SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
1. ความสำา คัญ และแนวโน้ม ของ Social Media ในโลก
ปัจ จุบ ัน
     สำาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคำาว่า Social Media
ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่ไหน ก็จะพบเห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่ง
หลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” คืออะไรกันแน่ วันนี้
เราจะมารู้จักความหมายของ“Social Media”
    คำาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคม
ออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหม่มากในปัจจุบัน
      คำาว่า “Media” หมายถึง สือ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ
                               ่
วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น

      ดังนั้นคำาว่า Social Media จึงหมายถึง สือสังคมออนไลน์ที่มีการ
                                                  ่
ตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูด
ง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้
นั่นเองพื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของ
มนุษย์หรือคนเราที่ต้องการติดต่อสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กัน ไม่ว่าจะ
เป็นเฟชบุ๊ค (Facebook) , ทวิตเตอร์ (Twitter) หรืออื่น ๆ มากมาย
จากความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนสู่เพื่อนกลายเป็นความสัมพันธ์ของกลุ่ม
สังคม และเป็นความสัมพันธ์ที่กว้างไกลไปทั้งโลก            นี่คือความ
มหัศจรรย์ของเครือข่ายบนโลกออนไลน์                เมื่อสิบปีที่แล้ว คงไม่มี
ใครคาดคิดว่ามันจะกลายมามีอิทธิพลต่อชีวิตของมนุษย์เราขนาดนี้
ในปี 2010 ที่ทั่วโลกเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจถดถอย แต่ในโลกของวงการ
อินเทอร์เน็ตกลับไม่ได้ถดถอยลงเลย สังเกตได้จากในปีที่ผ่านมา
Social Media เริ่มเข้ามามีบทบาทและมีอิทธิพลกับชีวิตประจำาวันของ
เรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้ Facebook , Twitter เราจะเริ่มเห็น
การอ้างอิงแหล่งข้อมูลจะมาจากเว็บประเภท Social Media หรือ Blog
Marketing กันมากขึ้น            โลกได้เปลี่ยนไปแล้วอย่างที่ไม่มีวันหวน
กลับคืน คุณจะไม่มีวันหนีโลก “ออนไลน์” พ้น ในวันหนึ่งชีวิตของตัว
คุณจะต้องถูก “ดิจิไทซ์” และกลายเป็นส่วนหนึ่งของโลก “ออนไลน์”
หลังจากนี้ เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีจะถึงกาลอวสานของมัน มนุษย์ทุกคน
จะมีเครื่องโน๊ตบุ๊ก เน็ตบุ๊ก หรืออะไรที่ใกล้เคียง เช่น โทรศัพท์มือถือ ที่
สามารถพกพาติดตัวไปได้ตลอดเวลา และ “ออนไลน์” ได้ตลอดเวลา
กระแสที่กำาลังเกิดขึ้นในหลากหลายประเทศที่ว่า “การเข้าถึง
อินเตอร์เน็ตเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของพลเมือง” จะกลายเป็นกระแสโลก
และก่อนที่คุณจะรู้ตัว คุณก็จะพบว่ารอบตัวของคุณได้กลายเป็นสังคม
เครือข่ายแบบ “ออนไลน์” กันไปหมดแล้ว

        Social Media หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร
หรือเขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราวประสบการณ์ บทความรูปภาพ และวิดีโอ
ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทำาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนำามาแบ่งปัน
ให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social
Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะทำา
ผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือมากขึ้นเรื่อยๆ
2.บทบาทของ Social Media ในการเรีย นการสอน

       บทบาทต่อการจัดการในชั้นเรียนด้วยลักษณะสำาคัญคือ การมี
ปฏิสัมพันธ์ของคนในระบบเครือข่าย จึงไม่ใช่เรื่องแปลกนักที่เมื่อมี
ปริมาณจำานวนคนในเครือข่ายจำานวนมากจะนำาไปสู่การสร้างความ
เปลี่ยนแปลงสำาคัญๆ ให้เกิดขึ้นในสังคมจริงได้ ด้วยข้อมูลจำานวนมาก
ที่ถูกนำาเสนอในเครือข่ายสังคมออนไลน์หากนำามาสู่การ จัดการเรียน
การสอนในชั้นเรียนย่อมก่อให้เกิดผลสำาคัญในหลากหลายลักษณะเช่น
กัน สามารถจำาแนกลักษณะที่ถูกนำาเสนอผ่านทาง Social media
สามารถสรุปได้ดังนี้คือ

