SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
ทฤษฎีการวิเคราะหการไหลของสาร (Substance Flow Analysis: SFA หรื อ
Material Flow Analysis: MFA)

          เปนทฤษฎีก ารวิเคราะหที่ใชอธิบาย ปริมาณสารขาเขาของแตละกระบวนการ(หนวย) ยอย
และระบบรวมทั้งหมดปริมาณสารขาออกของแตละกระบวนการ(หนวย) ยอย และระบบรวมทั้งหมด
ปริมาณสารสะสม(สต็อก) ในแตละกระบวนการ(หนวย) ยอย และระบบรวมทั้งหมด
          ในการวิเคราะหการไหลของสารเบื้องตน จะแบงออกเปน 2 หลักใหญๆ คือ
             1. การวิเคราะหระบบจะเปนการเลือกขอบเขตของระบบ (System boundary) ของสาร-วัสดุ
และระยะเวลาที่สนใจ
             2. การเก็บขอมูล
          การวิเคราะหการไหลของสาร สามารถใชอธิบายถึงเสนทางผานเขา-ออก ของสารเฉพาะตัว
หนึ่งๆ (เชน ปรอท ตะกั่ว สารหนู แคดเมียม คารบอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส เปนตน) จากจุดที่สารนั้น
เริ่มตน เชน การแยกสกัดไดจากการทําเหมืองแร ผานขั้นตอนทั้งหมด ของกระบวนการผลิต นําไปใช
เปนสวนผสม หรือสวนประกอบในผลิตภัณฑสินคาและบริการตางๆ เพื่ออุปโภคบริโภค จนถึงขั้นตอน
การกําจัด รวมถึง การปลอยสารนั้นออกสูสิ่งแวดลอม ในรูปของมลพิษทางอากาศ ทางน้ํา และขยะ
ของเสีย บางทาน อาจเรียกการวิเคราะหนี้วา การทําบัญชีการไหลของสารหรือวัสดุ (ทางกายภาพ)
          สิ่งที่ไดจากการวิเคราะหการไหลของสาร คือ
             1. ปริมาณสารขาเขาของแตละกระบวนการ (หนวย) ยอย และระบบรวมทั้งหมด
             2. ปริมาณสารขาออกของแตละกระบวนการยอย (หนวย) และระบบรวมทั้งหมด
             3. ปริมาณสารสะสม (สต็อก) ในแตละกระบวนการ (หนวย) ยอย และระบบรวม ทั้งหมด
          หลักในการวิเคราะห จะใชหลักการทํา สมดุลมวลสาร (Mass balance) ซึ่งเปนหลักการพื้นฐาน
ของกฎการอนุรักษมวล วา มวลสารไมสูญหาย หรือถูกทําลายไป ถาพิจารณาระบบ (ดังแสดงในภาพ
18) ที่มีมวลสารไหลผานเขาออก สมการทั่วไป ของสมดุลมวลสาร ในแตกระบวนการ (หนวย) ยอย
และระบบรวมคือ

               สารที่สะสมในระบบ = สารที่เขาสูระบบ – สารทีออกจากระบบ
                                                           ่                              (1)


          ในการศึกษาวิเคราะหเบื้องตน เราจะสมมติวา ระบบอยูในสภาวะคงที่ (Steady state)
หมายถึง สารที่เขาและออกคงที่ไมเปลี่ยนไปตามเวลา
รูปที่ 1 ผังอยางงายแสดงการไหลของสาร (หรือวัสดุ ผลิตภัณฑ) อันเนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย

