SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 67
Baixar para ler offline
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
รองคณบดีฝ่ายปฏิบัติการ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
25 สิงหาคม 2564
Managing Business Continuity
During the COVID-19 Crisis
2
Outline
▪ Overview of Business Continuity Management
▪ BCM at Ramathibodi
▪ The Real BCM During COVID-19
▪ First Wave
▪ Third Wave
3
Business Continuity Management
“The capability of an organization to continue
the delivery of products or services
at pre-defined acceptable levels
following a disruptive incident”
BCI Good Practice Guidelines 2013,
quoted in Mid Sussex District Council, Business Continuity Policy Statement, April 2018
BCM at Ramathibodi
5
แจ้งว่า : มหาวิทยาลัยขอความ
อนุเคราะห์หัวหน้าคณะบริหารความ-
ต่อเนื่องพื้นที่ ในการดาเนินการซ้อมแผน
ในการดาเนินงานของพื้นที่ พร้อมทั้ง
จัดส่งแผนความต่อเนื่องของพื้นที่
( Business Continuity Plan: BCP)
และผลการซ้อมแผนต่อมหาวิทยาลัย
ภายในเดือนกันยายน
การซ้อมแผน BCP พื้นที่พญาไทของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหิดล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
6
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6
MU BCP Structure
Faculty
Campus
University มหาวิทยาลัยมหิดล
ศาลายา บางกอกน้อย พญาไท
คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี
คณะวิทยาศาสตร์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน คณะสาธารณสุขศาสตร์
คณะทันตแพทยศาสตร์
สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์
และตรวจสารในการกีฬา
คณะเภสัชศาสตร์
วิทยาลัยการ
จัดการ
วิทยาลัยกาญจนบุรี วิทยาเขตนครสวรรค์ วิทยาเขตอานาจเจริญ
โครงสร้างการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCM / BCP) พื้นที่พญาไท
Department กองเทคโนโลยี
สารสนเทศ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
7
การดาเนินการด้าน BCP ที่ผ่านมา ปีงบฯ 2560-2561
เหตุการณ์จาลอง : เกิดการก่อการร้าย (Terrorist) กราดยิง
บริเวณอนุสาวรีย์ฯ
และลอบเข้ามาวางระเบิดจนทาให้เกิดอัคคีภัย
สถานที่ : อาคารบริหาร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล
รามาธิบดี และอาคารเรียน
คณะวิทยาศาสตร์
วันที่ : 10 พฤศจิกายน 2560
เวลา : 11.30 น.
Key Process ที่ซ้อม: Incident Activation (Call Tree)
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
8
เหตุการณ์จาลอง : การชุมนุมยึดสถานที่ ที่เป็นระบบ Infrastructure ส่งผลให้
ไฟฟ้าดับ (แต่ยังคงสื่อสารด้วยระบบ Social media และสามารถใช้
โทรศัพท์มือถือได้)
สถานที่ : บริเวณรอบๆ เมืองชั้นใน ทุกจุด
วันที่ : 16 กันยายน 2562
เวลา : 13.00-16.00 น.
Key Process ที่ซ้อม: Incident Activation (Call Tree), Power & IT Outage
Management & Communication (Table-top)
การดาเนินการด้าน BCP ที่ผ่านมา ปีงบฯ 2562
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
9
Business impact analysis (BIA.)
แบบประเมินการทบทวนกระบวนงาน ข้อมูลสาคัญการบริหารจัดการความต่อเนื่อง
ของส่วนงาน........................................................................................... มหาวิทยาลัยมหิดล ประจาปีงบประมาณ 2562
หน่วยงาน
กระบวนงานที่สาคัญ
(สามารถอ้างอิงได้จาก EdPEx
หมวด 6)
ผลกระทบ (BIA)
เครื่องมือ/
อุปกรณ์และ
ข้อมูลสาคัญ
ระบบงาน
เทคโนโลยี
หรือระบบ
สารสนเทศ
ระยะเวลาการ
หยุดชะงักสูงสุดที่
ยอมรับได้
(Maximum
Tolerable
Period Of
Disruption)
ระยะเวลา
เป้าหมายใน
การฟื้นคืน
สภาพ
(Recovery
Time
Objective)
ชื่อและจานวนบุคลากรหลัก การติดต่อ
(8) คู่ค้า/ ผู้
ให้บริการ/
ผู้มีส่วนได้ส่วน
เสีย
การติดต่อ
จานวน ชื่อ การติดต่อ
(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (9)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
หน่วยงานที่
จัดทา
กิจกรรมหรือ
กระบวนงานหลัก
หรือการให้บริการที่
สาคัญในหน่วยงาน
ของตนตามลาดับ
ความสาคัญ
ผลกระทบที่
สาคัญ และระดับ
ผลกระทบ ระบุ
ระดับความ
รุนแรง เช่น สูง
มาก สูง ปาน
กลาง น้อย และ
น้อยมาก
เครื่องมือ
และอุปกรณ์
ตามความ
จาเป็นที่ต้อง
ใช้ในการฟื้น
คืนกลับมา
ของแต่ละ
กิจกรรมหรือ
กระบวนงาน
หลัก
การระบุ
ระบบงาน
เทคโนโลยี
หรือระบบ
สารสนเทศ
ที่สาคัญ
และจาเป็น
ระยะเวลา
สูงสุดที่
หน่วยงาน
ได้รับ
ผลกระทบ
แล้วไม่
สามารถ
ให้บริการ
หรือดาเนิน
กิจกรรมได้
ระยะเวลา
เป้าหมายที่
ใช้ในการ
ดาเนินการ
เพื่อให้
กิจกรรม
กระบวนงาน
หรือการ
ให้บริการ
กลับสู่
สภาวะปกติ
หลังจากเกิด
สภาวะวิกฤต
การระบุชื่อและจานวน
บุคลากรหลักและการ
ติดต่อ เพื่อการดาเนินงาน
ในสภาวะวิกฤตในการ
ติดต่อ เตรียมสถานที่
รองรับ
ผู้ที่มีความสาคัญ
ต่อความสาเร็จ
ของกิจกรรม
หรือมีส่วนได้
ส่วนเสียสาคัญ
ต่อการบริการ
และการ
ให้บริการ
ในช่วงการ
บริหารจัดการ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
10
การซ้อมแผน BCP ที่ผ่านมา
วิทยาเขตพญาไท ด้านวิจัย ด้านการศึกษา ด้านบริการสุขภาพ ด้านสารสนเทศ
2560-61 2562 2560-61 2562 2560-61 2562 2560-61 2562
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล-
รามาธิบดี
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
คณะเภสัชศาสตร์
คณะสาธารณสุขศาสตร์
คณะทันตแพทยศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยการจัดการ
สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์
และตรวจสารในการกีฬา
มีแผนและดำเนินกำรซ้อมแผน
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
11
วิทยาเขตพญาไท วิจัย การศึกษา
บริการ
สุขภาพ
IT HR
คลัง/
พัสดุ
กายภาพ สื่อสารองค์กร
บริการ
วิชาการ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
คณะเภสัชศาสตร์
คณะสาธารณสุขศาสตร์
คณะทันตแพทยศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยการจัดการ
สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจ
สารในการกีฬา
การดาเนินงานด้าน BCM 2563
การถอดบทเรียน COVID-19
มีแผน คาดว่ามีแผนฯ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
The Real BCM During COVID-19: First Wave
13
4 ม.ค. 2563
ครั้งแรกที่ผู้บริหารรามาธิบดี
ทราบเรื่อง
New Virus Outbreak
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
14
Activities & Timeline
14
Activities ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
ทราบเรื่อง + เตรียมการด้าน EID + ติดตามสถานการณ์
โดย งานบริหารความเสี่ยง
หารือเรื่องการเดินทางต่างประเทศของบุคลากร
ออกประกาศห้ามเดินทางไปต่างประเทศ 27
คณะกรรมการประจาคณะฯ ประชุมวาระพิเศษ COVID-19 19
หารือเรื่องแนวทางด้าน BCP & BCM 12
ออกประกาศ Work from Home 22-23
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
15
BCM Planning Methodology & ISO 22301 BCM Standard
วิเคราะห์ / จัด
เรียงลาดับ
ความสาคัญของ
ภาระงาน
(Prioritization)
เพื่อจัดทาแผน
เฉพาะงานสาคัญ
Scanning Organization
การหากลยุทธ์ที่เหมาะสม
เพื่อใช้กอบกู้สถานการณ์
- Emergency Response
- Incident Handling
- Crisis Management
- Business Recovery Plan
การฝึกซ้อม
แผน BCP
Embed BCM เข้าสู่วัฒนธรรมองค์กร
Program
Management
Risk Analysis
and Review
Business Impact
Analysis (BIA)
Strategy
BC Plan
Tests And
Exercises Framework
BCM Framework
16
งานบริหารความเสี่ยงขอความอนุเคราะห์หน่วยงานตามพันธกิจ และภาควิชา สาหรับข้อมูล
ประกอบการจัดทาแผนความต่อเนื่อง โดยนาแผน BCP เดิม (ถ้ามี) มาพิจารณา Revise ดังนี้
1. ประเมิน BIA โดยเน้น Core Process ตามระดับความสาคัญ
2. วางแผนการดาเนินการ Core Process เหล่านั้น สาหรับ 3 Scenarios ต่อไปนี้
- Best Case: Capacity ในการดาเนินการของบาง Process ลดลงพอสมควร
- Base Case: ชะลอหรือหยุดการดาเนินการใน Process ที่ทาได้ ในระยะสั้น (< 3 เดือน)
- Worst Case: ชะลอหรือหยุดการดาเนินการใน Process ที่ทาได้ ในระยะกลาง-ยาว
โดยพิจารณาว่าใน Process นั้นๆ จะดาเนินการอย่างไร เช่น ปรับรูปแบบการทางาน (เช่น Work from
Home/Online), เปลี่ยนผู้ปฏิบัติงานตามความจาเป็น, ยกเลิก/เลื่อน/งดดาเนินการ, ไม่ต้องปรับ
3. สิ่งที่ยังไม่ทราบ/เป็นคาถาม/ต้องการความชัดเจน เช่น ระบบที่รองรับ กฎระเบียบ นโยบาย/แนวทาง
Original Plan: การจัดทาแผน BCP กรณี COVID-19
นาเสนอคณะกรรมการประจาคณะฯ เมื่อ 12 มี.ค. 2563 แต่สถานการณ์การแพร่ระบาดรุนแรงขึ้นจน
จาเป็นต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าตามสถานการณ์ ไม่ได้ดาเนินการจัดทาแผนตาม Scenarios สมมติ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
17
ตัวอย่างระบบงานสาคัญ
System 3: ระบบการจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทนแก่บุคลากรคณะฯ / การบริหารงานบุคคล
System 4: ระบบสารสนเทศ 1) Infrastructure 2) App (HIS/ERP) 3) Support Services
System 5: สื่อสารองค์กร / งานบริหารทั่วไป
System 6: การคลังและการพัสดุ
System ...: ...........................................
System 0: การเตรียมรับมือและการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยกรณี COVID-19
System 2: การเรียนการสอน (Undergrad, Post-grad, อื่นๆ), การวิจัย, การบริการวิชาการ/จัดประชุม
System 1: การบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยอื่นที่ไม่ใช่กรณี COVID-19
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
18
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
สรุปการตอบสนองต่อสถานการณ์ COVID-19 ด้วยมุมมองเชิงระบบ
กรอบแนวคิดการถอดบทเรียน COVID-19 โดย ผศ. นพ.กำธร มำลำธรรม
Situational awareness
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
19
ด้านการบริการสุขภาพ
รพ.
รามาธิบดี
- ARI Clinic
- จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ (War Room) รายงานสถานการณ์และการบริหารจัดการรองรับ
สถานการณ์อย่างต่อเนื่อง
- เตรียมการด้านผู้ป่วยนอก
1. ลด OP visit
2. แบ่งกลุ่มผู้ป่วยนอกโดยแพทย์
