SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
MOOCs: การเรียนการสอนทางไกลผ่านสื่อออนไลน์
จุฑารัตน์ นกแก้ว
โลกออนไลน์เข้าไปเกี่ยวข้องกับทุกส่วนในชีวิตของคนสมัยใหม่และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้าน
ต่างๆ รวมทั้งในด้านการศึกษา การเรียนรู้เป็นไปในแบบที่ว่า “เรียนที่ไหน เวลาใด อย่างไร ก็เรียนได้ “ตาม
ความสนใจและความต้องการผ่านสื่อออนไลน์โดยเฉพาะการศึกษาออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการเรียน
การสอนออนไลน์ในรูปแบบ MOOCs ที่เป็นวิธีการเรียนการเรียนทางไกลสมัยใหม่ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านสื่อออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
MOOCs ย่อมาจาก Massive Open Online Courses หรือภาษาไทยอ่านทับศัพท์ว่า มู้กส์ หรือ มุก
ซึ่งมาจากคาต่างๆที่ประกอบกัน ดังนี้
Massive ผู้เรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 10,000 คน เป็นการเรียนแบบปวงชน ไม่จากัดจานวนผู้เรียน
Open ไม่มีค่าใช้จ่าย ใครๆก็ลงทะเบียนเรียนได้
Online เป็นการเข้าถึงรายวิชาในหลักสูตรแบบมีปฏิสัมพันธ์ในเวลาจริงโดยใช้เทคโนโลยีออนไลน์
เป็นเครื่องมือการเรียนรู้
Course เปิดสอนได้ตลอดตามเวลาที่ต้องการได้ โดยไม่จาเป็นต้องขอรับประกาศนียบัตรผล
การเรียน
จากคาต่างๆ แปลความหมายได้ว่า MOOCs เป็นรายวิชาหรือ หลักสูตร (Course) การเรียนออนไลน์
(Online) ที่ออกแบบมาเพื่อผู้เรียนจานวนมาก (Massive) อนุญาตให้ผู้เรียนเข้าถึงรายวิชาที่มีการผลิตตาม
มหาวิทยาลัยต่างๆ ตามความถนัดหรือความสนใจด้วยตนเองจากที่ใดก็ได้โดยไม่จาเป็นต้องเป็นนักศึกษาและ
ไม่มีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียน (Open)
คาว่า MOOCs เป็นคาที่ใช้ในปี 2008 โดยเป็นการพัฒนามาจากการใช้ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด
หรือ โออีอาร์ (Open Educational Resources- OER) ที่มีการพัฒนาในช่วง 2000-2007 เป็นต้นมา และโอ
อีอาร์ เป็นจุดเริ่มต้นของคาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การศึกษาระบบเปิด (Open education) ซอฟต์แวร์แบบ
เปิด (open software) หลักสูตรและเนื้อหาแบบเปิด (open courseware and content) เนื้อหาระบบ
เปิด (open content) เป็นต้น MOOCs เป็นคาที่นามาใช้ในการผลิตรายวิชาออนไลน์ระบบเปิดที่พัฒนาขึ้น
โดยนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยมิเนโซต้า (University of Minnesota) จากแคนาดา ชื่อรายวิชา”
Connectivism and Connective Knowledge “ เป็นรายวิชาที่เปิดให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนตาม
หลักสูตรของมหาวิทยาลัย และเปิดให้ผู้เรียนทั่วโลกที่สนใจสมัครเรียนได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในเวลาเดียวกัน
ต่อจากนั้น มีการผลิตรายวิชาในลักษณะนี้อีกหลายรายวิชาในสถาบันการศึกษาอื่นๆ โดยมีการให้บริการผ่าน
แพลตฟอร์ม (platform) ของผู้ให้บริการ (MOOCs provider) กว่า 40 แห่ง ผู้ให้บริการ MOOCs ที่เป็นที่
รู้จักอย่างแพร่หลาย เช่น EDx, Coursera, Udacity, Khanacademy เป็นต้น ตัวอย่าง MOOCs ในประเทศ
ไทย เช่น โครงการ Thai-MOOCs เป็นโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ที่อยู่ภายใต้โครงการใมหาวิทยาลัยไซ
