สถานการณ์ปัญหามาแล้วแบ่งกลุ่ม ให้เด็กได้แก้ปัญหา เด็กจะเกิดกระบวนการคิดแก้ ปัญหาอาจจะมาจากประสบการณ์เดิมของตน ของเพื่อนหรือได้ใช้แหล่งเรียนรู้ที่ครูได้จดไว้ให้ ั เช่น หนังสือ วีดิทัศน์ เป็นต้น เด็กได้ลงมือศึกษา แก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการระดมความคิดกับ เพื่อน สร้างวิธีการแก้ปัญหาขึ้นมา นำาเสนอวิธี การกลุ่มตนกับเพื่อนกลุ่มอื่นเป็นการแลกเปลี่ยน
  • 10. บทบาทของผูสอน จะเป็นผู้แนะแนว ้ ทาง เป็นโค้ช หรือผู้ที่ร่วมแก้ปัญหาไปพร้อม กับผู้เรียน โดยก่อนเรียนครูบุญช่วยได้นำา เข้าสู่บทเรียนโดยการ ใช้เรื่องราวที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจำาวัน ข่าวสารต่างๆมาเป็นตัวกระตุ้น เป็นการสอนให้เด็กได้ใช้การเชือมโยงสิ่ง ่ ต่างๆเข้าสู้บทเรียนได้ และการจัดสถานการณ์ ปัญหาขึ้นมาให้แต่ละกลุ่มได้ศกษานั้นก็เพื่อ ึ ส่งเสริมให้เด็กได้เกิดกระบวนการเรียนรู้จาก การทำากิจกรรมกลุ่มร่วมกัน ให้เด็กได้ใช้ความ คิด การเชือมโยงความรูเก่ามาใช้ มีการจด ่ ้ ความคิดอย่างเป็นระบบ เมื่อผู้เรียนออกนอก
  • 11. ครูบุญชู กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนของ ครูบุญชู คือ การออกแบบการสอนทีเน้นครู ่ เป็นสำาคัญ เนื่องจากครูบุญชูเน้นเนื้อหาที่จะ สอนและการจดจำาของผูเรียนเป็นหลัก เช่นการ ้ ใช้ คำาคล้องจอง การแต่งเพลงร้องสร้างความ จำา การใช้แผนภูมิ รูปภาพประกอบ เป็นต้น โดยครูเน้นให้เด็กท่องจำา ทำาซำ้าๆจนจนได้ แม้ จะมีการเชื่อมโยงความรู้เก่ามาใช้แต่เป็นการ ใช้เพียงเพือการจดจำาให้ขนใจเท่านั้นไม่ได้ ่ ึ้ เน้นให้เด็กเกิดกระบวนการคิดขณะเรียนแต่
  • 12. กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน ของครูบุญชู มีพื้นฐานมาจากแนวคิด พฤติกรรมนิยม โดยเน้นความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง เน้นให้ผู้ เรียนสามารถจดจำาความรู้ให้ได้ปริมาณมาก ที่สุดโดยไม่ได้สนใจกระบวนการภายในตัว ของผู้เรียน เช่น ในวิชาภาษาอังกฤษของ ครูบุญชูได้ใช้คำาคล้องจอง หรือแต่งเพลงให้ ผูเรียนได้ฝกร้องเพื่อให้เกิดความจำา แต่ผู้ ้ ึ เรียนก็ไม่ได้ใช้กระบวนการคิดในขณะที่เรียน รู้จึงไม่ทำาให้ผเรียนเกิดการพัฒนา ู้
  • 14. ครูบุญมี ข้อ ข้อ ดี เสีย 1.ใช้สื่อการสอน เช่น 1.นักเรียนไม่มีส่วนร่วมใน บทเรียนโปรแกรม และ การเรียนรู้ ชุดการสอน มีแต่รอรับความรู้จากครู 2. เมื่อเรียนจบแต่ละบท ฝ่ายเดียว จะมีการสอบเก็บคะแนน 2. นักเรียนคิดและแก้ ซึงเป็นวิธีการเสริมแรง ่ ปัญหาไม่เป็น เพือประเมินความรู้ ่ 3.นักเรียนไม่สามารถ นักเรียน และกระตุนให้ ้ เชื่อมโยงความรู้เก่า นักเรียนมีพัฒนาการใน กับความรู้ใหม่ได้
  • 15. ข้อ ข้อ ดี เสีย 3.การสอนแต่ละ 5. นักเรียนไม่ได้ ชัวโมงจะเน้น ่ ทำางานเป็นกลุ่ม การบรรยาย และไม่ได้แลก 4. เน้นยำ้าจุดสำาคัญ เปลี่ยนความคิดกับ ให้นักเรียนจด เพื่อน บันทึก และ 6.นักเรียนไม่ ท่องจำาหลายๆๆ สามารถคิดรวบยอด ครั้ง หรือคิดแบบองค์รวม 5. ให้นักเรียนท่อง ได้ คำาศัพท์วนละ ั 5คำาทุกวัน และ ให้คัดลายมือมา