3. ระบบบริการของโรงพยาบาลแบบ Telemedicine (บูรณาการร่วมกับฝ่ายเภสัชกรรรม
ฝ่ายสารสนเทศ แพทย์ พยาบาลหน่วยผู้ป่วยนอก ฝ่ายการคลัง)
4. สั่งยาทางระบบ CPOE / confirm รายการยาทุกตัว / จัดส่งยาทางไปรษณีย์
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
20
ระดับแผน COVID 1 PYT → CNMI : Phase 2 ของประเทศ
ระดับแผน COVID 2 CNMI IPD : Phase 3 ของประเทศ
• ลด OP visit
• ลด elective surgery
• ลด IP-beds
➢ Monitor มาตรการ
• ลด จนท. Back-office
ลด Resource & ลดการระบาด
• ขยาย ARI Clinic
• Monitor สถานการณ์
• OPD : เตรียมขยาย ARI Clinic→ อาคาร 4
• IPD : ขยาย (4-floors)G-wing ของ CNMI
• IPD : อาคาร 1 : 5th-9th floors NE wing
เตรียม potential cohort/ICU
• ย้ายกาลังคน ไปช่วยภาระ COVID /CNMI
• เตรียม personnel-competency
• เตรียมอาสาสมัคร
เตรียมพื้นที่ และ กาลังคน
ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
21
1. สีเขียว ผู้ป่วยที่มีอาการ stable ไม่ต้องจ่ายยา/สามารถรับยารพ.ต้นสังกัดได้
- เลื่อนนัด 6 เดือนหรือมากกว่า
- Refer กลับต้นสังกัดตามสิทธิ → แพทย์เขียนใบสรุปประวัติ + พยาบาลจะ scan ส่ง
การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยนอกโดยแพทย์
2. สีเหลือง ผู้ป่วยที่มีอาการ stable และสามารถตรวจ
“แบบ Telemedicine/โทรศัพท์/ญาติประสงค์+โทรมาเอง” ได้
(คิดค่าบริการ Telemedicine 200 บาท (รวมค่าตรวจและค่าส่ง)
2.1 ส่งยาทางไปรษณีย์ (ยกเว้น ยาแช่เย็น ยาเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ ยาราคาสูง)
2.2 นัดมารับยา (ให้ญาติมาติดต่อรับยาที่ห้องยา ตามวันที่กาหนด)
3. สีแดง ผู้ป่วยที่ต้องมาตามนัดเพื่อติดตามอาการ ให้มาตามนัดปกติ
ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
22
การเตรียมการ ด้าน elective surgery / Intervention
วัตถุประสงค์
• ความปลอดภัย
• ลด Resource
• สงวนกาลังบุคลากร
ลดจานวน elective surgery / Intervention
• โดยเลือกทาแต่ มะเร็ง/ เร่งด่วน
• งดหัตถการทีมีความเสี่ยงต่อ จนท. ต่อการติดเชื้อ COVID
• ไม่นัดคิวมาแทนรายที่งด/เลื่อน แม้กระทั่ง day-case surgery
• ลดจานวนห้องผ่าตัด เช่นสลับวัน เพื่อจัด แพทย์/พยาบาล ไปเสริมจุดบริการ COVID
• อาจต้อง รวบบาง OR มาที่ OR แห่งหนึ่งแห่งใด
• ขอ monitor
ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
23
ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
24
• ลด OP visit
• ลด elective surgery
• ลด IP-beds
• ลด จนท. Back-office
ลด Resource & ลดการระบาด
• OPD : เตรียมขยาย ARI Clinic→ อาคาร 4
• IPD : ขยาย (4-floors)G-wing ของ CNMI
• IPD : อาคาร 1 : 5th-9th floors NE wing
เตรียม potential cohort/ICU
• ย้ายกาลังคน ไปช่วยภาระ COVID /CNMI
• เตรียม personnel-competency
• เตรียมอาสาสมัคร
เตรียมพื้นที่ และ กาลังคน
ระดับแผน COVID : หลังสถานการณ์ระบาดของประเทศคลี่คลาย
COVID SERVICE Non - COVID SERVICE
• ยังคงลด OP visit
• เพิ่ม elective surgery ที่จาเป็น
( รวม Day case & One day surgery)
ขยายเวลา และ เพิ่มจุด preop-swab
• เพิ่ม IP-beds ที่จาเป็น
• เพิ่มความปลอดภัยของ ER Service
ผ่อนปรนบริการ ที่ปลอดภัย
• OPD : ปรับลดกาลังคนที่ ARI Clinic
• IPD : ลดบริการ G-wing ที่ CNMI
• IPD : เร่งรัดปรับพื้นที่ 7NW →5NW
• ย้ายกาลังคนมาช่วยภาระ non-COVID
• ยังคงแผนเตรียม personnel-competency
• พัฒนารูปแบบ new process จาก COVID crisis
• จัดเตรียม เวชภัณฑ์ และ PPE
เตรียมพื้นที่ logistic และ กาลังคน
กากับติดตามงานประจา
ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
25
ด้านการบริการสุขภาพ
- จัดตั้งทีมบริหารสถานการณ์ของ CNMI
- กาหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ที่ชัดเจน
- สื่อสารเรื่องราวของสถานการณ์ของ COVID-19 กับบุคลากรอย่างทั่วถึงและทันต่อเหตุการณ์
- จัดสรรพื้นที่รองรับผู้ป่วย อาคารโซน G เพื่อเป็น ARI clinic และดัดแปลงห้องผู้ป่วยให้มีคุณสมบัติ
เป็นห้องความดันลบ (negative pressure)
- มอบหมายงานและอานาจการตัดสินใจให้กับบุคลากรในแต่ละสาขาวิชาชีพ
- วางเป้าหมายความสาเร็จระยะสั้น (short term win)
- สร้างนวัตกรรม (Innovation)
- ผู้บริหารติดตามความก้าวหน้าของการทางานอย่างใกล้ชิด
สถาบันการแพทย์
จักรีนฤบดินทร์
และโรงพยาบาล
รามาธิบดีจักรี
นฤบดินทร์
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
26
- หน่วยงานรับบริจาค
ด้านการบริการสุขภาพ
รพ.
รามาธิบดี
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
27
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ด้านการขับเคลื่อนนโยบาย
ผู้บริหารคณะฯ หลายท่านเข้าร่วมประชุมเชิงนโยบายร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลมา
โดยตลอด
- EOC
- การเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาลต่างๆ
- การประสานงานด้านการควบคุมโรค
- การประชุมกับกรุงเทพมหานคร
- บทบาททางวิชาการ เช่น สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
28
1. การตรวจวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการไวรัส หากได้ผลเร็ว จะสามารถทาให้การระบุตัวผู้ป่วยหรือผู้ติด
เชื้อ (Identify) การจาแนกหรือกักตัว (Isolate) รักษาผู้ป่วยได้เร็วขึ้นด้วย แต่ถ้าหากระยะเวลานี้ยาวนาน
ออกไป เช่น ต้องใช้เวลา 3 วันจึงได้ผล ผู้ติดเชื้อเหล่านี้ก็จะสามารถแพร่เชื้อต่อไปได้อีก เพราะฉะนั้นการ
ตรวจวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสจึงเป็นการแก้ไขปัญหาและตอบโจทย์ทั้งหมด
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ด้านการวิจัย
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
29
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ด้านการวิจัย
2. การถอดรหัสพันธุกรรม 3 สายพันธุ์ 3 กลุ่ม คือ A2, B1 และ B1.4 หรือ C ที่เป็น Daughter ของ B
จากนั้นทางทีม Genetics ของคณะฯ ให้นาผล Lab เหล่านี้ออกมา โดยใช้ specimen ที่มีอยู่ประมาณ
500-600 ราย เพื่อนาไปบูรณาการต่อไป
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
30
3. การวิจัยหาเชื้อ SARS-CoV-2 ในน้าลาย ช่วยลดการ
ใช้ทรัพยากร ลดค่าใช้จ่าย และสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ด้านการวิจัย
4. การวิจัยสารสกัดจากขิงและกระชายขาว พบว่ามี
ฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในห้อง Lab
5. การใช้ UV-C ในการฆ่าเชื้อ หากไม่มี UV-C สามารถ
ใช้ความร้อน (Dry Heat) ที่ 70 องศาเซลเซียส
เป็นเวลา 30 นาที
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
31
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ด้านการวิจัย
5. แผนที่นาทางบูรณาการแก้ไขเชิงระบบของการระบาด COVID-19
โดยใช้แนวคิด Systems Dynamics
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
32
ด้านการศึกษา
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
3. หลังปริญญา
- ชะลอฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้าน ปีการศึกษา 2563 ตามสถานการณ์
- ปฐมนิเทศแพทย์ประจาบ้านและแพทย์ประจาบ้านต่อยอดใหม่ ปีการศึกษา 2563 แบบ Online
- การจัดการเรียนการสอน / โครงการพัฒนาทักษะการทางานและการใช้ชีวิตในสังคม แบบ Online
1. ระดับปริญญา
- ชั้นปีที่ 4 และ 5 Online Learning 16 สัปดาห์ และ Wards/OPD Practice 24 สัปดาห์
- ชั้นปีที่ 6 (Extern) ฝึกปฏิบัติในหอผู้ป่วยที่ไม่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ /ชะลอการฝึกอบรมใน
โรงพยาบาลสมทบ
2. กิจการนักศึกษา
- เตรียมความพร้อมหอพักแพทย์เพื่อรองรับบุคลากรในสถานการณ์ COVID-19
- ยกเว้นการเก็บเงินค่าบารุงหอพักนักศึกษาแพทย์
- สารวจผลกระทบของสถานการณ์ COVID-19 ต่อนักศึกษาและความช่วยเหลือที่ต้องการ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
33
3. เรื่องเงิน
- ลดอัตราการส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคม
- พิจารณาอัตราการจ่ายเงินค่าตอบแทนพิเศษแก่บุคลากรที่มีความเสี่ยงสูง (ร่วมกับพันธกิจบริการสุขภาพ
/ พันธกิจการคลัง / คณะกรรมการบริหารคณะฯ)
- สวัสดิการด้านการเงินกับสถาบันการเงิน (การพักชาระหนี้)
ด้านทรัพยากรบุคคล ดาเนินงานภายใต้แนวคิด “บุคลากรคือหัวใจสาคัญของคณะฯ”
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
4. เสนออนุมัติการลา และแนวทางการปฏิบัติกรณีบุคลากรเดินทางไปยังกลุ่มประเทศเสี่ยง
5. การทาประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพเฉพาะโรค สาหรับการติดเชื้อ COVID-19 แก่บุคลากรและ
นักศึกษา เพื่อเป็นขวัญกาลังใจ
1. ติดตามสถานะบุคลากรทั้งหมด ที่อยู่ในคณะฯ/ลาศึกษา และฝึกอบรม ณ ต่างประเทศในช่วงสถานการณ์
2. ดาเนินการตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน กรณีห้ามออกนอกเคหสถานตาม พรก.ฉุกเฉิน
3. จัดทาประกาศคณะฯ เรื่อง WFH
4. จัดทาบัตรประจาตัวแพทย์/หนังสือรับรอง
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
34
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ตัวอย่างแผน Work from Home ของฝ่ายบริหารทุนมนุษย์ (HCM)
ด้านทรัพยากรบุคคล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
35
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ตัวอย่างแผน Work from Home ของฝ่ายบริหารทุนมนุษย์ (HCM)
ด้านทรัพยากรบุคคล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
36
- สนับสนุนข้อมูลและการใช้งาน Telemedicine
ผ่านระบบสารสนเทศ
- งานด้าน Infrastructure / งานสนับสนุนเข้า
ปฏิบัติงาน 100% ทั้ง 2 site (อาคารวิจัยและ
สวัสดิการ และอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์)
- งานโปรแกรมเมอร์ทางานแบบ Work From
Home และส่งงานผ่าน network
ด้านสารสนเทศ
“เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ในฐานะผู้ดูแลระบบส่วนกลางต้องมีวิธีการ
รับมืออย่างเข้มแข็งภายใต้แนวคิด ทำให้ผู้ใช้บริกำรได้รับผลกระทบน้อย
ที่สุด สำมำรถให้บริกำรได้อย่ำงต่อเนื่อง และไม่ทำให้ระบบหยุดชะงัก”
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
37
ตัวอย่างการนาระบบ Business Intelligence มาใช้ Monitor ข้อมูลสาคัญ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
38