1)     การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือภายในเครือข่าย โดยผู้ใช้
สร้างโปรไฟล์ของตนเอง และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เช่น
facebook
2)    การเผยแพร่ความรู้ความเชี่ยวชาญ ซึ่งจะอยู่ในลักษณะของเว็บ
บล็อกต่างๆ
3)     การเผยแพร่ข้อความสั้น เช่น twitter เป็นต้น
4)     การเพิ่มเติมข้อมูลความรู้ต่างๆ เช่น เว็บ wikipedia
5)     การเผยแพร่เนื้อหาเฉพาะ การเผยแพร่ภาพ เสียง วีดิโอ เช่น
เว็บ youtube , Flickr เป็นต้น
ด้วยข้อมูลจำานวนมากที่ถูกนำาเสนอในเครือข่ายสังคมออนไลน์
หากนำามาสู่การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนย่อมก่อให้เกิดผลสำาคัญ
ในหลากหลายลักษณะเช่นกัน เช่น
      1) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสังคมในชั้นห้องเรียน เนื่องจาก
บรรยากาศของเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารผ่านภายมิติความสัมพันธ์ของคนในเครือข่าย ด้วยเหตุนี้เมื่อทั้ง
ผู้สอนและผู้เรียนเข้าสู่การสร้างความสัมพันธ์ภายในระบบเครือข่าย
สังคมออนไลน์ก็จะนำาไปสู่การพัฒนาความสัมพันธ์ในสังคมจริงใน
ทิศทางที่ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพจริง นอกจากนี้ลักษณะการนำาเสนอข้อมูล สถานภาพที่เป็น
ปัจจุบัน ทำาให้ทั้งผู้สอนสามารถติดตามพฤติกรรมและประสานข้อมูลได้
อย่างทันท่วงที
       2) การกระตุ้นให้เกิดการศึกษาค้นคว้า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่
กว้างขวาง การตั้งประเด็นแลกเปลี่ยน ข้อสงสัยต่างๆ ผ่านเครือข่าย
สังคมออนไลน์ทำาได้อย่างทันท่วงที และเป็นเครื่องมือสำาหรับผู้สอนใน
การกระตุ้นผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ในขณะเดียวกันผู้สอนสามารถนำาเสนอ
เนื้อหาใหม่ๆ ได้อย่างต่อเนื่องและผู้เรียนสามารถติดตามได้อย่างต่อ
เนื่อง
      3) การส่งเสริมการศึกษาตามความสนใจและความถนัด เครือข่าย
สังคมออนไลน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรูปแบบของเว็บบล็อกเป็นระบบที่ส่ง
เสริมการเผยแพร่ผลงานตามความถนัดและความสนใจของทั้งผู้สอน
และผู้เรียน อีกทั้งยังส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนขยายผลได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
     4) การส่งเสริมการบันทึกและการอ่าน การเผยแพร่ผ่านเครือข่าย
สังคมออนไลน์ส่วนใหญ่ผ่านรูปแบบของข้อเขียนในหลายลักษณะ เช่น
ข้อความสั้นในระบบ twitter ข้อความปานกลางของเว็บ
facebook หรือข้อความยาวๆ ของระบบเว็บบล็อก เป็นต้น

    ในขณะเดียวกันเครือข่ายสังคมออนไลน์ก็มีข้อเสียที่อาจจะส่งผลก
ระทบต่อผู้ ใช้ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำาหรับผู้เรียนที่อาจจะมี
ความจำาเป็นที่ผู้ปกครองจะต้องให้ การดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น
1) การใช้งานเพื่อความบันเทิง เกมมากกว่าการศึกษาค้นคว้า
ทั้งนี้ระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่นใน facebook จะประกอบด้วย
เกมต่างๆ มากมาย และส่วนใหญ่ต้องการใช้เวลาในการเล่นที่ต่อเนื่อง

     2) ความจำาเป็นของอุปกรณ์การสื่อสาร ซึ่งส่วนใหญ่มีราคาแพง
และมีค่าใช้จ่ายที่ต่อเนื่อง และหากผู้สอนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ใน
การนำาเสนอข้อมูลไปยังผู้เรียนเป็น หลักอาจจะก่อให้การไม่สามารถเข้า
ถึงแหล่งข้อมูลของผู้เรียนได้