เบอร์ไทย Skill Lane ที่เป็นองค์กรเอกชนที่ผลิต MOOCs เป็นต้น นอกจากนี้ ในปัจจุบันมีองค์กรการศึกษา
เพื่อสังคมที่เรียกว่า SE (Social Enterprise) เป็นองค์กรไม่แสวงกาไรที่เข้ามาดูแลจัดทาสื่อการเรียนการสอน
แบบ OER และ MOOCs เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต ถือเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนกับผู้สอน
เก่งๆ ได้เท่าเทียมกัน
2
รายวิชาแบบ MOOCs เป็นรายวิชาที่เรียนผ่านสื่อออนไลน์ทั้งที่เป็นรายวิชาเอกเทศและรายวิชาที่
เป็นรายวิชาหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา องค์ประกอบของรายวิชา MOOCs
ประกอบด้วย
1) เนื้อหาบทเรียน (lecture) ประกอบด้วย วิดีโอ ประมาณ 5-15 นาที มีอาจารย์อธิบายเนื้อหาพร้อม
ภาพหรือกราฟ/ ตาราง ที่ทาให้เข้าใจได้ง่าย และการเชื่อมโยงทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บ ที่เรียกว่า
ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด หรือ โออีอาร์ (Open Educational Resources-OER) ที่เป็นสื่อการเรียนรู้
สื่องานวิจัย ในรูปสื่อดิจิทัลที่เป็นสาธารณสมบัติ ได้รับการเผยแพร่ด้วยในอนุญาตแบบเปิดที่อนุญาตให้สามารถ
เข้าถึง ใช้งาน ดัดแปลง เปลี่ยนแปลง และเผยแพร่โดยปราศจากค่าใช้จ่าย การอนุญาตแบบเปิดนี้อยู่ภายใต้
กรอบของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้กาหนดไว้โดยอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องและความเคารพ
ต่อผู้ที่เป็นเจ้าของผลงานนั้นๆ
2) แบบฝึกหัด (assignment) เป็นคาถามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจบทเรียน บางรายวิชามีการบ้านที่ผู้เรียน
ต้องทาแบบฝึกหัด โดยใช้เวลาประมาณครึ่งชั่วโมง เมื่อส่งแบบฝึกหัด จะมีผู้เรียนคนอื่นให้คะแนน โดยผู้สอนได้
กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนไว้ล่วงหน้า
3) กระดานสนทนาหรือ ฟอรั่ม (forum) อาจมีการตั้งคาถามจากผู้เรียนโดยจะมีการโหวตคาถามที่มี
ความสาคัญอันดับต้นๆ ผู้สอนและผู้เรียนจะเข้ามาตอบคาถามเพื่อให้มีส่วนร่วมในการเรียน
4) เอกสารหนังสือรับรอง (certificate) เมื่อผ่านการทดสอบหรือเรียนจบรายวิชา
วิธีการเรียนแบบ MOOCs มีการกาหนดหัวข้อย่อยในรายวิชา มีการวัดประเมินผล มีการบ้าน มี
กิจกรรมให้ผู้เรียนได้ทางานกลุ่มรวมทั้งให้ผู้เรียนช่วยกันตรวจงาน MOOCs หลายหลักสูตรสามารถให้ผู้เรียน
นาผลการเรียนไปเทียบหลักสูตรกับสถาบันการศึกษาชื่อดังหรือให้อ้างอิงในการสมัครงานได้ การเรียนแบบ
MOOCs มีลักษณะที่เด่น 3 ประการ คือ 1) เป็นรายวิชาที่เปิดเสรีให้ผู้เรียนจานวนมากได้ (Massiveness) 2)
ใช้ระบบเปิด (Openess) แบบเสรี ซอฟต์แวร์แบบ โอเพนซอร์ส ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด และ 3) ใช้การ
เรียนรู้แบบเชื่อมโยง (Connectivism) ที่เป็นกระบวนการแบบเชื่อมโยงจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย ใช้
เครือข่ายเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเนื้อหา และตั้งอยู่บนหลักการพื้นฐานองค์ความรู้ที่เกิดจากความคิดของ
มนุษย์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง
MOOCs ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนทางไกลในระบบเปิด กล่าวคือ เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนที่สนใจสมัครเรียนรายวิชาที่ตนสนใจโดยไม่มีค่าใช้จ่ายยกเว้นรายวิชาที่ต้องการเอกสารรับรองผลการ
เรียนซึ่งอยู่ในรูปแบบต่างๆ เริ่มจากประกาศนียบัตร (achievement) ประกาศนียบัตร (certificate) และ
ปริญญาบัติ (degree) สิ่งนี้ถือเป็นหลักการของระบบเปิดที่ออกแบบรายวิชาที่สนับสนุนผู้เรียนโดยไม่จากัด
จานวน เป็นการเรียนรู้ตามความสนใจของแต่ละบุคคล และ MOOCs ยังจัดเป็นนวัตกรรมที่เป็นก้าวสาคัญ
ของการเรียนการสอนทางไกลที่เริ่มมาจากการเรียนบนฐานสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่อประสม และการเรียนผ่าน
สื่อเทคโนโลยีสารสเทศและการสื่อสาร จนมาเป็นการเรียนทางไกลออนไลน์ผ่านสื่อออนไลน์
MOOCs มีประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนทั้งในแง่ผู้เรียน ผู้สอน และสถาบันการศึกษา ในแง่
ผู้เรียน การเรียนผ่าน MOOCs เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหาความรู้ได้อย่างเสรี ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน
รายวิชาที่ตนสนใจได้ทั่วโลก เป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลางการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนมีประสบการณ์การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองซึ่งส่งผลทาให้กลายเป็น
ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตในที่สุด อีกทั้งประหยัดค่าใช้จ่ายเพราะเป็นการเรียนออนไลน์แบบเสรีผ่านเครือข่าย
3
อินเทอร์เน็ต ในแง่ผู้สอน ช่วยในการสร้างบทเรียนวิดีโอออนไลน์ การผลิตวัสดุการการสอนที่ทาให้ผู้เรียน
สนใจและมีส่วนร่วมกับการจัดทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ในแง่สถาบันการศึกษา เป็นการเสริมเติมเต็มการ
เรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีการสอนทั้งในระบบ และ
การศึกษานอกระบบ
โดยสรุป MOOCs ถือเป็นแนวคิดการจัดการศึกษาที่ตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาระบบเปิด
ที่เป็นการศึกษาที่เปิดกว้างสาหรับมวลชนของโลกอย่างแท้จริง โดยความรู้ควรมีการแบ่งปันและเป็นไปตาม
ความต้องการ ความสนใจ ไม่มีข้อจากัดในด้านเศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์ และประชากร การจัดการศึกษาแบบ
MOOCS ช่วยการลดช่องว่างทางการศึกษาและต่อยอดการเรียนรู้ผ่านสื่อการศึกษาตามสาขาวิชาที่สนใจ
สามารถนาวิชาการความรู้ปประยุกต์ใช้ในการทางานและการพัฒนางานในองค์กรซึ่งถือเป็นการเพิ่มสมรรถนะ
คนในองค์กรทั้งในด้านการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาคน การสร้างองค์ความรู้ และการสร้าง
วัฒนธรรมการมีส่วนร่วมอีกทั้งยังเป็นการเรียนที่สนับสนุนปรัชญาการศึกษาสาหรับทุกคน หรือ Education
for all อีกด้วย
เอกสารอ้างอิง
คณะกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Massive Open Online Course (MOOCs).(2015). เอกสาร
ประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Massive Open Online
Course (MOOCs). วันที่ 19 – 20 พฤษภาคม 2558 นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จีระศักดิ์ หัสดี. (ม.ป.ป.). MOOCs (Massive Open Online Course). สืบค้น 10 กันยายน 2558, จาก
http://tibcit.blogspot.com/2014/09/teek05.html