ตัวอย่างการนาระบบ Business Intelligence มาใช้ Monitor ข้อมูลสาคัญ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
39
ด้านสารสนเทศ
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ตัวอย่างการนาระบบ Business Intelligence มาใช้ Monitor ข้อมูลสาคัญ
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
40
ด้านการคลัง
- การเสริมสร้างสภาพคล่องและความมั่นคงทางการเงิน
คณะฯ เป็นส่วนงานแรกๆ ที่ขออนุมัติกับมหาวิทยาลัยมหิดล มีการประเมินล่วงหน้าเพื่อ
รองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
- รายได้ที่ลดลง
- การประเมิน cash flow
- การขออนุมัติเปิดวงเงินเกินบัญชีธนาคาร (Overdraft)
- การสนับสนุนงานบริการรักษาพยาบาล
- การสนับสนุนงาน Back Office
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
41
ด้านการคลัง
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
การติดตามแนวโน้มสถานการณ์รายรับ และกระแสเงินสด (cash flow)
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
42
ด้านการพัสดุ
ฝ่ายการพัสดุเป็นหน่วยงานสาคัญด้านพันธกิจสนับสนุน เมื่อเกิดภาวะวิกฤติ
ดังกล่าว การดาเนินการด้านการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์
ที่จาเป็นให้กับผู้ใช้งานของคณะฯ ต้องมีความพร้อมใช้
และทันกับความต้องการ
กาหนดให้ฝ่ายการพัสดุเตรียมวางแผนการเพื่อรองรับสภาวะฉุกเฉินกรณีการเกิดโรคระบาดร้ายแรง โดยไม่ให้มีผลกระทบ
ต่อการปฏิบัติงาน (Business Continuity Planning : BCP) โดยใช้การจาลองเหตุการณ์ “Scenario planning”
Scenario 1 ความรุนแรงของโรคระยะ 1 การรักษาระยะห่าง เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเต็มจานวน แต่ให้เหลื่อมเวลาการทางาน
Scenario 2 ความรุนแรงของโรคระยะ 2 “WORK FROM HOME” การจัดอัตรากาลังออกเป็น 2 ส่วน โดยไม่ให้พบปะกัน คือ
เดินทางมาทางานและทางานที่บ้าน 60:40 ปฏิบัติงานที่สานักงาน 3 วันทาการ ปฏิบัติงานที่บ้าน 2 วันทาการ
Scenario 3 ความรุนแรงของโรคระยะ 3 “WORK FROM HOME” การจัดอัตรากาลังออกเป็น 2 ส่วน คือเดินทางมาทางานและ
ทางานที่บ้าน 40:60 ปฏิบัติงานที่สานักงาน 2 วันทาการ ปฏิบัติงานที่บ้าน 3 วันทางาน
Scenario 4 ความรุนแรงระยะ 4 “WORK FROM HOME” ” การจัดอัตรากาลังออกเป็น 2 ส่วน คือเดินทางมาทางานและทางาน
ที่บ้าน 30:70 ปฏิบัติงานที่สานักงาน 1 วันทางาน ปฏิบัติงานที่บ้าน 4 วันทาการ
Scenario 5 ความรุนแรงระยะ 5 “WORK FROM HOME” เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานที่บ้าน 100 % จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสื่อสาร
อย่างเดียว และการปฏิบัติงานทาในระบบสารสนเทศ
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
43
ด้านกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวก
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
1. จัดทาแผน BCP เฉพาะพันธกิจกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวก
2. จัดตั้ง BCP Team
3. ระบบงานที่การดาเนินงานต่อการตอบสนองต่อสถานการณ์
- ระบบงานเครื่องมือแพทย์
- ระบบงานวิศวกรรม
- ระบบงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
- ระบบงานการดูแลสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ
หน่วยงาน
การกากับ พื้นที่การดูแล
คณะฯ บริษัท
RFS จากัด
RAMA หลัก
และ QSMC
SDMC
ฝ่ายวิศวกรรมบริการ / - / -
ฝ่ายกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวก / - / -
งานอุปกรณ์การแพทย์ / - / -
ฝ่ายวิศวกรรมบริการและระบบประกอบอาคาร - / - /
ฝ่ายวิศวกรรมชีวการแพทย์ - / / /
ฝ่ายบริหารจัดการด้านวิศวกรรม - / - /
ฝ่ายระบบสนับสนุนโรงพยาบาล - / - /
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
44
ด้านสื่อสารองค์กร
การสื่อสารถือว่า เป็นหัวใจสาคัญขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารระหว่าง
องค์กรกับบุคคลภายนอก หรือว่าการสื่อสารภายในองค์กรก็ตาม โดยเฉพาะใน
สภาวะที่เกิดสถานการณ์พิเศษ การสื่อทั้งภายนอกและภายในองค์กร
ยิ่งทวีความสาคัญมากขึ้นกว่าสถานการณ์ปกติ
1. ร่วมกับโรงเรียนพยาบาลในการดาเนินการ Call Center ให้
ความรู้ในด้าน COVID-19 แก่ผู้ป่วยและประชาชน
2. การให้กาลังใจ (motivate) /สร้างขวัญและกาลังใจให้กับทีมงาน
3. มุ่งเน้นให้เกิดการบูรณาการทั้งองค์ความรู้ และการทางานร่วมกัน
4. ทางานในแนวราบมากกว่าแนวดิ่ง เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึง
ข้อมูลต่างๆได้อย่างเท่าเทียม
5. การปฏิบัติงานทดแทนกันได้เมื่อเกิดความจาเป็น
6. การเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น
7. สร้างวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมที่มีความรับผิด
ชอบในภารกิจขององค์กรร่วมกัน
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
สารคณบดีถึงชาวรามาธิบดี กรณีสถานการณ์ COVID-19 : คลิปวีดิโอ ณ วันที่ 13 มี.ค. 63 (ความยาว 2.56 นาที)
https://intra9.rama.mahidol.ac.th/COVID-19/update-staff/13mar2020-1533
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
45
1. ศูนย์ Teleconference
2. การใช้ Webex Meeting
3. กิจกรรมวันวิสาขบูชา (Online) การถ่ายทอดสดการ
แสดงพระธรรมเทศนา ผ่านช่องทางออนไลน์ทาง
Facebook และ YouTube ซึ่งคณบดีเป็นประธานจัดงาน
ครั้งนี้
4. Ramathibodi Knowledge Sharing for COVID-19
Management การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการเตรียมตัว
และดูแลผู้ป่วยในสถานการณ์ COVID-19
ด้านบริการวิชาการ
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
46
ด้านบริการวิชาการ
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
https://www.rama.mahidol.ac.th/academic-culture/covid19ks
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
47
ด้านบริการวิชาการ
การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
https://www.rama.mahidol.ac.th/academic-culture/covid19ks
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
The Real BCM During COVID-19: Third Wave
49
ด้านสื่อสารองค์กร
เมื่อมีบุคลากรติดเชื้อกลุ่มแรก
และจาเป็นต้องลดการให้บริการ
(8 เม.ย. 2564)
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
50
ด้านรักษาพยาบาล
ประมาณการผู้ป่วยรายใหม่ที่รามาธิบดีจะรับดูแลได้ที่ Hospitel
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
51
ด้านรักษาพยาบาล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
52
ด้านรักษาพยาบาล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
53
ด้านรักษาพยาบาล
การ monitor สัดส่วนที่ผลการตรวจเป็นบวก (positive rate)
รายวัน ของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา รามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
54
Situational Awareness
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
55
Situational Awareness
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
56
ด้านรักษาพยาบาล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
57
ด้านรักษาพยาบาล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
58
ด้านรักษาพยาบาล
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
59
ด้านสื่อสารองค์กร
เมื่อบุคลากรเสียชีวิต (8 พ.ค. 2564)
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
60
ด้านสื่อสารองค์กร
การจัดหาวัคซีนของ Moderna ให้บุคลากร (4 ก.ค. 2564)
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
61
ด้านความเสี่ยง
62
ด้านความเสี่ยง
63
ด้านความเสี่ยง
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
64
ด้านความเสี่ยง
65
จุดเด่นที่พบ จากการถอดบทเรียนด้าน: BCM
❖ ภาวะผู้นา
- ผู้นามีการมอบนโยบายในการดาเนินงานที่ชัดเจน มีความว่องไวในการประเมินและปรับตัวตามสถานการณ์
- ผู้นามีการสื่อสารภายใต้สถานการณ์วิกฤตเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับบุคลากรภายในและภายนอก
❖ บุคลากร ทุกคนในองค์กรรู้บทบาทหน้าที่ของตัวเองทาให้สามารถผ่านสถานการณ์ที่วิกฤตไปได้ / มีกลไกสื่อสารร่วมกับ
หน่วยงานภายนอกหลายๆ ด้าน
❖ ด้านการวิจัย
- มีการวิจัยหลายๆ เรื่องที่พยายามทาหน้าที่เป็นปัญญาของแผ่นดิน เช่น การศึกษาเพื่อนา N95 กลับมาใช้ซ้าในช่วงขาดแคลน
- การตรวจวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการไวรัส ที่รวดเร็ว เป็นศูนย์กลางในการตรวจวิเคราะห์ของประเทศในช่วงที่สาคัญ
❖ ด้านการบริการสุขภาพ
- มีการนาระบบ BI เข้ามาประเมินสถานการณ์ เช่น การรักษาระยะห่าง (Social Distancing) ภายในคณะฯ
- การเตรียมทรัพยากรด้านต่างๆ เพื่อรองรับผู้ป่วย COVID
❖ ด้านการคลัง
- มีการวางแผนรองรับและการเสริมสร้างสภาพคล่องและความมั่นคงทางการเงิน เช่น การขออนุมัติวงเงิน OD
❖ ด้านการบริหารจัดการภาพรวม
- มีระบบและช่องทางการสื่อสารในสภาวะวิกฤตที่รวดเร็ว
- การรับบริจาคเป็นระบบที่มีความชัดเจน ทั่วถึง ตรวจสอบได้
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
66
โอกาสพัฒนาและข้อเสนอแนะ
➢ ทบทวนกลไกในการบริหารจัดการภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินอย่างเป็นระบบ ที่เป็นไป
ในทิศทางเดียวกัน
- การสื่อสารภายใน/ภายนอก ควรมีความชัดเจน น่าเชื่อถือ
- กลไกการสื่อสารควรมีผู้รับผิดชอบ เพื่อสร้างความคล่องตัว รวดเร็ว
- การกากับดูแลสิ่งของบริจาคมีความเป็นระบบ แต่ก็พบจุดอ่อนในบางด้านเช่นกัน
➢ แผน BCP ของคณะฯ ที่มี และที่ดาเนินการซ้อมแผนไปแล้วนั้น ไม่สามารถนามาใช้กับ
สถานการณ์นี้ได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีการบริหารจัดการโดยการปรับแผนเพิ่มเติม
➢ ปรับแผน BCP ของคณะฯ ให้ครอบคลุมในทุกสถานการณ์ เพื่อรองรับหากเกิดการ
แพร่ระบาดของรอบที่ 2 และสถานการณ์ที่มีความยืดเยื้อและความไม่แน่นอนสูง
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
67
การถอดบทเรียนจากสถานการณ์ COVID-19
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
© เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Failure Mode & Effect Analysis
Failure Mode & Effect AnalysisFailure Mode & Effect Analysis
Failure Mode & Effect AnalysisNafis Ahmad
 