      3) การรับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องและการขาดวิจารณญาณในการ
ข้อมูล ทั้งนี้เมื่อผู้เรียนเข้าสู่การเรียนรู้ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ แหล่ง
การรับข้อมูลจะไม่สามารถจำากัดไว้เพียงจากผู้สอนเท่านั้น ซึ่งจำาเป็นที่ผู้
สอนจะต้องยำ้าถึงแนวทางการตรวจสอบข้อมูลให้กับผู้เรียน

     4) การขาดวิจารณญาณในการนำาเสนอข้อมูล เนื้อหาของผู้เรียน
ด้วยความสะดวก รวดเร็วในการเผยแพร่ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ จะพบว่า หลายครั้งทำาให้หลายคนขาดความยั่งคิดในการเผย
แพร่ข้อมูล ข่าวสาร ภาพหรือเหตุการณ์ต่างๆ และนำาไปสู่ปัญหาอื่นๆ
ตามมา

แนวปฏิบ ัต ิเ พื่อ การใช้เ ครือ ข่า ยสัง คมออนไลน์ใ นชั้น เรีย น

        เมื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์มีทั้งข้อดีและข้อด้อย แต่เป็นการยาก
ที่ผู้สอนจะปฏิเสธการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ ด้วยเหตุนี้ผู้สอน
ควรมีแนวปฏิบัติสำาคัญเพื่อให้การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ มี
ประสิทธิภาพและไม่ก่อให้เกิดผลที่ไม่พึงประสงค์ ดังนี้

1)     ควรศึกษาธรรมชาติของระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่จะนำามา
ใช้อย่างชัดเจน

2)   ควรศึกษาความพร้อมของผู้เรียนในการใช้เครือข่ายสังคม
ออนไลน์

3)     เป็นต้นแบบที่ดีในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์

4)    ติดตามพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้เรียน
อย่างใกล้ชิด
5)      สร้างเครือข่ายผู้สอนและผู้ปกครองเพื่อประสิทธิภาพของการ
ดูแลผู้เรียนในเครือข่ายสังคมออนไลน์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Janchai Pokmoonphon
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 

Mais procurados (20)

structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 

Semelhante a ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
ไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทองไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทองIrin28
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)arunrat bamrungchit
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตรThanich Suwannabutr
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 

Semelhante a ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน (20)

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทองไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทอง
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
2
22
2
 
Aw22
Aw22Aw22
Aw22
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 
3 32222
3 322223 32222
3 32222
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน

  • 1. 1. ความสำา คัญ และแนวโน้ม ของ Social Media ในโลก ปัจ จุบ ัน สำาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคำาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่ไหน ก็จะพบเห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่ง หลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” คืออะไรกันแน่ วันนี้ เราจะมารู้จักความหมายของ“Social Media” คำาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคม ออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหม่มากในปัจจุบัน คำาว่า “Media” หมายถึง สือ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ ่ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น ดังนั้นคำาว่า Social Media จึงหมายถึง สือสังคมออนไลน์ที่มีการ ่ ตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูด ง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ นั่นเองพื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของ มนุษย์หรือคนเราที่ต้องการติดต่อสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กัน ไม่ว่าจะ เป็นเฟชบุ๊ค (Facebook) , ทวิตเตอร์ (Twitter) หรืออื่น ๆ มากมาย จากความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนสู่เพื่อนกลายเป็นความสัมพันธ์ของกลุ่ม สังคม และเป็นความสัมพันธ์ที่กว้างไกลไปทั้งโลก นี่คือความ มหัศจรรย์ของเครือข่ายบนโลกออนไลน์ เมื่อสิบปีที่แล้ว คงไม่มี ใครคาดคิดว่ามันจะกลายมามีอิทธิพลต่อชีวิตของมนุษย์เราขนาดนี้ ในปี 2010 ที่ทั่วโลกเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจถดถอย แต่ในโลกของวงการ อินเทอร์เน็ตกลับไม่ได้ถดถอยลงเลย สังเกตได้จากในปีที่ผ่านมา Social Media เริ่มเข้ามามีบทบาทและมีอิทธิพลกับชีวิตประจำาวันของ เรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้ Facebook , Twitter เราจะเริ่มเห็น การอ้างอิงแหล่งข้อมูลจะมาจากเว็บประเภท Social Media หรือ Blog Marketing กันมากขึ้น โลกได้เปลี่ยนไปแล้วอย่างที่ไม่มีวันหวน กลับคืน คุณจะไม่มีวันหนีโลก “ออนไลน์” พ้น ในวันหนึ่งชีวิตของตัว คุณจะต้องถูก “ดิจิไทซ์” และกลายเป็นส่วนหนึ่งของโลก “ออนไลน์” หลังจากนี้ เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีจะถึงกาลอวสานของมัน มนุษย์ทุกคน จะมีเครื่องโน๊ตบุ๊ก เน็ตบุ๊ก หรืออะไรที่ใกล้เคียง เช่น โทรศัพท์มือถือ ที่ สามารถพกพาติดตัวไปได้ตลอดเวลา และ “ออนไลน์” ได้ตลอดเวลา กระแสที่กำาลังเกิดขึ้นในหลากหลายประเทศที่ว่า “การเข้าถึง อินเตอร์เน็ตเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของพลเมือง” จะกลายเป็นกระแสโลก
  • 2. และก่อนที่คุณจะรู้ตัว คุณก็จะพบว่ารอบตัวของคุณได้กลายเป็นสังคม เครือข่ายแบบ “ออนไลน์” กันไปหมดแล้ว Social Media หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราวประสบการณ์ บทความรูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทำาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนำามาแบ่งปัน ให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะทำา ผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือมากขึ้นเรื่อยๆ 2.บทบาทของ Social Media ในการเรีย นการสอน บทบาทต่อการจัดการในชั้นเรียนด้วยลักษณะสำาคัญคือ การมี ปฏิสัมพันธ์ของคนในระบบเครือข่าย จึงไม่ใช่เรื่องแปลกนักที่เมื่อมี ปริมาณจำานวนคนในเครือข่ายจำานวนมากจะนำาไปสู่การสร้างความ เปลี่ยนแปลงสำาคัญๆ ให้เกิดขึ้นในสังคมจริงได้ ด้วยข้อมูลจำานวนมาก ที่ถูกนำาเสนอในเครือข่ายสังคมออนไลน์หากนำามาสู่การ จัดการเรียน การสอนในชั้นเรียนย่อมก่อให้เกิดผลสำาคัญในหลากหลายลักษณะเช่น กัน สามารถจำาแนกลักษณะที่ถูกนำาเสนอผ่านทาง Social media สามารถสรุปได้ดังนี้คือ 1) การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือภายในเครือข่าย โดยผู้ใช้ สร้างโปรไฟล์ของตนเอง และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เช่น facebook 2) การเผยแพร่ความรู้ความเชี่ยวชาญ ซึ่งจะอยู่ในลักษณะของเว็บ บล็อกต่างๆ 3) การเผยแพร่ข้อความสั้น เช่น twitter เป็นต้น 4) การเพิ่มเติมข้อมูลความรู้ต่างๆ เช่น เว็บ wikipedia 5) การเผยแพร่เนื้อหาเฉพาะ การเผยแพร่ภาพ เสียง วีดิโอ เช่น เว็บ youtube , Flickr เป็นต้น
