SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
บทที่ 3
ประเทศที่พัฒนาและประเทศกำาลังพัฒนา

          ประเทศกำำลังพัฒนำมีเป้ำหมำยที่สำำคัญคือกำรพัฒนำ
ประเทศให้เจริญทัดเทียมประเทศที่พัฒนำแล้วในด้ำนเศรษฐกิจ
กำรเมืองและสังคม สำำหรับในประเทศที่พัฒนำแล้วนั้นกำรบริหำร
ของระบบรำชกำรจะมีประสิทธิภำพและประสิทธิผลในกำรทำำงำน
แต่ในประเทศที่กำำลังพัฒนำนั้นตรงข้ำม ต้องประสบปัญหำต่ำง ๆ
ในกำรบริหำรอย่ำงมำกมำย 1
          กำรศึกษำประเด็นที่เกี่ยวข้องในกำรบริหำรประทศต้อง
ทรำบถึงลักษณะของประเทศทั้งสำมแบบ คือ ประเทศที่พัฒนำ
แล้ว ประเทศกำำลังพัฒนำ และประเทศด้อยพัฒนำ ว่ำประเทศ
ทั้งสำมแบบนั้นมีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงไร

ลักษณะของประเทศที่พัฒนาแล้ว

             ด้านเศรษฐกิจ
             ประเทศที่พัฒนำแล้วจะมีควำมเจริญทำงด้ำน
อุตสำหกรรม มีควำมมั่นคงทำงด้ำนเศรษฐกิจ กำรเศรษฐกิจไม่
ขึ้นอยู่กันสินค้ำบำงสิ่งบำงอย่ำง ประชำชนมีควำมเป็นอยู่ดี มีคน
ชั้นกลำงจำำนวนมำก กำรว่ำงงำนมีน้อยหรือแทบจะไมมี รัฐ
สำมำรถให้บริกำรแต่โดยเฉพำะทำงด้ำนกำรสงเครำะห์คนชรำเป็น
อย่ำงดี ในทำงตรงกันข้ำมกับประเทศทีกำำลังพัฒนำ2 ตัวอย่ำง
                                       ่
เช่นในประเทศญี่ปุ่น ได้เลื่อนชั้นไปเป็นประเทศที่พัฒนำแล้ว
เคียงข้ำงชำติมหำอำำนำจต่ำงๆ3 เพรำะประชำกรที่มีคุณภำพ มี
กำรศึกษำ กำรว่ำงงำนน้อย อีกทังรัฐบำลให้กำรดูแลผู้สูงอำยุ
                                  ้
ทำำให้กลุ่มผู้ใช้แรงงำนสำมำรถทำำงำนได้อย่ำงเต็มที่

                 ด้านสังคม

1
    กวี รักษ์ชน และคณะ.กำรบริหำรกำรพัฒนำ Ps 328.
2
    กวี รักษ์ชน อ้ำงแล้ว.หน้ำ 48.
3
  ข้อมูลด้ำนเศรษฐศำสตร์ http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx?
zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค.2551)
ประเทศที่พัฒนำแล้วบริกำรของรัฐที่ให้คนในสังคมจะ
มีเป็นจำำนวนมำกและส่วนใหญ่จะได้รับทั่วถึง บริกำรของรัฐที่
สำำคัญก็คือกำรให้กำรศึกษำโดยทั่วถึง ทำำให้ประชำชนมีควำมรู้
ควำมเข้ำใจดีเกี่ยวกับสังคม และสำมำรถมีงำนทำำได้ จำำนวน
แพทย์ที่มีต่อประชำกรคิดเป็นอัตรำส่วนแล้วค่อนข้ำงมำก กำรว่ำง
งำนมีน้อย แม้จะมีกำรว่ำงงำนก็จะมีโครงกำรประกันสังคมให้
ควำมช่อยเหลืออยู4 ่

           ด้านการเมือง
           ประเทศที่พัฒนำแล้ว กำรเมืองจะมีเสถียรภำพและ
ควำมมันคง กำรเปลียนแปลงทำงกำรเมืองเป็นไปตำมกติกำทีได้
       ่           ่                                  ่
วำงไว้ ในประเทศที่เป็นประชำธิปไตยประชำชนมีสิทธิเข้ำควบคุม
นโยบำยและกำรทำำงำนของรัฐบำลโดยผ่ำนทำงผู้แทนรำษฎร ดัง
นั้นกำรบริหำรงำนของรัฐจึงตอบสนองตอบต่อควำมต้องกำรของ
ประชำชนโดยส่วนรวม5

ลักษณะของประเทศที่กำาลังพัฒนา
           ประเทศที่กำำลังพัฒนำ นั้น หมำยถึงประเทศทีมี     ่
มำตรฐำนกำรดำำรงชีวิตค่อนข้ำงตำ่ำ พื้นฐำนอุตสำหกรรมยังไม่
พัฒนำ และมีดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์ (Human Development
Index) อยู่ในระดับตำ่ำ คำำนี้มีแนวโน้มที่จะถูกแทนใช้ที่คำำอื่น ๆ ที่
เคยใช้ก่อนหน้ำ ซึงรวมถึงคำำว่ำ "ประเทศโลกที่สำม"6 ซึ่งเกิดขึ้น
                  ่
ในยุคสงครำมเย็น  7



                 ด้านเศรษฐกิจ

4
    กวี รักษ์ชน ,อ้ำงแล้ว หน้ำ 48.
5
    กวี รักษ์ชน ,อ้ำงแล้ว หน้ำ 48.
6
    วิกิพีเดีย สำรำนุกรมเสรี 28/7/2551.
7
   สงครามเย็น (Cold War) (พ.ศ. 2490-2534 หรือ ค.ศ. 1947-1991) เป็นกำรต่อสู้กัน
ระหว่ำงกลุ่มประเทศ 2 กลุ่ม ที่มีอุดมกำรณ์ทำงกำรเมืองและระบบกำรเมืองต่ำงกัน พัฒนำขึ้น
หลังสงครำมโลกครั้งที่สอง มุมหนึ่งคือสหภำพโซเวียต เรียกว่ำ โลกตะวันออก (Eastern bloc)
อีกมุมหนึ่ง คือ สหรัฐอเมริกำและกลุ่มพันธมิตร เรียกว่ำ โลกตะวันตก (Western bloc).สงครำม
เย็นเป็นภำวะอย่ำงหนึ่งที่ประเทศมหำอำำนำจทั้ง 2 ฝ่ำยต่ำงเเข่งขันกันโดยพยำยำมสร้ำงเเสนยำ
นุภำพทำงกำรทหำรของตนไว้ข่มขู่ฝ่ำยตรงข้ำมโดยประเทศมหำอำำนำจจะไม่ทำำสงครำมกันโดย
ตรงเเต่จะสนับสนุนให้ประเทศพันธมิตรของตนเข้ำทำำสงครำมเเทน หรือที่เรียนอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ
สงครำมตัวแทน(Proxy War) เหตุที่เรียก สงครำมเย็น เนื่องจำกเป็นกำรต่อสู้กันระหว่ำง
มหำอำำนำจ โดยใช้จิตวิทยำ ไม่ได้นำำพำไปสู่กำรต่อสู้ด้วยกำำลังทหำรโดยตรงอย่ำง สงครำม
ร้อน.(วิกิพีเดีย)
ประเทศกำำลังพัฒนำนั้นเศรษฐกิจของประเทศส่วน
ใหญ่ขึ้นอยู่กับกำรเกษตร ผลผลิตทำงกำรเกษตรที่สำำคัญต่อ
เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภำวะทำงธรรมชำติ 8 เช่น กำร
ปลูกข้ำวโพด ซึงใช้เป็นส่วนผสมของอำหำรสัตว์ของชำวบ้ำนใน
                 ่
จังหวัดนครรำชสีมำ ต้องรอฟ้ำรอฝน หำกโชคร้ำยฝนไม่ตกต้อง
ตำมฤดู หรือตกน้อย อำจทำำให้เกษตรกรจำำต้องกูหนี้ยืมสินมำ
ลงทุน เป็นต้น