Zbirke podatkov I.pptx
Zbirke podatkov I.pptxZbirke podatkov I.pptx
Zbirke podatkov I.pptxDarkoGolec
 
Bbp change impact analysis sample_2009_v07
Bbp change impact analysis sample_2009_v07Bbp change impact analysis sample_2009_v07
Bbp change impact analysis sample_2009_v07Muhammad_Abdelgawad
 
Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...
Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...
Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...Thanh Hoa
 
Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...
Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...
Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...Thư viện Tài liệu mẫu
 
Process architecture - Part II
Process architecture - Part IIProcess architecture - Part II
Process architecture - Part IIMarcello La Rosa
 
Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...
Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...
Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...Thư viện Tài liệu mẫu
 
Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...
Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...
Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...https://www.facebook.com/garmentspace
 
Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...
Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...
Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...Susanne Plaumann
 
BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015]
BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015] BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015]
BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015] iProcess Soluções em BPM e RPA
 
Giáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1 tài liệu, ebook, giáo trình
Giáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1   tài liệu, ebook, giáo trìnhGiáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1   tài liệu, ebook, giáo trình
Giáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1 tài liệu, ebook, giáo trìnhTrần Văn Nam
 
LUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIA
LUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIALUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIA
LUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIAOnTimeVitThu
 

Mais procurados (20)

Đề tài: Công tác đào tạo đội ngũ lao động trực tiếp tại công ty, 9đ
Đề tài: Công tác đào tạo đội ngũ lao động trực tiếp tại công ty, 9đĐề tài: Công tác đào tạo đội ngũ lao động trực tiếp tại công ty, 9đ
Đề tài: Công tác đào tạo đội ngũ lao động trực tiếp tại công ty, 9đ
 
Failure Mode & Effect Analysis
Failure Mode & Effect AnalysisFailure Mode & Effect Analysis
Failure Mode & Effect Analysis
 
Zbirke podatkov I.pptx
Zbirke podatkov I.pptxZbirke podatkov I.pptx
Zbirke podatkov I.pptx
 
TPM: Quality Maintenance (Hinshitsu Hozen)
TPM: Quality Maintenance (Hinshitsu Hozen)TPM: Quality Maintenance (Hinshitsu Hozen)
TPM: Quality Maintenance (Hinshitsu Hozen)
 
Bbp change impact analysis sample_2009_v07
Bbp change impact analysis sample_2009_v07Bbp change impact analysis sample_2009_v07
Bbp change impact analysis sample_2009_v07
 
Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...
Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...
Hoàn thiện công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại tổng công ty sôn...
 
Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...
Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...
Một số giải pháp nâng cao hiệu quả quản trị nguồn nhân lực tại công ty tnhh ô...
 
Process architecture - Part II
Process architecture - Part IIProcess architecture - Part II
Process architecture - Part II
 
Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...
Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...
Một số biện pháp nhằm nâng cao hiệu quả nguồn nhân lực tại công ty cổ phần đầ...
 
Lean Road Map
Lean Road MapLean Road Map
Lean Road Map
 
Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...
Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...
Giải pháp nâng cao hiệu quả sử dụng vốn lưu động tại công ty cổ phần đầu tư x...
 
Luận văn: Tuyển dụng nhân lực tại công ty chuyển phát nhanh, 9đ
Luận văn: Tuyển dụng nhân lực tại công ty chuyển phát nhanh, 9đLuận văn: Tuyển dụng nhân lực tại công ty chuyển phát nhanh, 9đ
Luận văn: Tuyển dụng nhân lực tại công ty chuyển phát nhanh, 9đ
 
Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...
Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...
Themenanmeldung zur Projektarbeit der Aus- und Weiterbildungspädagogen sowie ...
 
BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015]
BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015] BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015]
BPMN: modelando a comunicação entre processos [Webinares iProcess 2015]
 
Báo cáo thực tập thực trạng công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại...
Báo cáo thực tập thực trạng công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại...Báo cáo thực tập thực trạng công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại...
Báo cáo thực tập thực trạng công tác đào tạo và phát triển nguồn nhân lực tại...
 
Giáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1 tài liệu, ebook, giáo trình
Giáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1   tài liệu, ebook, giáo trìnhGiáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1   tài liệu, ebook, giáo trình
Giáo trình cấu trúc dữ liệu và giải thuật phần 1 tài liệu, ebook, giáo trình
 
Luận văn: Hoàn thiện công tác tuyển dụng nhân sự tại công ty sứ Đông Lâm
Luận văn: Hoàn thiện công tác tuyển dụng nhân sự tại công ty sứ Đông LâmLuận văn: Hoàn thiện công tác tuyển dụng nhân sự tại công ty sứ Đông Lâm
Luận văn: Hoàn thiện công tác tuyển dụng nhân sự tại công ty sứ Đông Lâm
 
LUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIA
LUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIALUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIA
LUẬN VĂN THẠC SĨ: ĐÀO TẠO NGUỒN NHÂN LỰC TẠI CÔNG TY CỔ PHẨN BIA
 
Fmea
FmeaFmea
Fmea
 
BÀI MẪU khóa luận: Công tác tuyển dụng nguồn nhân lực, HAY
BÀI MẪU khóa luận: Công tác tuyển dụng nguồn nhân lực, HAYBÀI MẪU khóa luận: Công tác tuyển dụng nguồn nhân lực, HAY
BÀI MẪU khóa luận: Công tác tuyển dụng nguồn nhân lực, HAY
 

Semelhante a Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)

การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการkulachai
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร... Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒnawaporn khamseanwong
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...nawaporn khamseanwong
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรตินวพร คำแสนวงษ์
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referLampang Hospital
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
Loadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒnawaporn khamseanwong
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551taem
 

Semelhante a Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021) (20)

การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร... Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนคร...
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
Hpon2 mix
Hpon2 mixHpon2 mix
Hpon2 mix
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
Loadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ วิศวกรไฟฟ้า โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
 

Mais de Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Mais de Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)