  • 3. ด้วยข้อมูลจำานวนมากที่ถูกนำาเสนอในเครือข่ายสังคมออนไลน์ หากนำามาสู่การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนย่อมก่อให้เกิดผลสำาคัญ ในหลากหลายลักษณะเช่นกัน เช่น 1) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสังคมในชั้นห้องเรียน เนื่องจาก บรรยากาศของเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารผ่านภายมิติความสัมพันธ์ของคนในเครือข่าย ด้วยเหตุนี้เมื่อทั้ง ผู้สอนและผู้เรียนเข้าสู่การสร้างความสัมพันธ์ภายในระบบเครือข่าย สังคมออนไลน์ก็จะนำาไปสู่การพัฒนาความสัมพันธ์ในสังคมจริงใน ทิศทางที่ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพจริง นอกจากนี้ลักษณะการนำาเสนอข้อมูล สถานภาพที่เป็น ปัจจุบัน ทำาให้ทั้งผู้สอนสามารถติดตามพฤติกรรมและประสานข้อมูลได้ อย่างทันท่วงที 2) การกระตุ้นให้เกิดการศึกษาค้นคว้า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ กว้างขวาง การตั้งประเด็นแลกเปลี่ยน ข้อสงสัยต่างๆ ผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ทำาได้อย่างทันท่วงที และเป็นเครื่องมือสำาหรับผู้สอนใน การกระตุ้นผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ในขณะเดียวกันผู้สอนสามารถนำาเสนอ เนื้อหาใหม่ๆ ได้อย่างต่อเนื่องและผู้เรียนสามารถติดตามได้อย่างต่อ เนื่อง 3) การส่งเสริมการศึกษาตามความสนใจและความถนัด เครือข่าย สังคมออนไลน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรูปแบบของเว็บบล็อกเป็นระบบที่ส่ง เสริมการเผยแพร่ผลงานตามความถนัดและความสนใจของทั้งผู้สอน และผู้เรียน อีกทั้งยังส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนขยายผลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4) การส่งเสริมการบันทึกและการอ่าน การเผยแพร่ผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ส่วนใหญ่ผ่านรูปแบบของข้อเขียนในหลายลักษณะ เช่น ข้อความสั้นในระบบ twitter ข้อความปานกลางของเว็บ facebook หรือข้อความยาวๆ ของระบบเว็บบล็อก เป็นต้น ในขณะเดียวกันเครือข่ายสังคมออนไลน์ก็มีข้อเสียที่อาจจะส่งผลก ระทบต่อผู้ ใช้ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำาหรับผู้เรียนที่อาจจะมี ความจำาเป็นที่ผู้ปกครองจะต้องให้ การดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น
  • 4. 1) การใช้งานเพื่อความบันเทิง เกมมากกว่าการศึกษาค้นคว้า ทั้งนี้ระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่นใน facebook จะประกอบด้วย เกมต่างๆ มากมาย และส่วนใหญ่ต้องการใช้เวลาในการเล่นที่ต่อเนื่อง 2) ความจำาเป็นของอุปกรณ์การสื่อสาร ซึ่งส่วนใหญ่มีราคาแพง และมีค่าใช้จ่ายที่ต่อเนื่อง และหากผู้สอนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ใน การนำาเสนอข้อมูลไปยังผู้เรียนเป็น หลักอาจจะก่อให้การไม่สามารถเข้า ถึงแหล่งข้อมูลของผู้เรียนได้ 3) การรับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องและการขาดวิจารณญาณในการ ข้อมูล ทั้งนี้เมื่อผู้เรียนเข้าสู่การเรียนรู้ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ แหล่ง การรับข้อมูลจะไม่สามารถจำากัดไว้เพียงจากผู้สอนเท่านั้น ซึ่งจำาเป็นที่ผู้ สอนจะต้องยำ้าถึงแนวทางการตรวจสอบข้อมูลให้กับผู้เรียน 4) การขาดวิจารณญาณในการนำาเสนอข้อมูล เนื้อหาของผู้เรียน ด้วยความสะดวก รวดเร็วในการเผยแพร่ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายสังคม ออนไลน์ จะพบว่า หลายครั้งทำาให้หลายคนขาดความยั่งคิดในการเผย แพร่ข้อมูล ข่าวสาร ภาพหรือเหตุการณ์ต่างๆ และนำาไปสู่ปัญหาอื่นๆ ตามมา แนวปฏิบ ัต ิเ พื่อ การใช้เ ครือ ข่า ยสัง คมออนไลน์ใ นชั้น เรีย น เมื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์มีทั้งข้อดีและข้อด้อย แต่เป็นการยาก ที่ผู้สอนจะปฏิเสธการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ ด้วยเหตุนี้ผู้สอน ควรมีแนวปฏิบัติสำาคัญเพื่อให้การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ มี ประสิทธิภาพและไม่ก่อให้เกิดผลที่ไม่พึงประสงค์ ดังนี้ 1) ควรศึกษาธรรมชาติของระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่จะนำามา ใช้อย่างชัดเจน 2) ควรศึกษาความพร้อมของผู้เรียนในการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ 3) เป็นต้นแบบที่ดีในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 4) ติดตามพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้เรียน อย่างใกล้ชิด
  • 5. 5) สร้างเครือข่ายผู้สอนและผู้ปกครองเพื่อประสิทธิภาพของการ ดูแลผู้เรียนในเครือข่ายสังคมออนไลน์