                ลักษณะของประเทศที่กำำลังพัฒนำอำจจำำแนกได้ดังนี้

                1.   ประชำชนส่วนใหญ่ประกอบอำชีพเกษตรกรรม
                     ผลผลิตเน้นด้ำนธัญพืชและวัตถุดิบมำกกว่ำเลียง
                                                              ้
                     สัตว์
                2.   อำชีพหลักของประเทศคือกำรผลิตขั้นต้น ได้แก่
                     กำรเกษตรกรรม ป่ำไม้ เหมืองแร่
                3.   สินค้ำออกของประเทศเป็นอำหำรและวัตถุดิบ
                4.   มูลค่ำและปริมำณกำรค้ำระหว่ำงประเทศมีน้อย
                     ประสบปัญหำด้ำนกำรตลำด
                5.   ประชำชนมีรำยได้เฉลี่ยต่อบุคคลในเกณฑ์ตำ่ำ
                     ยำกจน มีกำรออมและสะสมทุนน้อย
                6.   มีกำรว่ำงงำนแฝงหรือทำำงำนไม่เต็มควำมสำมำรถ
                     เป็นจำำนวนมำก

           แม้ว่ำจะเน้นในภำคกำรเกษตร แต่ตัวเกษตรกรใน
ประเทศที่กำำลังพัฒนำนอกจำกมีกำรกำรถือครองที่ดินขนำดเล็ก
ในแง่ของกำรนำำเทคนิคต่ำงๆ มำใช้เพิ่มผลผลิตยังตำ่ำซึ่งเป็น
สำเหตุหนึ่งที่ทำำให้ได้ผลผลิตน้อยและทำำให้เกษตรกรต้องกู้หนี้
ยืมสินทำำให้ยุคหนึ่ง รัฐบำลต้องหำมำตรกำรตรวจสอบหนี้ของ
ประชำชน โดยเปิดโอกำสให้ประชำชนมำลงทะเบียนคนจน แจ้ง
ภำวะกำรเป็นหนี้ซึ่งพบว่ำประชำชนส่วนใหญ่เป็นหนี้ทงในระบบ
                                                 ั้
และนอกระบบ

           อีกทั้งรัฐบำลเองไม่จริงใจในกำรแก้ปัญหำ โดย
เฉพำะในภำคกำรขนส่งกำรคมนำคมขนส่งผลผลิตไม่สะดวก ยก
ตัวอย่ำงเช่น ในจังหวัดจันทบุรี และตรำด มีกำรปลูกผลไม้ เงำะ

8
    กวี รักษ์ชน และคณะ อ้ำงแล้ว หน้ำ 48.
ทุเรียน จำำนวนมำก ชำวสวนจะขำยผลผลิตได้ก็จำกกำรขนส่ง
ทำงรถยนต์ทำงเดียวเท่ำนั้นไม่มรถไฟเหมือนในภำคเหนือ หรือ
                                  ี
ภำคใต้ ดังนั้นเมื่อรำคำนำ้ำมันพุ่งสูงจึงเกิดปัญหำในกำรระบำย
ผลผลิตดังกล่ำว นอกจำกนี้ในภำคตะวันออกซึ่งเป็นแหล่งผลไม้
ทีใหญ่ที่สุดของประเทศแต่กลับไม่มีตลำดสำำหรับรองรับผลผลิต
  ่
เหล่ำนั้นทำำให้เกิดปัญหำผลผลิตเสียหำย เกษตรกรยำกจน และ
กำรเรียกร้องให้รัฐบำลช่วยด้วยกำรปิดถนนประท้วง เป็นต้น

               ด้านสังคม

             ประเทศที่กำำลังพัฒนำนั้นกำรบริกำรของรัฐที่ให้แก่
ประชำชนจะมีไม่มำกและไม่ค่อยกระจำยไปยังประชำชนทุกส่วน
ในประเทศ 9 มีอัตรำกำรเพิ่มของประชำกรอยู่ในเกณฑ์สูง
อำยุขัยเฉลียของประชำกรค่อนข้ำงตำ่ำ อีกทั้งกำรบริกำรด้ำนกำร
           ่
อนำมัยและสำธำรณสุขไม่ทั่วถึง เป็นเพรำะจำำนวนแพทย์ในชนบท
มีน้อย จำำนำำไปสู่ปัญหำด้ำนทุพโภชนำกำร

            นอกจำกที่กล่ำวมำแล้วลักษณะของประเทศกำำลัง
พัฒนำยังสำมำรถนำำเอำในของด้ำนวัฒนธรรม มำพิจำรณำร่วม
ด้วย คือ ประชำชนส่วนใหญ่ยึดถือวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม
ชนชั้นกลำงมีจำำนวนน้อยเพรำะมีคนยำกจนจำำนวนมำก อีกทั้ง
ระดับกำรศึกษำของประชำชนอยู่ในเกณฑ์ตำ่ำ ในบำงสังคมฐำนะ
ทำงสังคมของสตรีค่อนข้ำงตำ่ำ ยังมีกำรลักลอบใช้แรงงำนเด็กมี
อัตรำสูง และถูกเอำเปรียบค่ำจ้ำงแรงงำน อันเนื่องมำจำก
ประชำชนมีกำรศึกษำตำ่ำ ทำำให้ขำดกำรต่อรอง อีกทั้งวัฒนธรรม
แบบชำวพุทธที่เน้นในเรื่องควำมกตัญญูต่อผู้ที่มีบุญคุณ แม้บำง
ครั้งจะถูกเอำรัดเอำเปรียบแต่ก็ถือว่ำ นำยจ้ำงคือผู้ที่มบุญคุณ
                                                      ี
เป็นต้น