  • 2. 2 Outline ▪ Overview of Business Continuity Management ▪ BCM at Ramathibodi ▪ The Real BCM During COVID-19 ▪ First Wave ▪ Third Wave
  • 3. 3 Business Continuity Management “The capability of an organization to continue the delivery of products or services at pre-defined acceptable levels following a disruptive incident” BCI Good Practice Guidelines 2013, quoted in Mid Sussex District Council, Business Continuity Policy Statement, April 2018
  • 5. 5 แจ้งว่า : มหาวิทยาลัยขอความ อนุเคราะห์หัวหน้าคณะบริหารความ- ต่อเนื่องพื้นที่ ในการดาเนินการซ้อมแผน ในการดาเนินงานของพื้นที่ พร้อมทั้ง จัดส่งแผนความต่อเนื่องของพื้นที่ ( Business Continuity Plan: BCP) และผลการซ้อมแผนต่อมหาวิทยาลัย ภายในเดือนกันยายน การซ้อมแผน BCP พื้นที่พญาไทของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหิดล © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 6. 6 งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6 MU BCP Structure Faculty Campus University มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา บางกอกน้อย พญาไท คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์ และตรวจสารในการกีฬา คณะเภสัชศาสตร์ วิทยาลัยการ จัดการ วิทยาลัยกาญจนบุรี วิทยาเขตนครสวรรค์ วิทยาเขตอานาจเจริญ โครงสร้างการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCM / BCP) พื้นที่พญาไท Department กองเทคโนโลยี สารสนเทศ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 7. 7 การดาเนินการด้าน BCP ที่ผ่านมา ปีงบฯ 2560-2561 เหตุการณ์จาลอง : เกิดการก่อการร้าย (Terrorist) กราดยิง บริเวณอนุสาวรีย์ฯ และลอบเข้ามาวางระเบิดจนทาให้เกิดอัคคีภัย สถานที่ : อาคารบริหาร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี และอาคารเรียน คณะวิทยาศาสตร์ วันที่ : 10 พฤศจิกายน 2560 เวลา : 11.30 น. Key Process ที่ซ้อม: Incident Activation (Call Tree) © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 8. 8 เหตุการณ์จาลอง : การชุมนุมยึดสถานที่ ที่เป็นระบบ Infrastructure ส่งผลให้ ไฟฟ้าดับ (แต่ยังคงสื่อสารด้วยระบบ Social media และสามารถใช้ โทรศัพท์มือถือได้) สถานที่ : บริเวณรอบๆ เมืองชั้นใน ทุกจุด วันที่ : 16 กันยายน 2562 เวลา : 13.00-16.00 น. Key Process ที่ซ้อม: Incident Activation (Call Tree), Power & IT Outage Management & Communication (Table-top) การดาเนินการด้าน BCP ที่ผ่านมา ปีงบฯ 2562 © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 9. 9 Business impact analysis (BIA.) แบบประเมินการทบทวนกระบวนงาน ข้อมูลสาคัญการบริหารจัดการความต่อเนื่อง ของส่วนงาน........................................................................................... มหาวิทยาลัยมหิดล ประจาปีงบประมาณ 2562 หน่วยงาน กระบวนงานที่สาคัญ (สามารถอ้างอิงได้จาก EdPEx หมวด 6) ผลกระทบ (BIA) เครื่องมือ/ อุปกรณ์และ ข้อมูลสาคัญ ระบบงาน เทคโนโลยี หรือระบบ สารสนเทศ ระยะเวลาการ หยุดชะงักสูงสุดที่ ยอมรับได้ (Maximum Tolerable Period Of Disruption) ระยะเวลา เป้าหมายใน การฟื้นคืน สภาพ (Recovery Time Objective) ชื่อและจานวนบุคลากรหลัก การติดต่อ (8) คู่ค้า/ ผู้ ให้บริการ/ ผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย การติดต่อ จานวน ชื่อ การติดต่อ (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (9) คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี หน่วยงานที่ จัดทา กิจกรรมหรือ กระบวนงานหลัก หรือการให้บริการที่ สาคัญในหน่วยงาน ของตนตามลาดับ ความสาคัญ ผลกระทบที่ สาคัญ และระดับ ผลกระทบ ระบุ ระดับความ รุนแรง เช่น สูง มาก สูง ปาน กลาง น้อย และ น้อยมาก เครื่องมือ และอุปกรณ์ ตามความ จาเป็นที่ต้อง ใช้ในการฟื้น คืนกลับมา ของแต่ละ กิจกรรมหรือ กระบวนงาน หลัก การระบุ ระบบงาน เทคโนโลยี หรือระบบ สารสนเทศ ที่สาคัญ และจาเป็น ระยะเวลา สูงสุดที่ หน่วยงาน ได้รับ ผลกระทบ แล้วไม่ สามารถ ให้บริการ หรือดาเนิน กิจกรรมได้ ระยะเวลา เป้าหมายที่ ใช้ในการ ดาเนินการ เพื่อให้ กิจกรรม กระบวนงาน หรือการ ให้บริการ กลับสู่ สภาวะปกติ หลังจากเกิด สภาวะวิกฤต การระบุชื่อและจานวน บุคลากรหลักและการ ติดต่อ เพื่อการดาเนินงาน ในสภาวะวิกฤตในการ ติดต่อ เตรียมสถานที่ รองรับ ผู้ที่มีความสาคัญ ต่อความสาเร็จ ของกิจกรรม หรือมีส่วนได้ ส่วนเสียสาคัญ ต่อการบริการ และการ ให้บริการ ในช่วงการ บริหารจัดการ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 10. 10 การซ้อมแผน BCP ที่ผ่านมา วิทยาเขตพญาไท ด้านวิจัย ด้านการศึกษา ด้านบริการสุขภาพ ด้านสารสนเทศ 2560-61 2562 2560-61 2562 2560-61 2562 2560-61 2562 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล- รามาธิบดี คณะเวชศาสตร์เขตร้อน คณะเภสัชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยการจัดการ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์ และตรวจสารในการกีฬา มีแผนและดำเนินกำรซ้อมแผน © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 11. 11 วิทยาเขตพญาไท วิจัย การศึกษา บริการ สุขภาพ IT HR คลัง/ พัสดุ กายภาพ สื่อสารองค์กร บริการ วิชาการ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะเวชศาสตร์เขตร้อน คณะเภสัชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยการจัดการ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจ สารในการกีฬา การดาเนินงานด้าน BCM 2563 การถอดบทเรียน COVID-19 มีแผน คาดว่ามีแผนฯ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 12. The Real BCM During COVID-19: First Wave
  • 13. 13 4 ม.ค. 2563 ครั้งแรกที่ผู้บริหารรามาธิบดี ทราบเรื่อง New Virus Outbreak © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 14. 14 Activities & Timeline 14 Activities ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ทราบเรื่อง + เตรียมการด้าน EID + ติดตามสถานการณ์ โดย งานบริหารความเสี่ยง หารือเรื่องการเดินทางต่างประเทศของบุคลากร ออกประกาศห้ามเดินทางไปต่างประเทศ 27 คณะกรรมการประจาคณะฯ ประชุมวาระพิเศษ COVID-19 19 หารือเรื่องแนวทางด้าน BCP & BCM 12 ออกประกาศ Work from Home 22-23 © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 15. 15 BCM Planning Methodology & ISO 22301 BCM Standard วิเคราะห์ / จัด เรียงลาดับ ความสาคัญของ ภาระงาน (Prioritization) เพื่อจัดทาแผน เฉพาะงานสาคัญ Scanning Organization การหากลยุทธ์ที่เหมาะสม เพื่อใช้กอบกู้สถานการณ์ - Emergency Response - Incident Handling - Crisis Management - Business Recovery Plan การฝึกซ้อม แผน BCP Embed BCM เข้าสู่วัฒนธรรมองค์กร Program Management Risk Analysis and Review Business Impact Analysis (BIA) Strategy BC Plan Tests And Exercises Framework BCM Framework
  • 16. 16 งานบริหารความเสี่ยงขอความอนุเคราะห์หน่วยงานตามพันธกิจ และภาควิชา สาหรับข้อมูล ประกอบการจัดทาแผนความต่อเนื่อง โดยนาแผน BCP เดิม (ถ้ามี) มาพิจารณา Revise ดังนี้ 1. ประเมิน BIA โดยเน้น Core Process ตามระดับความสาคัญ 2. วางแผนการดาเนินการ Core Process เหล่านั้น สาหรับ 3 Scenarios ต่อไปนี้ - Best Case: Capacity ในการดาเนินการของบาง Process ลดลงพอสมควร - Base Case: ชะลอหรือหยุดการดาเนินการใน Process ที่ทาได้ ในระยะสั้น (< 3 เดือน) - Worst Case: ชะลอหรือหยุดการดาเนินการใน Process ที่ทาได้ ในระยะกลาง-ยาว โดยพิจารณาว่าใน Process นั้นๆ จะดาเนินการอย่างไร เช่น ปรับรูปแบบการทางาน (เช่น Work from Home/Online), เปลี่ยนผู้ปฏิบัติงานตามความจาเป็น, ยกเลิก/เลื่อน/งดดาเนินการ, ไม่ต้องปรับ 3. สิ่งที่ยังไม่ทราบ/เป็นคาถาม/ต้องการความชัดเจน เช่น ระบบที่รองรับ กฎระเบียบ นโยบาย/แนวทาง Original Plan: การจัดทาแผน BCP กรณี COVID-19 นาเสนอคณะกรรมการประจาคณะฯ เมื่อ 12 มี.ค. 2563 แต่สถานการณ์การแพร่ระบาดรุนแรงขึ้นจน จาเป็นต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าตามสถานการณ์ ไม่ได้ดาเนินการจัดทาแผนตาม Scenarios สมมติ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 17. 17 ตัวอย่างระบบงานสาคัญ System 3: ระบบการจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทนแก่บุคลากรคณะฯ / การบริหารงานบุคคล System 4: ระบบสารสนเทศ 1) Infrastructure 2) App (HIS/ERP) 3) Support Services System 5: สื่อสารองค์กร / งานบริหารทั่วไป System 6: การคลังและการพัสดุ System ...: ........................................... System 0: การเตรียมรับมือและการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยกรณี COVID-19 System 2: การเรียนการสอน (Undergrad, Post-grad, อื่นๆ), การวิจัย, การบริการวิชาการ/จัดประชุม System 1: การบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยอื่นที่ไม่ใช่กรณี COVID-19 © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 18. 18 การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สรุปการตอบสนองต่อสถานการณ์ COVID-19 ด้วยมุมมองเชิงระบบ กรอบแนวคิดการถอดบทเรียน COVID-19 โดย ผศ. นพ.กำธร มำลำธรรม Situational awareness © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 19. 