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษาsudchalerm
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์Akkarachat Chaisena
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserBoonlert Aroonpiboon
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorBoonlert Aroonpiboon
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค ItPrachyanun Nilsook
 
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1Cholticha New
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 

Mais procurados (10)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for User
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for Author
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค It
 
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
 
Introduction to e-Learning
Introduction to e-LearningIntroduction to e-Learning
Introduction to e-Learning
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 

Destaque

Actividades de comercio internacional.pptx
Actividades de comercio internacional.pptxActividades de comercio internacional.pptx
Actividades de comercio internacional.pptxeduardo pitti
 
IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...
IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...
IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...Rivaldo Guedes Corrêa. Jr
 
Hoja de vida original
Hoja de vida original  Hoja de vida original
Hoja de vida original yohana pinto
 
ir638 - Revised Ranger mine water quality objectives
ir638 - Revised Ranger mine water quality objectivesir638 - Revised Ranger mine water quality objectives
ir638 - Revised Ranger mine water quality objectivesJames Tyrrell
 
Aula 2 2--_modelo_er
Aula 2 2--_modelo_erAula 2 2--_modelo_er
Aula 2 2--_modelo_eranacri
 
Music magazine codes and conventions
Music magazine codes and conventions Music magazine codes and conventions
Music magazine codes and conventions shakeira16
 
Pharmacology ppt
Pharmacology pptPharmacology ppt
Pharmacology pptminati das
 
Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0
Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0
Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0Ana Aguilar
 

Destaque (14)

Actividades de comercio internacional.pptx
Actividades de comercio internacional.pptxActividades de comercio internacional.pptx
Actividades de comercio internacional.pptx
 
IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...
IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...
IMS – IP Multimedia Subsystem como solução de convergência para redes heterog...
 
Origen del internet
Origen del internet Origen del internet
Origen del internet
 
2017 Sandy Calendar
2017 Sandy Calendar2017 Sandy Calendar
2017 Sandy Calendar
 
Hoja de vida original
Hoja de vida original  Hoja de vida original
Hoja de vida original
 
Week 3 project
Week 3 projectWeek 3 project
Week 3 project
 
HMC Profile
HMC  ProfileHMC  Profile
HMC Profile
 
Sector primario
Sector primario Sector primario
Sector primario
 
ir638 - Revised Ranger mine water quality objectives
ir638 - Revised Ranger mine water quality objectivesir638 - Revised Ranger mine water quality objectives
ir638 - Revised Ranger mine water quality objectives
 
Aula 2 2--_modelo_er
Aula 2 2--_modelo_erAula 2 2--_modelo_er
Aula 2 2--_modelo_er
 
Nematóides
NematóidesNematóides
Nematóides
 
Music magazine codes and conventions
Music magazine codes and conventions Music magazine codes and conventions
Music magazine codes and conventions
 
Pharmacology ppt
Pharmacology pptPharmacology ppt
Pharmacology ppt
 
Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0
Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0
Monitoreo Twitter. Diputados salvadoeños 2.0
 

Semelhante a Moo cs

หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)
หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)
หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)guest082d95
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์Narathip Khrongyut
 
OER MOOCs-jantima
OER MOOCs-jantimaOER MOOCs-jantima
OER MOOCs-jantimaRMUTT
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddjaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 

Semelhante a Moo cs (20)

หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)
หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)
หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Mooc : Massive Open Online Courses)
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
OER MOOCs-jantima
OER MOOCs-jantimaOER MOOCs-jantima
OER MOOCs-jantima
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Com
ComCom
Com
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 