           ส่วนในด้ำนของเทคโนโลยี ประชำชนในประเทศ
กำำลังพัฒนำ ควำมเจริญด้ำนเทคโนโลยีอยูในระดับตำ่ำ มีกำร
                                        ่
พัฒนำค่อนข้ำงช้ำและล้ำหลัง ขณะที่กำรคมนำคมขนส่งและกำร
สื่อสำรไม่ทันสมัยและไม่เพียงพอ อีกทั้งผลผลิตโดยทั่วไปอยู่ใน
เกณฑ์ตำ่ำ เพรำะขำดกำรนำำวิทยำกำรสมัยเพรำะประชำชนส่วน


9
    กวี รักษ์ชน และคณะ อ้ำงแล้ว
ใหญ่ยึดถือประเพณีดั้งเดิม ทังฐำนะยำกจน ขำดควำมรู้ จึงต้อง
                            ้
ก้มหน้ำรับกรรม

             ด้านการเมือง
             ประเทศกำำลังพัฒนำประสบกับปัญหำควำมมี
เสถียรภำพของรัฐบำล แม้วำอุดมกำรณ์โดยส่วนใหญ่ของประเทศ
                             ่
กำำลังพัฒนำ ต้องกำรกำรปกครองแบบประชำธิปไตย แต่กำร
ปกครองแบบประชำธิปไตยก็ลมลุกคลุกคลำนตลอดเวลำ
                                   ้
เนื่องจำกกำรปฏิวัติรัฐประหำรของทหำรที่ต้องกำรเข้ำมำมีบทบำท
ในทำงกำรเมือง ดังนั้นเสรีภำพและควำมเสมอภำคของประชำชน
จึงอยู่ในขอบเขตทีจำำกัด10 กำรพัฒนำเศรษฐกิจ สังคม และ
                    ่
กำรเมือง เป็นกระบวนกำรทีมีควำมจำำเป็นและมีควำมสำำคัญมำก
                               ่
กับทุกๆ ประเทศในโลก ไม่วำประเทศนั้นจะมีระดับของกำรพัฒนำ
                                 ่
อยู่ในระดับใดก็ตำม (สูง ปำนกลำง หรือตำ่ำ) สำำหรับประเทศไทย
ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนำในระดับ ปำนกลำง (ประเทศ
กำำลังพัฒนำ) ก็เช่นเดียวกันยังจำำเป็นต้องปรับสภำพของ
เศรษฐกิจและสังคมเพื่อยกระดับมำตรฐำนกำรครองชีพให้
ประชำชนมีควำมเป็นอยูที่ดีขึ้น
                        ่
             ในภูมิภำคเอเชียมีหลำยประเทศที่เคยเป็นประเทศที่
กำำลังพัฒนำ แต่ก็ได้พยำยำมพัฒนำศักยภำพพลเมืองของ
ประเทศเพื่อเปลี่ยนสถำนะไปเป็นประเทศพัฒนำแล้ว โดยมีชื่อ
เรียกว่ำ NIC (New Industry Country ) ซึ่งขั้นตอนที่พัฒนำมำ
ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นประเทศที่พฒนำแล้ว หรือ developed
                                     ั
country ประเทศที่ขึ้นเป็น NIC จะต้องมีลักษณะดังนี้

                  1. ประชำชนมีสิทธิเสรีภำพเพิ่มขึ้น
          2. เศรษฐกิจเปลี่ยนจำกกำรเกษตรกรรมเป็นหลักมำ
เป็นอุตสำหกรรมเป็นหลักโดยเฉพำะอุตสำหกรรมกำรผลิต
                  3. มีตลำดเสรีเปิดกำรค้ำกับนำนำชำติ
                  4. มีองค์กรของชำติตนเอง ทำำกำรอยู่ใน
หลำยชำติ
                  5. มีกำรลงทุนจำกต่ำงชำติสูง
                  6. เป็นผู้นำำทำงกำรเมืองในกลุ่มประเทศข้ำง
เคียง

10
     กวี รักษ์ชน และคณะ
ปี 2532-2535 กระแสโลกำภิวัฒน์ ได้สร้ำงควำมตื่นเต้น
ยินดีกับปัญญำชนชนชั้นกลำง พร้อมๆกับนโยบำยของรัฐบำลที่
ต้องกำรพัฒนำประเทศไปสู่ชำติที่พัฒนำแล้ว พล.อ.ชำติชำย ชุน
หวัน ได้ประกำศนโยบำย “เปลียนสนำมรบเป็นสนำมกำรค้ำ” สร้ำง
                               ่
ควำมตื่นตัวในกลุ่มนักธุรกิจอย่ำงกระตือรือร้น และบรรยำกำศเต็ม
ไปด้วยกำรถกเถียงถึงแนวทำงพัฒนำประเทศ ว่ำจะก้ำวสู่กำรเป็น
ประเทศอุตสำหกรรมใหม่ NICs (New industrial country)11 หรือ
ประเทศเกษตรกรรมใหม่NACs (New agricultural countries12)
หรือเรียกสั้นๆว่ำแน็คส์ คือ กำรก้ำวสู่กำรเป็นเสือตัวที่ 5 แห่ง
เอเชีย ซึ่ง New agricultural countries-NACs เน้นที่ประเทศไทย
เป็นพิเศษ
             สำำหรับประเทศที่เคยเป็น NIC ได้แก่เกำหลีใต้ ไต้หวัน
สิงคโปร์ ฮ่องกง ปัจจุบัน 13 นอกจำก ประเทศที่เป็น NIC ดังที่
กล่ำวแล้ว

ดัชนี้ชี้วดการบริหารและการพัฒนาของประเทศ
          ั
            ควำมแตกต่ำงของประเทศพัฒนำแล้ว ประเทศกำำลัง
พัฒนำ และประเทศด้อยพัฒนำ ได้ถูกกำำหนดโดย องค์กำร
สหประชำชำติ โดยได้กำำหนดดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์ของ
สหประชำชำติ(The UN Human Development Index - HDI)
เป็นดัชนีกำรวัดและเปรียบเทียบควำมยำกจน กำรรู้หนังสือ กำร
ศึกษำ อำยุขัย กำรคลอดบุตร และปัจจัยอื่น ๆ ของประเทศต่ำง ๆ
ทัวโลก เป็นวิธีกำรวัดควำมอยู่ดีกินดีตำมมำตรฐำน โดยเฉพำะ
  ่
อย่ำงยิ่งในเด็กและเยำวชน หลำยคนใช้ดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์ของ
สหประชำชำตินี้ในกำรระบุว่ำประเทศใดประเทศหนึ่งจัดอยู่ในกลุ่ม
ประเทศที่พัฒนำแล้ว ประเทศที่กำำลังพัฒนำ หรือประเทศด้อย
พัฒนำ ดัชนีดังกล่ำวได้พัฒนำขึ้นมำในปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ.
2533) โดยนักเศรษฐศำสตร์ชำวปำกีสถำนชื่อ มำฮฺบับ อุลฮำค
และองค์กำรสหประชำชำติได้ในดัชนีดังกล่ำวมำใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ.
1993 (พ.ศ. 2536) เป็นต้นมำ