19 ด้านการบริการสุขภาพ รพ. รามาธิบดี - ARI Clinic - จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ (War Room) รายงานสถานการณ์และการบริหารจัดการรองรับ สถานการณ์อย่างต่อเนื่อง - เตรียมการด้านผู้ป่วยนอก 1. ลด OP visit 2. แบ่งกลุ่มผู้ป่วยนอกโดยแพทย์ 3. ระบบบริการของโรงพยาบาลแบบ Telemedicine (บูรณาการร่วมกับฝ่ายเภสัชกรรรม ฝ่ายสารสนเทศ แพทย์ พยาบาลหน่วยผู้ป่วยนอก ฝ่ายการคลัง) 4. สั่งยาทางระบบ CPOE / confirm รายการยาทุกตัว / จัดส่งยาทางไปรษณีย์ การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 20. 20 ระดับแผน COVID 1 PYT → CNMI : Phase 2 ของประเทศ ระดับแผน COVID 2 CNMI IPD : Phase 3 ของประเทศ • ลด OP visit • ลด elective surgery • ลด IP-beds ➢ Monitor มาตรการ • ลด จนท. Back-office ลด Resource & ลดการระบาด • ขยาย ARI Clinic • Monitor สถานการณ์ • OPD : เตรียมขยาย ARI Clinic→ อาคาร 4 • IPD : ขยาย (4-floors)G-wing ของ CNMI • IPD : อาคาร 1 : 5th-9th floors NE wing เตรียม potential cohort/ICU • ย้ายกาลังคน ไปช่วยภาระ COVID /CNMI • เตรียม personnel-competency • เตรียมอาสาสมัคร เตรียมพื้นที่ และ กาลังคน ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 21. 21 1. สีเขียว ผู้ป่วยที่มีอาการ stable ไม่ต้องจ่ายยา/สามารถรับยารพ.ต้นสังกัดได้ - เลื่อนนัด 6 เดือนหรือมากกว่า - Refer กลับต้นสังกัดตามสิทธิ → แพทย์เขียนใบสรุปประวัติ + พยาบาลจะ scan ส่ง การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยนอกโดยแพทย์ 2. สีเหลือง ผู้ป่วยที่มีอาการ stable และสามารถตรวจ “แบบ Telemedicine/โทรศัพท์/ญาติประสงค์+โทรมาเอง” ได้ (คิดค่าบริการ Telemedicine 200 บาท (รวมค่าตรวจและค่าส่ง) 2.1 ส่งยาทางไปรษณีย์ (ยกเว้น ยาแช่เย็น ยาเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ ยาราคาสูง) 2.2 นัดมารับยา (ให้ญาติมาติดต่อรับยาที่ห้องยา ตามวันที่กาหนด) 3. สีแดง ผู้ป่วยที่ต้องมาตามนัดเพื่อติดตามอาการ ให้มาตามนัดปกติ ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 22. 22 การเตรียมการ ด้าน elective surgery / Intervention วัตถุประสงค์ • ความปลอดภัย • ลด Resource • สงวนกาลังบุคลากร ลดจานวน elective surgery / Intervention • โดยเลือกทาแต่ มะเร็ง/ เร่งด่วน • งดหัตถการทีมีความเสี่ยงต่อ จนท. ต่อการติดเชื้อ COVID • ไม่นัดคิวมาแทนรายที่งด/เลื่อน แม้กระทั่ง day-case surgery • ลดจานวนห้องผ่าตัด เช่นสลับวัน เพื่อจัด แพทย์/พยาบาล ไปเสริมจุดบริการ COVID • อาจต้อง รวบบาง OR มาที่ OR แห่งหนึ่งแห่งใด • ขอ monitor ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 24. 24 • ลด OP visit • ลด elective surgery • ลด IP-beds • ลด จนท. Back-office ลด Resource & ลดการระบาด • OPD : เตรียมขยาย ARI Clinic→ อาคาร 4 • IPD : ขยาย (4-floors)G-wing ของ CNMI • IPD : อาคาร 1 : 5th-9th floors NE wing เตรียม potential cohort/ICU • ย้ายกาลังคน ไปช่วยภาระ COVID /CNMI • เตรียม personnel-competency • เตรียมอาสาสมัคร เตรียมพื้นที่ และ กาลังคน ระดับแผน COVID : หลังสถานการณ์ระบาดของประเทศคลี่คลาย COVID SERVICE Non - COVID SERVICE • ยังคงลด OP visit • เพิ่ม elective surgery ที่จาเป็น ( รวม Day case & One day surgery) ขยายเวลา และ เพิ่มจุด preop-swab • เพิ่ม IP-beds ที่จาเป็น • เพิ่มความปลอดภัยของ ER Service ผ่อนปรนบริการ ที่ปลอดภัย • OPD : ปรับลดกาลังคนที่ ARI Clinic • IPD : ลดบริการ G-wing ที่ CNMI • IPD : เร่งรัดปรับพื้นที่ 7NW →5NW • ย้ายกาลังคนมาช่วยภาระ non-COVID • ยังคงแผนเตรียม personnel-competency • พัฒนารูปแบบ new process จาก COVID crisis • จัดเตรียม เวชภัณฑ์ และ PPE เตรียมพื้นที่ logistic และ กาลังคน กากับติดตามงานประจา ตัวอย่างแผนการดาเนินการด้านการบริการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 25. 25 ด้านการบริการสุขภาพ - จัดตั้งทีมบริหารสถานการณ์ของ CNMI - กาหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ที่ชัดเจน - สื่อสารเรื่องราวของสถานการณ์ของ COVID-19 กับบุคลากรอย่างทั่วถึงและทันต่อเหตุการณ์ - จัดสรรพื้นที่รองรับผู้ป่วย อาคารโซน G เพื่อเป็น ARI clinic และดัดแปลงห้องผู้ป่วยให้มีคุณสมบัติ เป็นห้องความดันลบ (negative pressure) - มอบหมายงานและอานาจการตัดสินใจให้กับบุคลากรในแต่ละสาขาวิชาชีพ - วางเป้าหมายความสาเร็จระยะสั้น (short term win) - สร้างนวัตกรรม (Innovation) - ผู้บริหารติดตามความก้าวหน้าของการทางานอย่างใกล้ชิด สถาบันการแพทย์ จักรีนฤบดินทร์ และโรงพยาบาล รามาธิบดีจักรี นฤบดินทร์ การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 26. 26 - หน่วยงานรับบริจาค ด้านการบริการสุขภาพ รพ. รามาธิบดี การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 27. 27 การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้านการขับเคลื่อนนโยบาย ผู้บริหารคณะฯ หลายท่านเข้าร่วมประชุมเชิงนโยบายร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลมา โดยตลอด - EOC - การเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาลต่างๆ - การประสานงานด้านการควบคุมโรค - การประชุมกับกรุงเทพมหานคร - บทบาททางวิชาการ เช่น สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 28. 28 1. การตรวจวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการไวรัส หากได้ผลเร็ว จะสามารถทาให้การระบุตัวผู้ป่วยหรือผู้ติด เชื้อ (Identify) การจาแนกหรือกักตัว (Isolate) รักษาผู้ป่วยได้เร็วขึ้นด้วย แต่ถ้าหากระยะเวลานี้ยาวนาน ออกไป เช่น ต้องใช้เวลา 3 วันจึงได้ผล ผู้ติดเชื้อเหล่านี้ก็จะสามารถแพร่เชื้อต่อไปได้อีก เพราะฉะนั้นการ ตรวจวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสจึงเป็นการแก้ไขปัญหาและตอบโจทย์ทั้งหมด การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้านการวิจัย © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 29. 29 การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้านการวิจัย 2. การถอดรหัสพันธุกรรม 3 สายพันธุ์ 3 กลุ่ม คือ A2, B1 และ B1.4 หรือ C ที่เป็น Daughter ของ B จากนั้นทางทีม Genetics ของคณะฯ ให้นาผล Lab เหล่านี้ออกมา โดยใช้ specimen ที่มีอยู่ประมาณ 500-600 ราย เพื่อนาไปบูรณาการต่อไป © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 30. 30 3. การวิจัยหาเชื้อ SARS-CoV-2 ในน้าลาย ช่วยลดการ ใช้ทรัพยากร ลดค่าใช้จ่าย และสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้ การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้านการวิจัย 4. การวิจัยสารสกัดจากขิงและกระชายขาว พบว่ามี ฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในห้อง Lab 5. การใช้ UV-C ในการฆ่าเชื้อ หากไม่มี UV-C สามารถ ใช้ความร้อน (Dry Heat) ที่ 70 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 31. 31 การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้านการวิจัย 5. แผนที่นาทางบูรณาการแก้ไขเชิงระบบของการระบาด COVID-19 โดยใช้แนวคิด Systems Dynamics © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 32. 32 ด้านการศึกษา การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 3. หลังปริญญา - ชะลอฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้าน ปีการศึกษา 2563 ตามสถานการณ์ - ปฐมนิเทศแพทย์ประจาบ้านและแพทย์ประจาบ้านต่อยอดใหม่ ปีการศึกษา 2563 แบบ Online - การจัดการเรียนการสอน / โครงการพัฒนาทักษะการทางานและการใช้ชีวิตในสังคม แบบ Online 1. ระดับปริญญา - ชั้นปีที่ 4 และ 5 Online Learning 16 สัปดาห์ และ Wards/OPD Practice 24 สัปดาห์ - ชั้นปีที่ 6 (Extern) ฝึกปฏิบัติในหอผู้ป่วยที่ไม่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ /ชะลอการฝึกอบรมใน โรงพยาบาลสมทบ 2. กิจการนักศึกษา - เตรียมความพร้อมหอพักแพทย์เพื่อรองรับบุคลากรในสถานการณ์ COVID-19 - ยกเว้นการเก็บเงินค่าบารุงหอพักนักศึกษาแพทย์ - สารวจผลกระทบของสถานการณ์ COVID-19 ต่อนักศึกษาและความช่วยเหลือที่ต้องการ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 33. 33 3. เรื่องเงิน - ลดอัตราการส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคม - พิจารณาอัตราการจ่ายเงินค่าตอบแทนพิเศษแก่บุคลากรที่มีความเสี่ยงสูง (ร่วมกับพันธกิจบริการสุขภาพ / พันธกิจการคลัง / คณะกรรมการบริหารคณะฯ) - สวัสดิการด้านการเงินกับสถาบันการเงิน (การพักชาระหนี้) ด้านทรัพยากรบุคคล ดาเนินงานภายใต้แนวคิด “บุคลากรคือหัวใจสาคัญของคณะฯ” การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 4. เสนออนุมัติการลา และแนวทางการปฏิบัติกรณีบุคลากรเดินทางไปยังกลุ่มประเทศเสี่ยง 5. การทาประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพเฉพาะโรค สาหรับการติดเชื้อ COVID-19 แก่บุคลากรและ นักศึกษา เพื่อเป็นขวัญกาลังใจ 1. ติดตามสถานะบุคลากรทั้งหมด ที่อยู่ในคณะฯ/ลาศึกษา และฝึกอบรม ณ ต่างประเทศในช่วงสถานการณ์ 2. ดาเนินการตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน กรณีห้ามออกนอกเคหสถานตาม พรก.ฉุกเฉิน 3. จัดทาประกาศคณะฯ เรื่อง WFH 4. จัดทาบัตรประจาตัวแพทย์/หนังสือรับรอง © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 34. 34 การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ตัวอย่างแผน Work from Home ของฝ่ายบริหารทุนมนุษย์ (HCM) ด้านทรัพยากรบุคคล © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 35. 35 การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ตัวอย่างแผน Work from Home ของฝ่ายบริหารทุนมนุษย์ (HCM) ด้านทรัพยากรบุคคล © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 36. 