ที่มา: ดัดแปลงจาก Brunner and Rechberger, 2004
         ขั้นตอนเบื้องตนสําหรับการวิเคราะหการไหลของสาร อาจแบงไดเปน 2 สวนใหญๆ คือ การ
วิเคราะหระบบ และ การเก็บขอมูล ซึ่งสามารถแยกเปนขั้นตอนยอยๆ ไดดังนี้ (Baccini and Bader,
1996; Brunner and Rechberger, 2004; Kwonpongsagoon et al., 2007a)
            1. เลือกขอบเขตของระบบ (System boundary) สารหรือวัสดุ (Substance, Material) และ
ระยะเวลาที่สนใจจะศึกษาเก็บขอมูล
            2. ระบุผลิตภัณฑสินคา กระบวนการผลิต ขนสง แปรรูป ที่เกี่ยวของกับสารที่สนใจ
            3. เขียนแผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวางกระบวนการยอย และการไหลของสาร
            4. เก็บขอมูล เชน ปริมาณผลิตภัณฑสินคา (การผลิต ขนสง อุปโภคบริโภค)ปริมาณสินคาที่
หมดสภาพกลายเปนขยะเพื่อทิ้ง กําจัดหรือนํากลับมาใชใหม ปริมาณสารเคมีที่เปนสวนประกอบใน
ผลิตภัณฑนั้นๆ รวมถึงปริมาณมลพิษสูสิ่งแวดลอม
            5. คํานวณปริมาณการไหลของสาร ใชหลักสมดุลมวลสารที่กลาวแลวขางตน
            6. เขียนแผนภูมิเชิงปริมาณสรุปผลการวิเคราะห แสดงการไหลของสารทั้งระบบ
         ดวยหลักการและวิธีวิเคราะหการไหลของสารเบื้องตน จะทําใหไดขอมูลสนับสนุน นโยบาย
การบริหารจัดการสารเคมี ทําใหเขาใจถึงสาเหตุ ของปญหาในภาพรวม ทั้งระบบกอนการตัดสินใจ
ดําเนินการใดๆ
         เครื่องมือนี้ไดรับการคิดคนพัฒนาเพื่อใชสนับสนุนนโยบาย การจัดการสิ่งแวดลอมในประเด็น
ตางๆ ในประเทศแถบยุโรปมานาน โดยเฉพาะ สวิตเซอรแลนด ออสเตรีย เนเธอรแลนด เดนมารค และ
สวีเดน สําหรับประเทศไทย เครื่องมือชนิดนี้ ยังไมคอยเปนที่รูจัก งานวิจัยมีนอย เมื่อเทียบกับเครื่องมือ
ชนิดอื่นๆ หรือมีอยูบาง ก็เปนเพียงขั้นพื้นฐาน และยังไมมีการนําไปประยุกตใชสนับสนุนเชิงนโยบาย
อยางจริงจัง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมRonnarit Junsiri
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานHero Siamza
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdflohkako kaka
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 

Mais procurados (20)

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
G.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วนG.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วน
 
Line Balancing
Line BalancingLine Balancing
Line Balancing
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Destaque

สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนสมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนMate Soul-All
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมMate Soul-All
 
หน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุ
หน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุหน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุ
หน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุNaynui Cybernet
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Destaque (9)

สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนสมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรม
 
หน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุ
หน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุหน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุ
หน่วยที่ 5 กระบวนการผลิตวัสดุ
 
ความหนาแน่น
ความหนาแน่นความหนาแน่น
ความหนาแน่น
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 

Semelhante a ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementSani Satjachaliao
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 

Semelhante a ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร (6)

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 

Mais de Mate Soul-All

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.PptMate Soul-All
 
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจรางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจMate Soul-All
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558Mate Soul-All
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558Mate Soul-All
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานMate Soul-All
 
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยMate Soul-All
 
วิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัยวิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัยMate Soul-All
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนMate Soul-All
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาMate Soul-All
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรMate Soul-All
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวMate Soul-All
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินMate Soul-All
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการMate Soul-All
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัยMate Soul-All
 

Mais de Mate Soul-All (17)

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจรางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
 
วิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัยวิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัย
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทย
 
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดิน
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัย
 

ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร

  • 1. ทฤษฎีการวิเคราะหการไหลของสาร (Substance Flow Analysis: SFA หรื อ Material Flow Analysis: MFA) เปนทฤษฎีก ารวิเคราะหที่ใชอธิบาย ปริมาณสารขาเขาของแตละกระบวนการ(หนวย) ยอย และระบบรวมทั้งหมดปริมาณสารขาออกของแตละกระบวนการ(หนวย) ยอย และระบบรวมทั้งหมด ปริมาณสารสะสม(สต็อก) ในแตละกระบวนการ(หนวย) ยอย และระบบรวมทั้งหมด ในการวิเคราะหการไหลของสารเบื้องตน จะแบงออกเปน 2 หลักใหญๆ คือ 1. การวิเคราะหระบบจะเปนการเลือกขอบเขตของระบบ (System boundary) ของสาร-วัสดุ และระยะเวลาที่สนใจ 2. การเก็บขอมูล การวิเคราะหการไหลของสาร สามารถใชอธิบายถึงเสนทางผานเขา-ออก ของสารเฉพาะตัว หนึ่งๆ (เชน ปรอท ตะกั่ว สารหนู แคดเมียม คารบอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส เปนตน) จากจุดที่สารนั้น เริ่มตน เชน การแยกสกัดไดจากการทําเหมืองแร ผานขั้นตอนทั้งหมด ของกระบวนการผลิต นําไปใช เปนสวนผสม หรือสวนประกอบในผลิตภัณฑสินคาและบริการตางๆ เพื่ออุปโภคบริโภค จนถึงขั้นตอน การกําจัด รวมถึง การปลอยสารนั้นออกสูสิ่งแวดลอม ในรูปของมลพิษทางอากาศ ทางน้ํา และขยะ ของเสีย บางทาน อาจเรียกการวิเคราะหนี้วา การทําบัญชีการไหลของสารหรือวัสดุ (ทางกายภาพ) สิ่งที่ไดจากการวิเคราะหการไหลของสาร คือ 1. ปริมาณสารขาเขาของแตละกระบวนการ (หนวย) ยอย และระบบรวมทั้งหมด 2. ปริมาณสารขาออกของแตละกระบวนการยอย (หนวย) และระบบรวมทั้งหมด 3. ปริมาณสารสะสม (สต็อก) ในแตละกระบวนการ (หนวย) ยอย และระบบรวม ทั้งหมด หลักในการวิเคราะห จะใชหลักการทํา สมดุลมวลสาร (Mass balance) ซึ่งเปนหลักการพื้นฐาน ของกฎการอนุรักษมวล วา มวลสารไมสูญหาย หรือถูกทําลายไป ถาพิจารณาระบบ (ดังแสดงในภาพ 18) ที่มีมวลสารไหลผานเขาออก สมการทั่วไป ของสมดุลมวลสาร ในแตกระบวนการ (หนวย) ยอย และระบบรวมคือ สารที่สะสมในระบบ = สารที่เขาสูระบบ – สารทีออกจากระบบ ่ (1) ในการศึกษาวิเคราะหเบื้องตน เราจะสมมติวา ระบบอยูในสภาวะคงที่ (Steady state) หมายถึง สารที่เขาและออกคงที่ไมเปลี่ยนไปตามเวลา
  • 2. รูปที่ 1 ผังอยางงายแสดงการไหลของสาร (หรือวัสดุ ผลิตภัณฑ) อันเนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย ที่มา: ดัดแปลงจาก Brunner and Rechberger, 2004 ขั้นตอนเบื้องตนสําหรับการวิเคราะหการไหลของสาร อาจแบงไดเปน 2 สวนใหญๆ คือ การ วิเคราะหระบบ และ การเก็บขอมูล ซึ่งสามารถแยกเปนขั้นตอนยอยๆ ไดดังนี้ (Baccini and Bader, 1996; Brunner and Rechberger, 2004; Kwonpongsagoon et al., 2007a) 1. เลือกขอบเขตของระบบ (System boundary) สารหรือวัสดุ (Substance, Material) และ ระยะเวลาที่สนใจจะศึกษาเก็บขอมูล 2. ระบุผลิตภัณฑสินคา กระบวนการผลิต ขนสง แปรรูป ที่เกี่ยวของกับสารที่สนใจ 3. เขียนแผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวางกระบวนการยอย และการไหลของสาร 4. เก็บขอมูล เชน ปริมาณผลิตภัณฑสินคา (การผลิต ขนสง อุปโภคบริโภค)ปริมาณสินคาที่ หมดสภาพกลายเปนขยะเพื่อทิ้ง กําจัดหรือนํากลับมาใชใหม ปริมาณสารเคมีที่เปนสวนประกอบใน ผลิตภัณฑนั้นๆ รวมถึงปริมาณมลพิษสูสิ่งแวดลอม 5. คํานวณปริมาณการไหลของสาร ใชหลักสมดุลมวลสารที่กลาวแลวขางตน 6. เขียนแผนภูมิเชิงปริมาณสรุปผลการวิเคราะห แสดงการไหลของสารทั้งระบบ ดวยหลักการและวิธีวิเคราะหการไหลของสารเบื้องตน จะทําใหไดขอมูลสนับสนุน นโยบาย การบริหารจัดการสารเคมี ทําใหเขาใจถึงสาเหตุ ของปญหาในภาพรวม ทั้งระบบกอนการตัดสินใจ ดําเนินการใดๆ เครื่องมือนี้ไดรับการคิดคนพัฒนาเพื่อใชสนับสนุนนโยบาย การจัดการสิ่งแวดลอมในประเด็น ตางๆ ในประเทศแถบยุโรปมานาน โดยเฉพาะ สวิตเซอรแลนด ออสเตรีย เนเธอรแลนด เดนมารค และ สวีเดน สําหรับประเทศไทย เครื่องมือชนิดนี้ ยังไมคอยเปนที่รูจัก งานวิจัยมีนอย เมื่อเทียบกับเครื่องมือ ชนิดอื่นๆ หรือมีอยูบาง ก็เปนเพียงขั้นพื้นฐาน และยังไมมีการนําไปประยุกตใชสนับสนุนเชิงนโยบาย อยางจริงจัง