11
 สังเขปเหตุการณ์ประวัติศาสตร์แห่งอนาคต http://www.visitsurin.com/index.php?
mo=3&art=12622    (28 ก.ค. 2551)
12
   “NACs” http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9735.html    (28
ก.ค. 2551)
13
  ลักษณะของประเทศที่พัฒนำแล้ว http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx?
zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค. 2551)
ดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์วัดควำมสำำเร็จโดยเฉลี่ยของ
แต่ละประเทศในกำรพัฒนำมนุษย์สำมด้ำนหลัก ๆ ได้แก่
            - กำรมีชีวิตที่ยืนยำวและมีสุขภำพดี ซึ่งวัดได้จำก
                อำยุขัย
            - ควำมรู้ ซึ่งวัดได้จำกกำรรู้หนังสือ (มีนำ้ำหนักเป็น
                สองในสำมส่วน) และอัตรำส่วนกำรเข้ำเรียนสุทธิที่
                รวมกันทั้งระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษำ (มีนำ้ำ
                หนักเป็นหนึ่งในสำมส่วน)
            - มำตรฐำนคุณภำพชีวิต ซึ่งวัดได้จำกผลิตภัณฑ์มวล
                รวมภำยในประเทศ (Gross Domestic Product -
                GDP) ต่อหัวและควำมเท่ำเทียมกันของอำำนำจซื้อ
                (purchasing power parity - PPP) ในแต่ละปี รัฐ
                สมำชิกองค์กำรสหประชำชำติจะถูกจัดอันดับตำม
                ดัชนีนี้ ประเทศทีได้รับกำรจัดอยู่ในอันดับต้น ๆ มัก
                                 ่
                จะโฆษณำผลกำรจัดอันดับดังกล่ำว (เช่น กรณีของ
                นำยฌอง เครเตียง อดีตนำยกรัฐมนตรีของ
                แคนำดำ) เพื่อที่จะดึงดูดให้บุคลำกรที่มีควำม
                สำมำรถอพยพเข้ำมำในประเทศของตนมำกขึ้น (
                เพื่อเป็นทรัพยำกรมนุษย์ในทำงเศรษฐกิจ) หรือเพื่อ
                ที่จะลดแรงจูงใจในกำรอพยพย้ำยออก อย่ำงไรก็ดี
                องค์กำรสหประชำชำติยงมีวิธีกำรวัดควำมยำกจนใน
                                        ั
                แต่ละประเทศอีกด้วย โดยกำรใช้ดัชนีควำมยำกจน
                มนุษย์ (Human Poverty Index)14
            กำรกำำหนดดัชนี้ชี้วัดดังกล่ำวนี้ ธนำคำรโลก (World
Bank) หรือ ธนำคำรเพื่อกำรบูรณะและพัฒนำระหว่ำงประเทศ
(International Bank for Reconstruction and Development,
IBRD) เป็นองค์กรระหว่ำงประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมำหลัง
สงครำมโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศมหำอำำนำจในอเมริกำเหนือและ
ยุโรป มีจุดมุ่งหมำยเพื่อช่วยให้ประเทศสมำชิกได้ทำำกำรฟืนฟู   ้
ประเทศหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 โดยมุ่งเน้นกำรลงทุนเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภำพกำรผลิตและเร่งรัดกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ
เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์กำรสหประชำชำติ(United
Nation) ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือประเทศสมำชิกที่ได้รับควำมเสียหำย

14
     เรือง ประเทศที่กำาลังพัฒนา http://th.wikipedia.org/wiki . 28 ก.ค.2551
        ่
จำกสงครำมโลกครั้งที่ ٢ โดยให้สมำชิกกู้ยืมไปเพื่อบูรณะ
ซ่อมแซมและพัฒนำประเทศ ต่อมำได้ขยำยขอบเขตของกำร
บริกำรออกไปเป็นกำรสนับสนุนกำรลงทุนเพื่อกำรพัฒนำและเพิ่ม
ผลผลิตในประเทศที่กำำลังพัฒนำ เพื่อยกระดับชีวิตและควำมเป็น
อยู่ของประชำชนในประเทศสมำชิก ตำมลักษณะกิจกำรที่จะ
ลงทุนและตำมควำมจำำเป็นและยังช่วยเหลือสมำชิกด้วยกำรให้
บริกำรด้ำนควำมรู้และคำำแนะนำำเกี่ยวกับกำรวำงแผนกำรลงทุน
และบริหำรกำรเงิน

             เมื่อทรำบถึงลักษณะของประเทศต่ำง ๆ รวมถึงที่มำ
ของกำรกำำหนดรูปแบบของประเทศพัฒนำแล้ว ประเทศกำำลัง
พัฒนำ และประเทศด้อยพัฒนำแล้ว แต่กำรริเริ่มต่ำง ๆที่จะผลัก
ดันให้แต่ละประเทศเปลียนแปลงฐำนะของตนเองได้นั้นจะต้องไม่
                         ่
ลืมวิถีชีวิตดั้งเดิมของประชำชน และประเทศชำติ ด้วยจะทำำให้
กำรกำำหนดแผน หรือ โครงกำรต่ำง ๆ ได้รับควำมร่วมมือจำก
ประชำชนในประเทศอย่ำงแท้จริง

                          เอกสารอ้างอิง

กวี รักษ์ชน และคณะ.การบริหารการพัฒนา Ps 328. พิมพ์
           ครั้งที่ ٩.กรุงเทพฯ: สำำนักพิมพ์มหำวิทยำลัย
           รำมคำำแหง,٢٥٣٩.