  • 16. ครูบญช่วย ุ ข้อ ข้อ ดี เสีย 1.เตรียมแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ 1.การแบ่งนักเรียนให้ทำางาน เช่น หนังสือ วีดีทัศน์ ฯลฯเพื่อให้ ร่วมกันเป็นกลุ่ม ผู้เรียนค้นหาคำาตอบ และร่วมมือ เด็กบางคนไม่กล้าแสดงความ กันเรียนรู้หรือแลกเปลี่ยน คิดเห็น บางกลุ่มมีคน ประสบการณ์ ทำางาน1-2คน เพื่อนที่เหลือนั่ง 2.ครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา หากพบ ดู นั่งเล่นกัน หรือคุยกันเรื่อง ว่ามีผู้เรียนคนใดหรือกลุ่มใดเข้า ต่างๆๆขณะที่เพื่อนทำางาน คลาดเคลื่อน 2. นักเรียนบางคนคิดนอกกรอบ ครูก็จะเข้าไปอธิบายและกระตุ้น ไม่เป็น เพราะยึดติดกับการ ให้คิด เรียนการสอนแบบเดิมๆๆที่อิง 3.กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ ตำารา และมีทักษะในการสร้างความรู้ 3.ความคิดเห็นไม่ตรงกัน
  • 17. ข้อ ข้อ ดี เสีย 5.ครูจะนำาเข้าสู่บทเรียนโดย เชื่อมโยงเนื้อหาที่เรียนกับ ประสบการณ์เดิมของผูเรียน้ เช่นการใช้คำาถาม 6.แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุม ่ แล้วมอบสถานการณ์ปัญหาให้ ผูเรียนทุก ๆ กลุ่ม ้ 7. ส่งเสริมการมีกจกรรมร่วมกัน ิ ระหว่างผู้เรียน 8. เปิดโอกาสให้ผเรียนู้ วางแผน ดำาเนินการ และการ ประเมินด้วยตนเอง 9.หลังจากได้คำาตอบแล้ว ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอแนวคิด
  • 18. ครูบุญชู ข้อ ข้อ ดี เสีย 1.สอนเทคนิคให้นักเรียนจำา 1. นักเรียนไม่เกิด คำาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ กระบวนการเรียนรู้ด้วย โดยไม่ลืม เช่น การแต่ง ตัวเอง เป็นบทเพลง การใช้คำา 2. นักเรียนคิดนอกกรอบ คล้องจอง การใช้แผนภูมิ ไม่เป็น รูปภาพประกอบเนื้อหาที่ 3. นักเรียนไม่มีส่วนร่วมใน ต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจถึง การเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ 4.นักเรียนไม่สามารถคิด ประกอบ รวบยอดหรือคิดแบบ 2. นักเรียนสามารถเชือม่ องค์รวมได้ โยงความรู้เดิมมาช่วยใน 5.นักเรียนยังไม่สามารถคิด
  • 19. ข้อ ข้อ ดี เสีย 4.นักเรียนเรียบเรียงความรู้ 7. นักเรียนไม่ได้ทำางานเป็นก อย่างเป็นระบบและสามารถ ลุ่ม และไม่ได้แลกเปลี่ยน เรียกกลับมาใช้ได้เมื่อ ความคิดกับเพื่อน ต้องการ 5.การให้ผเรียนจำาคำาศัพท์ ู้ โดยใช้การออกเสียงภาษา อังกฤษที่เหมือนกับภาษา ไทย เช่น pic กับ พริก และ bear กับ แบมือ พร้อมมีรูปประกอบซึง ่ เป็นการ
  • 21. ซึงผูสอนใช้สื่อการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือที่ ่ ้ ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก เพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ สร้าง สถานการณ์การเรียนรู้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ศักยภาพทางความคิดและมุ่งเน้นการส่งเสริมผู้เรียน ทางด้านการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเช่น ในการ สอนแต่ละครั้งครูบุญช่วยจะนำาเข้าสู่บทเรียนโดย เชื่อมโยงเนื้อหาที่เรียนกับประสบการณ์เดิมของผู้ เรียน นอกจากนี้ครูบุญช่วยยังได้เตรียมแหล่งการ เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ วีดทัศน์ เว็บไซต์ที่ ี เกี่ยวข้องฯลฯให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผเรียนค้นหาคำา ู้ ตอบ และร่วมมือกันเรียนรู้หรือแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ มีวิธีการคือ แบ่งนักเรียนออกเป็นก ลุ่มแล้วมอบสถานการณ์ปัญหาให้ผเรียนทุก ๆ กลุม ู้ ่