Moo cs

  • 1. MOOCs: การเรียนการสอนทางไกลผ่านสื่อออนไลน์ จุฑารัตน์ นกแก้ว โลกออนไลน์เข้าไปเกี่ยวข้องกับทุกส่วนในชีวิตของคนสมัยใหม่และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้าน ต่างๆ รวมทั้งในด้านการศึกษา การเรียนรู้เป็นไปในแบบที่ว่า “เรียนที่ไหน เวลาใด อย่างไร ก็เรียนได้ “ตาม ความสนใจและความต้องการผ่านสื่อออนไลน์โดยเฉพาะการศึกษาออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการเรียน การสอนออนไลน์ในรูปแบบ MOOCs ที่เป็นวิธีการเรียนการเรียนทางไกลสมัยใหม่ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านสื่อออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต MOOCs ย่อมาจาก Massive Open Online Courses หรือภาษาไทยอ่านทับศัพท์ว่า มู้กส์ หรือ มุก ซึ่งมาจากคาต่างๆที่ประกอบกัน ดังนี้ Massive ผู้เรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 10,000 คน เป็นการเรียนแบบปวงชน ไม่จากัดจานวนผู้เรียน Open ไม่มีค่าใช้จ่าย ใครๆก็ลงทะเบียนเรียนได้ Online เป็นการเข้าถึงรายวิชาในหลักสูตรแบบมีปฏิสัมพันธ์ในเวลาจริงโดยใช้เทคโนโลยีออนไลน์ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ Course เปิดสอนได้ตลอดตามเวลาที่ต้องการได้ โดยไม่จาเป็นต้องขอรับประกาศนียบัตรผล การเรียน จากคาต่างๆ แปลความหมายได้ว่า MOOCs เป็นรายวิชาหรือ หลักสูตร (Course) การเรียนออนไลน์ (Online) ที่ออกแบบมาเพื่อผู้เรียนจานวนมาก (Massive) อนุญาตให้ผู้เรียนเข้าถึงรายวิชาที่มีการผลิตตาม มหาวิทยาลัยต่างๆ ตามความถนัดหรือความสนใจด้วยตนเองจากที่ใดก็ได้โดยไม่จาเป็นต้องเป็นนักศึกษาและ ไม่มีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียน (Open) คาว่า MOOCs เป็นคาที่ใช้ในปี 2008 โดยเป็นการพัฒนามาจากการใช้ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด หรือ โออีอาร์ (Open Educational Resources- OER) ที่มีการพัฒนาในช่วง 2000-2007 เป็นต้นมา และโอ อีอาร์ เป็นจุดเริ่มต้นของคาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การศึกษาระบบเปิด (Open education) ซอฟต์แวร์แบบ เปิด (open software) หลักสูตรและเนื้อหาแบบเปิด (open courseware and content) เนื้อหาระบบ เปิด (open content) เป็นต้น MOOCs เป็นคาที่นามาใช้ในการผลิตรายวิชาออนไลน์ระบบเปิดที่พัฒนาขึ้น โดยนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยมิเนโซต้า (University of Minnesota) จากแคนาดา ชื่อรายวิชา” Connectivism and Connective Knowledge “ เป็นรายวิชาที่เปิดให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนตาม หลักสูตรของมหาวิทยาลัย และเปิดให้ผู้เรียนทั่วโลกที่สนใจสมัครเรียนได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในเวลาเดียวกัน ต่อจากนั้น มีการผลิตรายวิชาในลักษณะนี้อีกหลายรายวิชาในสถาบันการศึกษาอื่นๆ โดยมีการให้บริการผ่าน แพลตฟอร์ม (platform) ของผู้ให้บริการ (MOOCs provider) กว่า 40 แห่ง ผู้ให้บริการ MOOCs ที่เป็นที่ รู้จักอย่างแพร่หลาย เช่น EDx, Coursera, Udacity, Khanacademy เป็นต้น ตัวอย่าง MOOCs ในประเทศ ไทย เช่น โครงการ Thai-MOOCs เป็นโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ที่อยู่ภายใต้โครงการใมหาวิทยาลัยไซ เบอร์ไทย Skill Lane ที่เป็นองค์กรเอกชนที่ผลิต MOOCs เป็นต้น นอกจากนี้ ในปัจจุบันมีองค์กรการศึกษา เพื่อสังคมที่เรียกว่า SE (Social Enterprise) เป็นองค์กรไม่แสวงกาไรที่เข้ามาดูแลจัดทาสื่อการเรียนการสอน แบบ OER และ MOOCs เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต ถือเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนกับผู้สอน เก่งๆ ได้เท่าเทียมกัน