ฐานข้อมูลออนไลน์

ประเทศที่กำาลังพัฒนา เข้ำถึงได้จำก
         http://th.wikipedia.org/wiki . (28 ก.ค.2551)
สังเขปเหตุการณ์ประวัติศาสตร์แห่งอนาคต เข้ำถึงได้จำก
         http://www.visitsurin.com/index.php?
         mo=3&art=12622         (28 ก.ค. 2551)
“NACs” เข้ำถึงได้จำก
         http://www.midnightuniv.org/midnight2545/doc
         ument9735.html       (28 ก.ค. 2551)
ลักษณะของประเทศที่พัฒนาแล้ว เข้ำถึงได้จำก
         http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx
?zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค.
          2551)
ข้อมูลด้านเศรษฐศาสตร์ เข้ำถึงได้จำก
          http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx
          ?zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค.2551)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
Rodchana Pattha
 

Mais procurados (20)

ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 

Destaque

บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
Saiiew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
Saiiew
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
Saiiew
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
Saiiew
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
Saiiew
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
Saiiew
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
Saiiew
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
Saiiew
 

Destaque (8)

บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 

Semelhante a บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา

นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Suriyakan Yunin
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
freelance
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
freelance
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
Link Standalone
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
ออร์คิด คุง
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
bussayamas Baengtid
 

Semelhante a บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา (20)

เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
7.0
7.07.0
7.0
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลกการพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
 
Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

Mais de Saiiew

บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
Saiiew
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Saiiew
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
Saiiew
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
Saiiew
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
Saiiew
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
Saiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
Saiiew
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
Saiiew
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
Saiiew
 

Mais de Saiiew (10)

บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 

บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา

  • 1. บทที่ 3 ประเทศที่พัฒนาและประเทศกำาลังพัฒนา ประเทศกำำลังพัฒนำมีเป้ำหมำยที่สำำคัญคือกำรพัฒนำ ประเทศให้เจริญทัดเทียมประเทศที่พัฒนำแล้วในด้ำนเศรษฐกิจ กำรเมืองและสังคม สำำหรับในประเทศที่พัฒนำแล้วนั้นกำรบริหำร ของระบบรำชกำรจะมีประสิทธิภำพและประสิทธิผลในกำรทำำงำน แต่ในประเทศที่กำำลังพัฒนำนั้นตรงข้ำม ต้องประสบปัญหำต่ำง ๆ ในกำรบริหำรอย่ำงมำกมำย 1 กำรศึกษำประเด็นที่เกี่ยวข้องในกำรบริหำรประทศต้อง ทรำบถึงลักษณะของประเทศทั้งสำมแบบ คือ ประเทศที่พัฒนำ แล้ว ประเทศกำำลังพัฒนำ และประเทศด้อยพัฒนำ ว่ำประเทศ ทั้งสำมแบบนั้นมีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงไร ลักษณะของประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้านเศรษฐกิจ ประเทศที่พัฒนำแล้วจะมีควำมเจริญทำงด้ำน อุตสำหกรรม มีควำมมั่นคงทำงด้ำนเศรษฐกิจ กำรเศรษฐกิจไม่ ขึ้นอยู่กันสินค้ำบำงสิ่งบำงอย่ำง ประชำชนมีควำมเป็นอยู่ดี มีคน ชั้นกลำงจำำนวนมำก กำรว่ำงงำนมีน้อยหรือแทบจะไมมี รัฐ สำมำรถให้บริกำรแต่โดยเฉพำะทำงด้ำนกำรสงเครำะห์คนชรำเป็น อย่ำงดี ในทำงตรงกันข้ำมกับประเทศทีกำำลังพัฒนำ2 ตัวอย่ำง ่ เช่นในประเทศญี่ปุ่น ได้เลื่อนชั้นไปเป็นประเทศที่พัฒนำแล้ว เคียงข้ำงชำติมหำอำำนำจต่ำงๆ3 เพรำะประชำกรที่มีคุณภำพ มี กำรศึกษำ กำรว่ำงงำนน้อย อีกทังรัฐบำลให้กำรดูแลผู้สูงอำยุ ้ ทำำให้กลุ่มผู้ใช้แรงงำนสำมำรถทำำงำนได้อย่ำงเต็มที่ ด้านสังคม 1 กวี รักษ์ชน และคณะ.กำรบริหำรกำรพัฒนำ Ps 328. 2 กวี รักษ์ชน อ้ำงแล้ว.หน้ำ 48. 3 ข้อมูลด้ำนเศรษฐศำสตร์ http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx? zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค.2551)
  • 2. ประเทศที่พัฒนำแล้วบริกำรของรัฐที่ให้คนในสังคมจะ มีเป็นจำำนวนมำกและส่วนใหญ่จะได้รับทั่วถึง บริกำรของรัฐที่ สำำคัญก็คือกำรให้กำรศึกษำโดยทั่วถึง ทำำให้ประชำชนมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจดีเกี่ยวกับสังคม และสำมำรถมีงำนทำำได้ จำำนวน แพทย์ที่มีต่อประชำกรคิดเป็นอัตรำส่วนแล้วค่อนข้ำงมำก กำรว่ำง งำนมีน้อย แม้จะมีกำรว่ำงงำนก็จะมีโครงกำรประกันสังคมให้ ควำมช่อยเหลืออยู4 ่ ด้านการเมือง ประเทศที่พัฒนำแล้ว กำรเมืองจะมีเสถียรภำพและ ควำมมันคง กำรเปลียนแปลงทำงกำรเมืองเป็นไปตำมกติกำทีได้ ่ ่ ่ วำงไว้ ในประเทศที่เป็นประชำธิปไตยประชำชนมีสิทธิเข้ำควบคุม นโยบำยและกำรทำำงำนของรัฐบำลโดยผ่ำนทำงผู้แทนรำษฎร ดัง นั้นกำรบริหำรงำนของรัฐจึงตอบสนองตอบต่อควำมต้องกำรของ ประชำชนโดยส่วนรวม5 ลักษณะของประเทศที่กำาลังพัฒนา ประเทศที่กำำลังพัฒนำ นั้น หมำยถึงประเทศทีมี ่ มำตรฐำนกำรดำำรงชีวิตค่อนข้ำงตำ่ำ พื้นฐำนอุตสำหกรรมยังไม่ พัฒนำ และมีดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์ (Human Development Index) อยู่ในระดับตำ่ำ คำำนี้มีแนวโน้มที่จะถูกแทนใช้ที่คำำอื่น ๆ ที่ เคยใช้ก่อนหน้ำ ซึงรวมถึงคำำว่ำ "ประเทศโลกที่สำม"6 ซึ่งเกิดขึ้น ่ ในยุคสงครำมเย็น 7 ด้านเศรษฐกิจ 4 กวี รักษ์ชน ,อ้ำงแล้ว หน้ำ 48. 5 กวี รักษ์ชน ,อ้ำงแล้ว หน้ำ 48. 6 วิกิพีเดีย สำรำนุกรมเสรี 28/7/2551. 7 สงครามเย็น (Cold War) (พ.ศ. 2490-2534 หรือ ค.ศ. 1947-1991) เป็นกำรต่อสู้กัน ระหว่ำงกลุ่มประเทศ 2 กลุ่ม ที่มีอุดมกำรณ์ทำงกำรเมืองและระบบกำรเมืองต่ำงกัน พัฒนำขึ้น หลังสงครำมโลกครั้งที่สอง มุมหนึ่งคือสหภำพโซเวียต เรียกว่ำ โลกตะวันออก (Eastern bloc) อีกมุมหนึ่ง คือ สหรัฐอเมริกำและกลุ่มพันธมิตร เรียกว่ำ โลกตะวันตก (Western bloc).สงครำม เย็นเป็นภำวะอย่ำงหนึ่งที่ประเทศมหำอำำนำจทั้ง 2 ฝ่ำยต่ำงเเข่งขันกันโดยพยำยำมสร้ำงเเสนยำ นุภำพทำงกำรทหำรของตนไว้ข่มขู่ฝ่ำยตรงข้ำมโดยประเทศมหำอำำนำจจะไม่ทำำสงครำมกันโดย ตรงเเต่จะสนับสนุนให้ประเทศพันธมิตรของตนเข้ำทำำสงครำมเเทน หรือที่เรียนอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ สงครำมตัวแทน(Proxy War) เหตุที่เรียก สงครำมเย็น เนื่องจำกเป็นกำรต่อสู้กันระหว่ำง มหำอำำนำจ โดยใช้จิตวิทยำ ไม่ได้นำำพำไปสู่กำรต่อสู้ด้วยกำำลังทหำรโดยตรงอย่ำง สงครำม ร้อน.(วิกิพีเดีย)
  • 3. ประเทศกำำลังพัฒนำนั้นเศรษฐกิจของประเทศส่วน ใหญ่ขึ้นอยู่กับกำรเกษตร ผลผลิตทำงกำรเกษตรที่สำำคัญต่อ เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภำวะทำงธรรมชำติ 8 เช่น กำร ปลูกข้ำวโพด ซึงใช้เป็นส่วนผสมของอำหำรสัตว์ของชำวบ้ำนใน ่ จังหวัดนครรำชสีมำ ต้องรอฟ้ำรอฝน หำกโชคร้ำยฝนไม่ตกต้อง ตำมฤดู หรือตกน้อย อำจทำำให้เกษตรกรจำำต้องกูหนี้ยืมสินมำ ลงทุน เป็นต้น ลักษณะของประเทศที่กำำลังพัฒนำอำจจำำแนกได้ดังนี้ 1. ประชำชนส่วนใหญ่ประกอบอำชีพเกษตรกรรม ผลผลิตเน้นด้ำนธัญพืชและวัตถุดิบมำกกว่ำเลียง ้ สัตว์ 2. อำชีพหลักของประเทศคือกำรผลิตขั้นต้น ได้แก่ กำรเกษตรกรรม ป่ำไม้ เหมืองแร่ 3. สินค้ำออกของประเทศเป็นอำหำรและวัตถุดิบ 4. มูลค่ำและปริมำณกำรค้ำระหว่ำงประเทศมีน้อย ประสบปัญหำด้ำนกำรตลำด 5. ประชำชนมีรำยได้เฉลี่ยต่อบุคคลในเกณฑ์ตำ่ำ ยำกจน มีกำรออมและสะสมทุนน้อย 6. มีกำรว่ำงงำนแฝงหรือทำำงำนไม่เต็มควำมสำมำรถ เป็นจำำนวนมำก แม้ว่ำจะเน้นในภำคกำรเกษตร แต่ตัวเกษตรกรใน ประเทศที่กำำลังพัฒนำนอกจำกมีกำรกำรถือครองที่ดินขนำดเล็ก ในแง่ของกำรนำำเทคนิคต่ำงๆ มำใช้เพิ่มผลผลิตยังตำ่ำซึ่งเป็น สำเหตุหนึ่งที่ทำำให้ได้ผลผลิตน้อยและทำำให้เกษตรกรต้องกู้หนี้ ยืมสินทำำให้ยุคหนึ่ง รัฐบำลต้องหำมำตรกำรตรวจสอบหนี้ของ ประชำชน โดยเปิดโอกำสให้ประชำชนมำลงทะเบียนคนจน แจ้ง ภำวะกำรเป็นหนี้ซึ่งพบว่ำประชำชนส่วนใหญ่เป็นหนี้ทงในระบบ ั้ และนอกระบบ อีกทั้งรัฐบำลเองไม่จริงใจในกำรแก้ปัญหำ โดย เฉพำะในภำคกำรขนส่งกำรคมนำคมขนส่งผลผลิตไม่สะดวก ยก ตัวอย่ำงเช่น ในจังหวัดจันทบุรี และตรำด มีกำรปลูกผลไม้ เงำะ 8 กวี รักษ์ชน และคณะ อ้ำงแล้ว หน้ำ 48.