  • 22. วิธีการจัดการเรียนรู้ของครูบุญช่วยสอดคล้องกับพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด เพราะผูสอนมุ่งเน้นที่การพัฒนาศักยภาพของผู้ ้ เรียนเป็นสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความรู้ และ การพัฒนากระบวนการคิด ทั้งนี้การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักการว่าผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ ้ และพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำาคัญ ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผเรียน ู้ สามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
  • 23. เพื่อเปิดโอกาสให้ผเรียนวางแผน ดำาเนิน ู้ การ และการประเมินด้วยตนเอง ครูเป็นผูให้คำา ้ แนะนำา หากพบว่ามีผเรียนคนใดหรือกลุ่มใดเข้า ู้ คลาดเคลื่อน ครูก็จะเข้าไปอธิบายและกระตุ้น ให้คิด หรือ กระตุ้นให้ผเรียนแสวงหาความรู้และมี ู้ ทักษะในการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง ซึงเรียกว่า ่ การเน้นผูเรียนเป็นศูนย์กลาง ้ หลังจากได้คำา ตอบแล้ว ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอแนวคิดความ และ ร่วมกับสรุปบทเรียนเป็นความเข้าใจของตนเอง
  • 25. ภารกิจ ที่ 1 ให้ท่านวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นว่าน่าจะมี สาเหตุมาจากอะไรบ้าง
  • 27. 3.ไม่มีการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้ คนไทยมีทักษะกระบวนการและเจตคติที่ดีทาง คณิตศาสตร์ เพื่อมีความคิดสร้างสรรค์ 4.การนำา หลักสูตรไปใช้ยังไม่สามารถสร้างพื้น ฐานในการคิด สร้างวิธีการ เรียนรู้ให้คนไทยมีทักษะในการจัดการและทักษะ ในการบูรณาการเข้ากับการดำาเนินชีวิตเพื่อพัฒนา คนให้มีความ 5.ไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำา ได้คิดเป็น ทำาเป็น รัก การอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องผสมผสาน สาระทางคณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่างๆได้
  • 28. จากตัวครู 1.ครูสอนนักเรียนโดยอาศัยการท่องจำา (ฝึก- ทำา – ยำ้า – ทวน ) มากกว่าการทำาความเข้าใจ 2. ครูเน้นคำาตอบที่ถูกต้องมากกว่ากระบวนการคิด ของนักเรียนทำาให้เด็กคิดไม่เป็น เด็กจึงอาศัยหลัก การจำาในการทำาข้อสอบเพื่อให้ได้คำาตอบที่ถกต้อง ู เพียงคำาตอบเดียว เมื่อสอบเส็จนักเรียนก็จะลืม เนื่องจากความรู้ที่ได้เป็นการจดจำาระยะสั้น
  • 29. 3.ครูไม่สอนให้นักเรียนเห็นว่าวิชาคณิตศาสตร์มี ความสำาคัญกับการใช้ชวตประจำาวันอย่างไร ี ิ 4.ครูไม่มีเทคนิคหรือวิธีการต่างๆๆที่เป็นสิ่งดึงดูดใจ ให้ผเรียนไม่น่าเบื่อเมื่อเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ู้ 5.ครูผู้สอนไม่มีการดึงดูดความสนใจผูเรียนเข้าสู่การ ้ เรียน ซึงอาจทำาได้โดยการถาม การเล่าเรื่องที่น่าสนใจ ่ เพือเข้าสู่บทเรียน ่ 6.ครูผู้สอนไม่เน้นผูเรียนเป็นศูนย์กลาง ซึงไม่เปิด ้ ่ โอกาสให้นักเรียนได้ฝึกกระบวนการคิด การแก้ ปัญหาและให้ผเรียนลงมือปฎิบัติดวยตนเอง ู้ ้