36 - สนับสนุนข้อมูลและการใช้งาน Telemedicine ผ่านระบบสารสนเทศ - งานด้าน Infrastructure / งานสนับสนุนเข้า ปฏิบัติงาน 100% ทั้ง 2 site (อาคารวิจัยและ สวัสดิการ และอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์) - งานโปรแกรมเมอร์ทางานแบบ Work From Home และส่งงานผ่าน network ด้านสารสนเทศ “เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ในฐานะผู้ดูแลระบบส่วนกลางต้องมีวิธีการ รับมืออย่างเข้มแข็งภายใต้แนวคิด ทำให้ผู้ใช้บริกำรได้รับผลกระทบน้อย ที่สุด สำมำรถให้บริกำรได้อย่ำงต่อเนื่อง และไม่ทำให้ระบบหยุดชะงัก” การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 37. 37 ตัวอย่างการนาระบบ Business Intelligence มาใช้ Monitor ข้อมูลสาคัญ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 38. 38 ตัวอย่างการนาระบบ Business Intelligence มาใช้ Monitor ข้อมูลสาคัญ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 39. 39 ด้านสารสนเทศ การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ตัวอย่างการนาระบบ Business Intelligence มาใช้ Monitor ข้อมูลสาคัญ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 40. 40 ด้านการคลัง - การเสริมสร้างสภาพคล่องและความมั่นคงทางการเงิน คณะฯ เป็นส่วนงานแรกๆ ที่ขออนุมัติกับมหาวิทยาลัยมหิดล มีการประเมินล่วงหน้าเพื่อ รองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น - รายได้ที่ลดลง - การประเมิน cash flow - การขออนุมัติเปิดวงเงินเกินบัญชีธนาคาร (Overdraft) - การสนับสนุนงานบริการรักษาพยาบาล - การสนับสนุนงาน Back Office การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 41. 41 ด้านการคลัง การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี การติดตามแนวโน้มสถานการณ์รายรับ และกระแสเงินสด (cash flow) © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 42. 42 ด้านการพัสดุ ฝ่ายการพัสดุเป็นหน่วยงานสาคัญด้านพันธกิจสนับสนุน เมื่อเกิดภาวะวิกฤติ ดังกล่าว การดาเนินการด้านการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่จาเป็นให้กับผู้ใช้งานของคณะฯ ต้องมีความพร้อมใช้ และทันกับความต้องการ กาหนดให้ฝ่ายการพัสดุเตรียมวางแผนการเพื่อรองรับสภาวะฉุกเฉินกรณีการเกิดโรคระบาดร้ายแรง โดยไม่ให้มีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงาน (Business Continuity Planning : BCP) โดยใช้การจาลองเหตุการณ์ “Scenario planning” Scenario 1 ความรุนแรงของโรคระยะ 1 การรักษาระยะห่าง เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเต็มจานวน แต่ให้เหลื่อมเวลาการทางาน Scenario 2 ความรุนแรงของโรคระยะ 2 “WORK FROM HOME” การจัดอัตรากาลังออกเป็น 2 ส่วน โดยไม่ให้พบปะกัน คือ เดินทางมาทางานและทางานที่บ้าน 60:40 ปฏิบัติงานที่สานักงาน 3 วันทาการ ปฏิบัติงานที่บ้าน 2 วันทาการ Scenario 3 ความรุนแรงของโรคระยะ 3 “WORK FROM HOME” การจัดอัตรากาลังออกเป็น 2 ส่วน คือเดินทางมาทางานและ ทางานที่บ้าน 40:60 ปฏิบัติงานที่สานักงาน 2 วันทาการ ปฏิบัติงานที่บ้าน 3 วันทางาน Scenario 4 ความรุนแรงระยะ 4 “WORK FROM HOME” ” การจัดอัตรากาลังออกเป็น 2 ส่วน คือเดินทางมาทางานและทางาน ที่บ้าน 30:70 ปฏิบัติงานที่สานักงาน 1 วันทางาน ปฏิบัติงานที่บ้าน 4 วันทาการ Scenario 5 ความรุนแรงระยะ 5 “WORK FROM HOME” เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานที่บ้าน 100 % จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสื่อสาร อย่างเดียว และการปฏิบัติงานทาในระบบสารสนเทศ การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 43. 43 ด้านกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวก การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 1. จัดทาแผน BCP เฉพาะพันธกิจกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวก 2. จัดตั้ง BCP Team 3. ระบบงานที่การดาเนินงานต่อการตอบสนองต่อสถานการณ์ - ระบบงานเครื่องมือแพทย์ - ระบบงานวิศวกรรม - ระบบงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม - ระบบงานการดูแลสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ หน่วยงาน การกากับ พื้นที่การดูแล คณะฯ บริษัท RFS จากัด RAMA หลัก และ QSMC SDMC ฝ่ายวิศวกรรมบริการ / - / - ฝ่ายกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวก / - / - งานอุปกรณ์การแพทย์ / - / - ฝ่ายวิศวกรรมบริการและระบบประกอบอาคาร - / - / ฝ่ายวิศวกรรมชีวการแพทย์ - / / / ฝ่ายบริหารจัดการด้านวิศวกรรม - / - / ฝ่ายระบบสนับสนุนโรงพยาบาล - / - / © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 44. 44 ด้านสื่อสารองค์กร การสื่อสารถือว่า เป็นหัวใจสาคัญขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารระหว่าง องค์กรกับบุคคลภายนอก หรือว่าการสื่อสารภายในองค์กรก็ตาม โดยเฉพาะใน สภาวะที่เกิดสถานการณ์พิเศษ การสื่อทั้งภายนอกและภายในองค์กร ยิ่งทวีความสาคัญมากขึ้นกว่าสถานการณ์ปกติ 1. ร่วมกับโรงเรียนพยาบาลในการดาเนินการ Call Center ให้ ความรู้ในด้าน COVID-19 แก่ผู้ป่วยและประชาชน 2. การให้กาลังใจ (motivate) /สร้างขวัญและกาลังใจให้กับทีมงาน 3. มุ่งเน้นให้เกิดการบูรณาการทั้งองค์ความรู้ และการทางานร่วมกัน 4. ทางานในแนวราบมากกว่าแนวดิ่ง เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึง ข้อมูลต่างๆได้อย่างเท่าเทียม 5. การปฏิบัติงานทดแทนกันได้เมื่อเกิดความจาเป็น 6. การเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น 7. สร้างวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมที่มีความรับผิด ชอบในภารกิจขององค์กรร่วมกัน การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สารคณบดีถึงชาวรามาธิบดี กรณีสถานการณ์ COVID-19 : คลิปวีดิโอ ณ วันที่ 13 มี.ค. 63 (ความยาว 2.56 นาที) https://intra9.rama.mahidol.ac.th/COVID-19/update-staff/13mar2020-1533 © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 45. 45 1. ศูนย์ Teleconference 2. การใช้ Webex Meeting 3. กิจกรรมวันวิสาขบูชา (Online) การถ่ายทอดสดการ แสดงพระธรรมเทศนา ผ่านช่องทางออนไลน์ทาง Facebook และ YouTube ซึ่งคณบดีเป็นประธานจัดงาน ครั้งนี้ 4. Ramathibodi Knowledge Sharing for COVID-19 Management การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการเตรียมตัว และดูแลผู้ป่วยในสถานการณ์ COVID-19 ด้านบริการวิชาการ การถอดบทเรียน: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 48. The Real BCM During COVID-19: Third Wave
  • 49. 49 ด้านสื่อสารองค์กร เมื่อมีบุคลากรติดเชื้อกลุ่มแรก และจาเป็นต้องลดการให้บริการ (8 เม.ย. 2564) © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 53. 53 ด้านรักษาพยาบาล การ monitor สัดส่วนที่ผลการตรวจเป็นบวก (positive rate) รายวัน ของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา รามาธิบดี © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 54. 54 Situational Awareness © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 55. 55 Situational Awareness © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 59. 59 ด้านสื่อสารองค์กร เมื่อบุคลากรเสียชีวิต (8 พ.ค. 2564) © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 60. 60 ด้านสื่อสารองค์กร การจัดหาวัคซีนของ Moderna ให้บุคลากร (4 ก.ค. 2564) © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 65. 65 จุดเด่นที่พบ จากการถอดบทเรียนด้าน: BCM ❖ ภาวะผู้นา - ผู้นามีการมอบนโยบายในการดาเนินงานที่ชัดเจน มีความว่องไวในการประเมินและปรับตัวตามสถานการณ์ - ผู้นามีการสื่อสารภายใต้สถานการณ์วิกฤตเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับบุคลากรภายในและภายนอก ❖ บุคลากร ทุกคนในองค์กรรู้บทบาทหน้าที่ของตัวเองทาให้สามารถผ่านสถานการณ์ที่วิกฤตไปได้ / มีกลไกสื่อสารร่วมกับ หน่วยงานภายนอกหลายๆ ด้าน ❖ ด้านการวิจัย - มีการวิจัยหลายๆ เรื่องที่พยายามทาหน้าที่เป็นปัญญาของแผ่นดิน เช่น การศึกษาเพื่อนา N95 กลับมาใช้ซ้าในช่วงขาดแคลน - การตรวจวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการไวรัส ที่รวดเร็ว เป็นศูนย์กลางในการตรวจวิเคราะห์ของประเทศในช่วงที่สาคัญ ❖ ด้านการบริการสุขภาพ - มีการนาระบบ BI เข้ามาประเมินสถานการณ์ เช่น การรักษาระยะห่าง (Social Distancing) ภายในคณะฯ - การเตรียมทรัพยากรด้านต่างๆ เพื่อรองรับผู้ป่วย COVID ❖ ด้านการคลัง - มีการวางแผนรองรับและการเสริมสร้างสภาพคล่องและความมั่นคงทางการเงิน เช่น การขออนุมัติวงเงิน OD ❖ ด้านการบริหารจัดการภาพรวม - มีระบบและช่องทางการสื่อสารในสภาวะวิกฤตที่รวดเร็ว - การรับบริจาคเป็นระบบที่มีความชัดเจน ทั่วถึง ตรวจสอบได้ © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น
  • 66. 66 โอกาสพัฒนาและข้อเสนอแนะ ➢ ทบทวนกลไกในการบริหารจัดการภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินอย่างเป็นระบบ ที่เป็นไป ในทิศทางเดียวกัน - การสื่อสารภายใน/ภายนอก ควรมีความชัดเจน น่าเชื่อถือ - กลไกการสื่อสารควรมีผู้รับผิดชอบ เพื่อสร้างความคล่องตัว รวดเร็ว - การกากับดูแลสิ่งของบริจาคมีความเป็นระบบ แต่ก็พบจุดอ่อนในบางด้านเช่นกัน ➢ แผน BCP ของคณะฯ ที่มี และที่ดาเนินการซ้อมแผนไปแล้วนั้น ไม่สามารถนามาใช้กับ สถานการณ์นี้ได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีการบริหารจัดการโดยการปรับแผนเพิ่มเติม ➢ ปรับแผน BCP ของคณะฯ ให้ครอบคลุมในทุกสถานการณ์ เพื่อรองรับหากเกิดการ แพร่ระบาดของรอบที่ 2 และสถานการณ์ที่มีความยืดเยื้อและความไม่แน่นอนสูง © เนื้อหาในสไลด์นี้เป็นข้อมูลภายในของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนอเพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น