  • 4. ทุเรียน จำำนวนมำก ชำวสวนจะขำยผลผลิตได้ก็จำกกำรขนส่ง ทำงรถยนต์ทำงเดียวเท่ำนั้นไม่มรถไฟเหมือนในภำคเหนือ หรือ ี ภำคใต้ ดังนั้นเมื่อรำคำนำ้ำมันพุ่งสูงจึงเกิดปัญหำในกำรระบำย ผลผลิตดังกล่ำว นอกจำกนี้ในภำคตะวันออกซึ่งเป็นแหล่งผลไม้ ทีใหญ่ที่สุดของประเทศแต่กลับไม่มีตลำดสำำหรับรองรับผลผลิต ่ เหล่ำนั้นทำำให้เกิดปัญหำผลผลิตเสียหำย เกษตรกรยำกจน และ กำรเรียกร้องให้รัฐบำลช่วยด้วยกำรปิดถนนประท้วง เป็นต้น ด้านสังคม ประเทศที่กำำลังพัฒนำนั้นกำรบริกำรของรัฐที่ให้แก่ ประชำชนจะมีไม่มำกและไม่ค่อยกระจำยไปยังประชำชนทุกส่วน ในประเทศ 9 มีอัตรำกำรเพิ่มของประชำกรอยู่ในเกณฑ์สูง อำยุขัยเฉลียของประชำกรค่อนข้ำงตำ่ำ อีกทั้งกำรบริกำรด้ำนกำร ่ อนำมัยและสำธำรณสุขไม่ทั่วถึง เป็นเพรำะจำำนวนแพทย์ในชนบท มีน้อย จำำนำำไปสู่ปัญหำด้ำนทุพโภชนำกำร นอกจำกที่กล่ำวมำแล้วลักษณะของประเทศกำำลัง พัฒนำยังสำมำรถนำำเอำในของด้ำนวัฒนธรรม มำพิจำรณำร่วม ด้วย คือ ประชำชนส่วนใหญ่ยึดถือวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม ชนชั้นกลำงมีจำำนวนน้อยเพรำะมีคนยำกจนจำำนวนมำก อีกทั้ง ระดับกำรศึกษำของประชำชนอยู่ในเกณฑ์ตำ่ำ ในบำงสังคมฐำนะ ทำงสังคมของสตรีค่อนข้ำงตำ่ำ ยังมีกำรลักลอบใช้แรงงำนเด็กมี อัตรำสูง และถูกเอำเปรียบค่ำจ้ำงแรงงำน อันเนื่องมำจำก ประชำชนมีกำรศึกษำตำ่ำ ทำำให้ขำดกำรต่อรอง อีกทั้งวัฒนธรรม แบบชำวพุทธที่เน้นในเรื่องควำมกตัญญูต่อผู้ที่มีบุญคุณ แม้บำง ครั้งจะถูกเอำรัดเอำเปรียบแต่ก็ถือว่ำ นำยจ้ำงคือผู้ที่มบุญคุณ ี เป็นต้น ส่วนในด้ำนของเทคโนโลยี ประชำชนในประเทศ กำำลังพัฒนำ ควำมเจริญด้ำนเทคโนโลยีอยูในระดับตำ่ำ มีกำร ่ พัฒนำค่อนข้ำงช้ำและล้ำหลัง ขณะที่กำรคมนำคมขนส่งและกำร สื่อสำรไม่ทันสมัยและไม่เพียงพอ อีกทั้งผลผลิตโดยทั่วไปอยู่ใน เกณฑ์ตำ่ำ เพรำะขำดกำรนำำวิทยำกำรสมัยเพรำะประชำชนส่วน 9 กวี รักษ์ชน และคณะ อ้ำงแล้ว
  • 5. ใหญ่ยึดถือประเพณีดั้งเดิม ทังฐำนะยำกจน ขำดควำมรู้ จึงต้อง ้ ก้มหน้ำรับกรรม ด้านการเมือง ประเทศกำำลังพัฒนำประสบกับปัญหำควำมมี เสถียรภำพของรัฐบำล แม้วำอุดมกำรณ์โดยส่วนใหญ่ของประเทศ ่ กำำลังพัฒนำ ต้องกำรกำรปกครองแบบประชำธิปไตย แต่กำร ปกครองแบบประชำธิปไตยก็ลมลุกคลุกคลำนตลอดเวลำ ้ เนื่องจำกกำรปฏิวัติรัฐประหำรของทหำรที่ต้องกำรเข้ำมำมีบทบำท ในทำงกำรเมือง ดังนั้นเสรีภำพและควำมเสมอภำคของประชำชน จึงอยู่ในขอบเขตทีจำำกัด10 กำรพัฒนำเศรษฐกิจ สังคม และ ่ กำรเมือง เป็นกระบวนกำรทีมีควำมจำำเป็นและมีควำมสำำคัญมำก ่ กับทุกๆ ประเทศในโลก ไม่วำประเทศนั้นจะมีระดับของกำรพัฒนำ ่ อยู่ในระดับใดก็ตำม (สูง ปำนกลำง หรือตำ่ำ) สำำหรับประเทศไทย ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนำในระดับ ปำนกลำง (ประเทศ กำำลังพัฒนำ) ก็เช่นเดียวกันยังจำำเป็นต้องปรับสภำพของ เศรษฐกิจและสังคมเพื่อยกระดับมำตรฐำนกำรครองชีพให้ ประชำชนมีควำมเป็นอยูที่ดีขึ้น ่ ในภูมิภำคเอเชียมีหลำยประเทศที่เคยเป็นประเทศที่ กำำลังพัฒนำ แต่ก็ได้พยำยำมพัฒนำศักยภำพพลเมืองของ ประเทศเพื่อเปลี่ยนสถำนะไปเป็นประเทศพัฒนำแล้ว โดยมีชื่อ เรียกว่ำ NIC (New Industry Country ) ซึ่งขั้นตอนที่พัฒนำมำ ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นประเทศที่พฒนำแล้ว หรือ developed ั country ประเทศที่ขึ้นเป็น NIC จะต้องมีลักษณะดังนี้ 1. ประชำชนมีสิทธิเสรีภำพเพิ่มขึ้น 2. เศรษฐกิจเปลี่ยนจำกกำรเกษตรกรรมเป็นหลักมำ เป็นอุตสำหกรรมเป็นหลักโดยเฉพำะอุตสำหกรรมกำรผลิต 3. มีตลำดเสรีเปิดกำรค้ำกับนำนำชำติ 4. มีองค์กรของชำติตนเอง ทำำกำรอยู่ใน หลำยชำติ 5. มีกำรลงทุนจำกต่ำงชำติสูง 6. เป็นผู้นำำทำงกำรเมืองในกลุ่มประเทศข้ำง เคียง 10 กวี รักษ์ชน และคณะ
  • 6. ปี 2532-2535 กระแสโลกำภิวัฒน์ ได้สร้ำงควำมตื่นเต้น ยินดีกับปัญญำชนชนชั้นกลำง พร้อมๆกับนโยบำยของรัฐบำลที่ ต้องกำรพัฒนำประเทศไปสู่ชำติที่พัฒนำแล้ว พล.อ.ชำติชำย ชุน หวัน ได้ประกำศนโยบำย “เปลียนสนำมรบเป็นสนำมกำรค้ำ” สร้ำง ่ ควำมตื่นตัวในกลุ่มนักธุรกิจอย่ำงกระตือรือร้น และบรรยำกำศเต็ม ไปด้วยกำรถกเถียงถึงแนวทำงพัฒนำประเทศ ว่ำจะก้ำวสู่กำรเป็น ประเทศอุตสำหกรรมใหม่ NICs (New industrial country)11 หรือ ประเทศเกษตรกรรมใหม่NACs (New agricultural countries12) หรือเรียกสั้นๆว่ำแน็คส์ คือ กำรก้ำวสู่กำรเป็นเสือตัวที่ 5 แห่ง เอเชีย ซึ่ง New agricultural countries-NACs เน้นที่ประเทศไทย เป็นพิเศษ สำำหรับประเทศที่เคยเป็น NIC ได้แก่เกำหลีใต้ ไต้หวัน สิงคโปร์ ฮ่องกง ปัจจุบัน 13 นอกจำก ประเทศที่เป็น NIC ดังที่ กล่ำวแล้ว ดัชนี้ชี้วดการบริหารและการพัฒนาของประเทศ ั ควำมแตกต่ำงของประเทศพัฒนำแล้ว ประเทศกำำลัง พัฒนำ และประเทศด้อยพัฒนำ ได้ถูกกำำหนดโดย