  • 30. จากตัวนักเรียน 1.นักเรียนมีอคติที่ไม่ดีตอรายวิชาคณิตศาสตร์เพราะคิด ่ ว่าเป็นวิชาที่เรียนยากและไม่สามารถนำาความรู้ที่ได้ไป ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวันได้ได้ เช่น การดิฟ กับ อินทิเกรต 2.นักเรียนไม่เห็นประโยชน์หรือคุณค่าของวิชา คณิตศาสตร์ซงเป็นพื้นฐานของทุกอย่าง ึ่ 3.เมื่อนักเรียนเรียนวิชาคณิตศาสตร์แล้วไม่สามารถแก้ ปัญหาได้จริงจากสถานการณ์จริงเนื่องจากรอรับความรู้ จากครูอย่างเดียวจึงทำาให้เกิดความเบื่อหน่ายส่งผลให้ ศักยภาพทางคณิตศาสตร์ลดลง 4. ไม่มีแรงจูงใจหรือสิ่งกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเรียน คณิตศาสตร์และนักเรียนขาดความตังใจในการเรียน ้
  • 31. ภารกิจ ที่ 2 วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรียนรู้ และการออกแบบการ สอนที่สามารถแก้ปัญหาได้
  • 32. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สามารถแก้ปัญหาได้ คือ ทฤษฎีการ เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ ิ • ผูเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ได้ลงมือกระทำาการเรียน ้ รู้เอง สร้างความรู้อย่างตืนตัวด้วยตนเอง โดยพยายาม ่ สร้างความเข้าใจนอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รบโดยการ ั สร้างสิ่งแทนความรู้ • ผูเรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านประสบการณ์ ้ สามารถเชื่อมโยงความรู้เก่าสู่ความรู้ใหม่ และสามารถ สร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ • ผูสอนเป็นผู้แนะนำา ช่วยให้นักเรียนแต่ละเกิดการเรียนรู้ ้ จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผเรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง ู้ มีประสิทธิภาพ
  • 33. การออกแบบการสอนที่สามารถแก้ปัญหาได้ คือ เราจะใช้รูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรูตาม ้ แนวคอนสตรัคติวิสต์ ซึงจะมีหลักการที่สำาคัญดังนี้ ่ • สถานการณ์ปัญหา : ผูสอนสร้างสถานการณ์ปัญหา ้ ที่เหมาะสมกับสภาพการเรียนรู้ของผูเรียน เช่น สร้าง ้ สถานการณ์ปัญหาทรงกระบอกมาประกอบการสอนการ เรียนเรื่องการหาพื้นที่ • แหล่งการเรียนรู้ : ครูควรให้แหล่งการเรียนรู้ที่เพียง พอและเหมาะสม เช่น หนังสือ วีดิทัศน์ เว็บ เป็นต้น • ฐานการช่วยเหลือ : เมื่อผูเรียนมีปัญหาครูควรช่วย ้ เหลือโดยการให้คำาแนะนำาทั้งทางด้านความคิดรวบยอด ความคิด กระบวนการ กลยุทธ์ • การร่วมมือกันแก้ปัญหา : ผู้สอนจะต้องเป็นผูแนะนำา ้ ร่วมศึกษาปัญหาต่างๆไปพร้อมกับผูเรียนจะส่งผลให้ผู้ ้
  • 34. ภารกิจ ที่ 3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ แก้ปญหาดังกล่าวได้ ั
  • 35. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถแก้ปัญหาดัง กล่าวได้ ดังนี้ -เน้นผูเรียนเป็นสำาคัญ โดยเปิดโอกาสให้ผเรียนได้ ้ ู้ ศึกษาค้นคว้า ความรู้ด้วยตัวเอง -กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้และมีทักษะในการสร้าง ความรู้ได้เอง สามารถเชือมโยงความรู้และบูรณาการกับ ่ ชีวิตประจำาวันได้ -สามารถสร้างสิ่งที่แทนความรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ได้ด้วยตนเอง -นักเรียนมีอิสระทางความคิด -ครูเป็นผูแนะนำา แนวแนวทางการเรียนรู้ การแก้ปัญหา ้ -สร้างกิจกรรมที่น่าสนใจ เพื่อส่งเสริมลักษณะ กระบวนการเรียนรู้
  • 36. สมาชิก ในกลุ่ม นางสาวเจนจิรา ศรีสุชาติ 543050015-7 นางสาวณัฐธีรา มะโพธิ์ศรี 543050019-9 นางสาวลัดดาวัลย์ จำาปานุ้ย 543050563-5