  • 2. 2 รายวิชาแบบ MOOCs เป็นรายวิชาที่เรียนผ่านสื่อออนไลน์ทั้งที่เป็นรายวิชาเอกเทศและรายวิชาที่ เป็นรายวิชาหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา องค์ประกอบของรายวิชา MOOCs ประกอบด้วย 1) เนื้อหาบทเรียน (lecture) ประกอบด้วย วิดีโอ ประมาณ 5-15 นาที มีอาจารย์อธิบายเนื้อหาพร้อม ภาพหรือกราฟ/ ตาราง ที่ทาให้เข้าใจได้ง่าย และการเชื่อมโยงทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บ ที่เรียกว่า ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด หรือ โออีอาร์ (Open Educational Resources-OER) ที่เป็นสื่อการเรียนรู้ สื่องานวิจัย ในรูปสื่อดิจิทัลที่เป็นสาธารณสมบัติ ได้รับการเผยแพร่ด้วยในอนุญาตแบบเปิดที่อนุญาตให้สามารถ เข้าถึง ใช้งาน ดัดแปลง เปลี่ยนแปลง และเผยแพร่โดยปราศจากค่าใช้จ่าย การอนุญาตแบบเปิดนี้อยู่ภายใต้ กรอบของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้กาหนดไว้โดยอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องและความเคารพ ต่อผู้ที่เป็นเจ้าของผลงานนั้นๆ 2) แบบฝึกหัด (assignment) เป็นคาถามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจบทเรียน บางรายวิชามีการบ้านที่ผู้เรียน ต้องทาแบบฝึกหัด โดยใช้เวลาประมาณครึ่งชั่วโมง เมื่อส่งแบบฝึกหัด จะมีผู้เรียนคนอื่นให้คะแนน โดยผู้สอนได้ กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนไว้ล่วงหน้า 3) กระดานสนทนาหรือ ฟอรั่ม (forum) อาจมีการตั้งคาถามจากผู้เรียนโดยจะมีการโหวตคาถามที่มี ความสาคัญอันดับต้นๆ ผู้สอนและผู้เรียนจะเข้ามาตอบคาถามเพื่อให้มีส่วนร่วมในการเรียน 4) เอกสารหนังสือรับรอง (certificate) เมื่อผ่านการทดสอบหรือเรียนจบรายวิชา วิธีการเรียนแบบ MOOCs มีการกาหนดหัวข้อย่อยในรายวิชา มีการวัดประเมินผล มีการบ้าน มี กิจกรรมให้ผู้เรียนได้ทางานกลุ่มรวมทั้งให้ผู้เรียนช่วยกันตรวจงาน MOOCs หลายหลักสูตรสามารถให้ผู้เรียน นาผลการเรียนไปเทียบหลักสูตรกับสถาบันการศึกษาชื่อดังหรือให้อ้างอิงในการสมัครงานได้ การเรียนแบบ MOOCs มีลักษณะที่เด่น 3 ประการ คือ 1) เป็นรายวิชาที่เปิดเสรีให้ผู้เรียนจานวนมากได้ (Massiveness) 2) ใช้ระบบเปิด (Openess) แบบเสรี ซอฟต์แวร์แบบ โอเพนซอร์ส ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด และ 3) ใช้การ เรียนรู้แบบเชื่อมโยง (Connectivism) ที่เป็นกระบวนการแบบเชื่อมโยงจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย ใช้ เครือข่ายเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเนื้อหา และตั้งอยู่บนหลักการพื้นฐานองค์ความรู้ที่เกิดจากความคิดของ มนุษย์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง MOOCs ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนทางไกลในระบบเปิด กล่าวคือ เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนที่สนใจสมัครเรียนรายวิชาที่ตนสนใจโดยไม่มีค่าใช้จ่ายยกเว้นรายวิชาที่ต้องการเอกสารรับรองผลการ เรียนซึ่งอยู่ในรูปแบบต่างๆ เริ่มจากประกาศนียบัตร (achievement) ประกาศนียบัตร (certificate) และ ปริญญาบัติ (degree) สิ่งนี้ถือเป็นหลักการของระบบเปิดที่ออกแบบรายวิชาที่สนับสนุนผู้เรียนโดยไม่จากัด จานวน เป็นการเรียนรู้ตามความสนใจของแต่ละบุคคล และ MOOCs ยังจัดเป็นนวัตกรรมที่เป็นก้าวสาคัญ ของการเรียนการสอนทางไกลที่เริ่มมาจากการเรียนบนฐานสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่อประสม และการเรียนผ่าน สื่อเทคโนโลยีสารสเทศและการสื่อสาร จนมาเป็นการเรียนทางไกลออนไลน์ผ่านสื่อออนไลน์ MOOCs มีประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนทั้งในแง่ผู้เรียน ผู้สอน และสถาบันการศึกษา ในแง่ ผู้เรียน การเรียนผ่าน MOOCs เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหาความรู้ได้อย่างเสรี ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน รายวิชาที่ตนสนใจได้ทั่วโลก เป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนมีประสบการณ์การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองซึ่งส่งผลทาให้กลายเป็น ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตในที่สุด อีกทั้งประหยัดค่าใช้จ่ายเพราะเป็นการเรียนออนไลน์แบบเสรีผ่านเครือข่าย
  • 3. 3 อินเทอร์เน็ต ในแง่ผู้สอน ช่วยในการสร้างบทเรียนวิดีโอออนไลน์ การผลิตวัสดุการการสอนที่ทาให้ผู้เรียน สนใจและมีส่วนร่วมกับการจัดทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ในแง่สถาบันการศึกษา เป็นการเสริมเติมเต็มการ เรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีการสอนทั้งในระบบ และ การศึกษานอกระบบ โดยสรุป MOOCs ถือเป็นแนวคิดการจัดการศึกษาที่ตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาระบบเปิด ที่เป็นการศึกษาที่เปิดกว้างสาหรับมวลชนของโลกอย่างแท้จริง โดยความรู้ควรมีการแบ่งปันและเป็นไปตาม ความต้องการ ความสนใจ ไม่มีข้อจากัดในด้านเศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์ และประชากร การจัดการศึกษาแบบ MOOCS ช่วยการลดช่องว่างทางการศึกษาและต่อยอดการเรียนรู้ผ่านสื่อการศึกษาตามสาขาวิชาที่สนใจ สามารถนาวิชาการความรู้ปประยุกต์ใช้ในการทางานและการพัฒนางานในองค์กรซึ่งถือเป็นการเพิ่มสมรรถนะ คนในองค์กรทั้งในด้านการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาคน การสร้างองค์ความรู้ และการสร้าง วัฒนธรรมการมีส่วนร่วมอีกทั้งยังเป็นการเรียนที่สนับสนุนปรัชญาการศึกษาสาหรับทุกคน หรือ Education for all อีกด้วย เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Massive Open Online Course (MOOCs).(2015). เอกสาร ประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Massive Open Online Course (MOOCs). วันที่ 19 – 20 พฤษภาคม 2558 นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. จีระศักดิ์ หัสดี. (ม.ป.ป.). MOOCs (Massive Open Online Course). สืบค้น 10 กันยายน 2558, จาก http://tibcit.blogspot.com/2014/09/teek05.html