องค์กำร สหประชำชำติ โดยได้กำำหนดดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์ของ สหประชำชำติ(The UN Human Development Index - HDI) เป็นดัชนีกำรวัดและเปรียบเทียบควำมยำกจน กำรรู้หนังสือ กำร ศึกษำ อำยุขัย กำรคลอดบุตร และปัจจัยอื่น ๆ ของประเทศต่ำง ๆ ทัวโลก เป็นวิธีกำรวัดควำมอยู่ดีกินดีตำมมำตรฐำน โดยเฉพำะ ่ อย่ำงยิ่งในเด็กและเยำวชน หลำยคนใช้ดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์ของ สหประชำชำตินี้ในกำรระบุว่ำประเทศใดประเทศหนึ่งจัดอยู่ในกลุ่ม ประเทศที่พัฒนำแล้ว ประเทศที่กำำลังพัฒนำ หรือประเทศด้อย พัฒนำ ดัชนีดังกล่ำวได้พัฒนำขึ้นมำในปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) โดยนักเศรษฐศำสตร์ชำวปำกีสถำนชื่อ มำฮฺบับ อุลฮำค และองค์กำรสหประชำชำติได้ในดัชนีดังกล่ำวมำใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536) เป็นต้นมำ 11 สังเขปเหตุการณ์ประวัติศาสตร์แห่งอนาคต http://www.visitsurin.com/index.php? mo=3&art=12622 (28 ก.ค. 2551) 12 “NACs” http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9735.html (28 ก.ค. 2551) 13 ลักษณะของประเทศที่พัฒนำแล้ว http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx? zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค. 2551)
  • 7. ดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์วัดควำมสำำเร็จโดยเฉลี่ยของ แต่ละประเทศในกำรพัฒนำมนุษย์สำมด้ำนหลัก ๆ ได้แก่ - กำรมีชีวิตที่ยืนยำวและมีสุขภำพดี ซึ่งวัดได้จำก อำยุขัย - ควำมรู้ ซึ่งวัดได้จำกกำรรู้หนังสือ (มีนำ้ำหนักเป็น สองในสำมส่วน) และอัตรำส่วนกำรเข้ำเรียนสุทธิที่ รวมกันทั้งระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษำ (มีนำ้ำ หนักเป็นหนึ่งในสำมส่วน) - มำตรฐำนคุณภำพชีวิต ซึ่งวัดได้จำกผลิตภัณฑ์มวล รวมภำยในประเทศ (Gross Domestic Product - GDP) ต่อหัวและควำมเท่ำเทียมกันของอำำนำจซื้อ (purchasing power parity - PPP) ในแต่ละปี รัฐ สมำชิกองค์กำรสหประชำชำติจะถูกจัดอันดับตำม ดัชนีนี้ ประเทศทีได้รับกำรจัดอยู่ในอันดับต้น ๆ มัก ่ จะโฆษณำผลกำรจัดอันดับดังกล่ำว (เช่น กรณีของ นำยฌอง เครเตียง อดีตนำยกรัฐมนตรีของ แคนำดำ) เพื่อที่จะดึงดูดให้บุคลำกรที่มีควำม สำมำรถอพยพเข้ำมำในประเทศของตนมำกขึ้น ( เพื่อเป็นทรัพยำกรมนุษย์ในทำงเศรษฐกิจ) หรือเพื่อ ที่จะลดแรงจูงใจในกำรอพยพย้ำยออก อย่ำงไรก็ดี องค์กำรสหประชำชำติยงมีวิธีกำรวัดควำมยำกจนใน ั แต่ละประเทศอีกด้วย โดยกำรใช้ดัชนีควำมยำกจน มนุษย์ (Human Poverty Index)14 กำรกำำหนดดัชนี้ชี้วัดดังกล่ำวนี้ ธนำคำรโลก (World Bank) หรือ ธนำคำรเพื่อกำรบูรณะและพัฒนำระหว่ำงประเทศ (International Bank for Reconstruction and Development, IBRD) เป็นองค์กรระหว่ำงประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมำหลัง สงครำมโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศมหำอำำนำจในอเมริกำเหนือและ ยุโรป มีจุดมุ่งหมำยเพื่อช่วยให้ประเทศสมำชิกได้ทำำกำรฟืนฟู ้ ประเทศหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 โดยมุ่งเน้นกำรลงทุนเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภำพกำรผลิตและเร่งรัดกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์กำรสหประชำชำติ(United Nation) ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือประเทศสมำชิกที่ได้รับควำมเสียหำย 14 เรือง ประเทศที่กำาลังพัฒนา http://th.wikipedia.org/wiki . 28 ก.ค.2551 ่
  • 8. จำกสงครำมโลกครั้งที่ ٢ โดยให้สมำชิกกู้ยืมไปเพื่อบูรณะ ซ่อมแซมและพัฒนำประเทศ ต่อมำได้ขยำยขอบเขตของกำร บริกำรออกไปเป็นกำรสนับสนุนกำรลงทุนเพื่อกำรพัฒนำและเพิ่ม ผลผลิตในประเทศที่กำำลังพัฒนำ เพื่อยกระดับชีวิตและควำมเป็น อยู่ของประชำชนในประเทศสมำชิก ตำมลักษณะกิจกำรที่จะ ลงทุนและตำมควำมจำำเป็นและยังช่วยเหลือสมำชิกด้วยกำรให้ บริกำรด้ำนควำมรู้และคำำแนะนำำเกี่ยวกับกำรวำงแผนกำรลงทุน และบริหำรกำรเงิน เมื่อทรำบถึงลักษณะของประเทศต่ำง ๆ รวมถึงที่มำ ของกำรกำำหนดรูปแบบของประเทศพัฒนำแล้ว ประเทศกำำลัง พัฒนำ และประเทศด้อยพัฒนำแล้ว แต่กำรริเริ่มต่ำง ๆที่จะผลัก ดันให้แต่ละประเทศเปลียนแปลงฐำนะของตนเองได้นั้นจะต้องไม่ ่ ลืมวิถีชีวิตดั้งเดิมของประชำชน และประเทศชำติ ด้วยจะทำำให้ กำรกำำหนดแผน หรือ โครงกำรต่ำง ๆ ได้รับควำมร่วมมือจำก ประชำชนในประเทศอย่ำงแท้จริง เอกสารอ้างอิง กวี รักษ์ชน และคณะ.การบริหารการพัฒนา Ps 328. พิมพ์ ครั้งที่ ٩.กรุงเทพฯ: สำำนักพิมพ์มหำวิทยำลัย รำมคำำแหง,٢٥٣٩. ฐานข้อมูลออนไลน์ ประเทศที่กำาลังพัฒนา เข้ำถึงได้จำก http://th.wikipedia.org/wiki . (28 ก.ค.2551) สังเขปเหตุการณ์ประวัติศาสตร์แห่งอนาคต เข้ำถึงได้จำก http://www.visitsurin.com/index.php? mo=3&art=12622 (28 ก.ค. 2551) “NACs” เข้ำถึงได้จำก http://www.midnightuniv.org/midnight2545/doc ument9735.html (28 ก.ค. 2551) ลักษณะของประเทศที่พัฒนาแล้ว เข้ำถึงได้จำก http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx
  • 9. ?zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค. 2551) ข้อมูลด้านเศรษฐศาสตร์ เข้ำถึงได้จำก http://knowledge.eduzones.com/newsview.aspx ?zone_id=2&type=10&id=28011 (28 ก.ค.2551)