SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
การเก็บรั กษาข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์ ในรูปแบบต่ างๆ
        มนุษย์รจกบันทึกข้อมูลตังแต่ยุคโบราณและพัฒนาวิธีการบันทึก
               ู้ ั              ้
  ข้อมูลมาตามลาดับจนถึงปัจจุบนดังนี้
                               ั




     การวาดภาพและขีดเขียนสัญลักษณ์ลงบนผนังถาหรือหนังสัตว์
                                           ้
การประดิษฐ์ตวอักษรและตัวเลขขึนมาใช้แทนภาพวาดและ
                   ั                ้
สัญลักษณ์ เช่นหลักศิลาจารึกของไทย เป็ นต้น
บันทึกข้อมูลแต่ละประเภทลงในสื่อบันทึกข้อมูลต่างชนิดกัน เช่น
กล้องถ่ายรูปและฟิล์มบันทึกเฉพาะภาพ ไม่สามารถบันทึกภาพ เสียง และ
ข้อความรวมกันไว้ได้
คิดค้นผลิตกระดาษจากพืช และพัฒนามาเป็ นการใช้หมึกและ
ปากกาจดบันทึกข้อมูลลงในกระดาษ
ซีดีรอม                                                แผ่นบันทึก
                                คอมพิวเตอร์




                 กล้ องดิจิทล
                            ั                 หน่วยความจาแบบแฟรช


      บันทึกข้อมูลภาพ ข้อความ และเสียง ลงในสื่อบันทึกเดียวกันได้
อย่างรวดเร็ว และบันทึกได้มากกว่า เช่น กล้องดิจิทล คอมพิวเตอร์ แผ่น
                                                ั
บันทึก ซีดีรอม ดีวีดี หน่ วยความจาแบบแฟลช เป็ นต้น
ในอดีตเราต้องเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ในสื่อต่ างชนิดกัน จึงทา
ให้ไม่สะดวกต่อการค้นหาหรือนามาใช้งาน และมีวิธีการเก็บที่
ยุ่งยาก สิ้นเปลืองพื้นที่ ในการเก็บ แต่ ปัจจุบนมีการพัฒนาสื่อ
                                              ั
ต่างๆ ขึ้นมาให้สามารถเก็บข้อมูลหลายประเภทไว้ในสื่อชนิด
เดียวกันได้แล้ว ซึ่งเรียกว่า มัลติมิเดีย (Multimedia) หรือ
สื่อประสม
ประเภทของข้ อมูล
ข้อมูลรอบๆ ตัวเรามีหลายประเภท ดังนี้

    ตัวเลข ได้แก่ ตัวเลข 0-9 อายุ วันที่ ราคาสิ นค้า ส่วนสูง น้าหนัก คะแนน

    ตัวอักษร ได้แก่ ตัวอักษร ก-ฮ ตัวอักษร A-Z ชื่อ-นามสกุล ทะเบียนรถยนต์ ชื่อจังหวัด ชื่อสิ นค้า

      บ้านเลขที่ ชื่อวิ ชา

    ข้อความ ได้แก่ ข่าวในหนังสือพิ มพ์ คาอธิ บายสิ่ งต่างๆ จดหมาย บทความในนิ ตยสาร

    ภาพนิ่ ง ได้แก่ แผนภูมิ แผนผัง ตาราง แผนที่ ภาพถ่าย ภาพวาด

    ภาพเคลื่อนไหว ได้แก่ ภาพที่เห็นในวีดิทศน์ ภาพที่เห็นจากโทรทัศน์ ภาพที่เห็นในซีดีรอม ดีวีดี
                                           ั

    เสียง ได้แก่ เสียงสัตว์ร้อง เสียงนกหวีด เสียงเพลง เสียงคนพูด เสียงฝนตก ฟ้ าร้อง เสียงรถไฟ

      รถยนต์
รู ปแบบที่ใช้ เก็บรั กษาข้ อมูล
        ข้อมูลทุกประเภทที่รวบรวมมาได้ ควรเก็บบันทึกในสื่อต่างๆ เพื่อไม่ให้
  สูญหาย สะดวกต่อการค้นหา และนามาใช้ประโยชน์ ได้ในภายหลัง โดยการเก็บ
  ข้อมูลทาได้หลายรูปแบบ ดังนี้

   1. สาเนาถาวร ได้แก่
          1.1 เอกสาร
          เป็ นกระดาษมีเส้นหรือไม่มเส้น นิยมใช้เก็บข้อมูลประเภทตัวเลข
                                   ี
  ตัวอักษรหรือข้อความ โดยการจดบันทึกลงบนกระดาษด้วยมือหรือพิมพ์
  ข้อความด้วยเครื่องพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์ลงบนกระดาษ เมื่อเอกสารจานวน
  มากให้ใช้เครื่องเจาะรูกระดาษแล้วเก็บรวบรวมไว้ในแฟ้ มที่มีห่วงหรือมีที่หนี บ
  เพื่อช่วยยืดเอกสารไม่ให้สญหาย ใช้จดเก็บข้อมูลแยกเป็ นหมวดหมู่ได้ เช่น
                            ู          ั
  ข้อมูลคะแนนสอนของนักเรียนแต่ละวิชาแยกคนละแฟ้ ม เรียงตามปี การศึกษา
  เป็ นต้น
1.2 แฟ้ มสะสมงาน (Portfolio)
      คือ การเก็บรวบรวมผลงานของนักเรียนเอง หรือได้รบคาแนะนาจากครู
                                                      ั
มาสะสมไว้อย่างเป็ นระบบ ซึ่งครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการสร้างและ
ประเมินแฟ้ มสะสมงานด้วยกัน โดยสามารถเก็บชิ้นงานของนักเรียนได้ตลอดปี
การศึกษาในแฟ้ มปกแข็งที่มีซองพลาสติกใสที่สามารถสอดใส่ผลงานแล้ว
มองเห็นชิ้นงานได้ชดเจน เรียงตามลาดับชิ้นงานที่ทาก่อน-หลัง มีคานา และ
                   ั
สารบัญ
2. สื่อบันทึกข้อมูล ได้แก่
         2.1 แถบบันทึกเสียงหรือเทปคลาสเซ็ส
         มีลกษณะเป็ นตลับพลาสติกรูปทรงสี่เหลี่ยมแบนๆ ภายในมีม้วนแถบ
             ั
  แม่เหล็กสีดาบางๆ ม้วนอยู่ ใช้กบเครื่องบันทึกเสียง สามารถเก็บข้อมูลประเภท
                                ั
  เสียงเพื่อนามาเผยแพร่ให้บคคลอื่นได้ฟัง เช่น เสียงเพลง เสียงนักร้อง เสียง
                           ุ
  เครื่องดนตรี เสียงบทสนทนาภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
2.2 แผ่นบันทึก (Floppy Disk A)
      มีลกษณะเป็ นแผ่นพลาสติกสี่เหลี่ยมมีแถบแม่เหล็กกลมๆ สีดาบางๆ
         ั
อยู่ภายใน ใช้เก็บข้อมูลประเภทตัวเลข ตัวอักษร หรือภาพ ร่วมกับเครืองขับ
                                                                ่
จานแถบแม่เหล็กในคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลได้น้อยเพียง 1.44 MB แต่มี
ขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก
2.3 แผ่ นซีดีรอม (CD-ROM)
       ทามาจากพลาสติกเคลือบด้ วยอลูมิเนียม มีลักษณะเป็ นแผ่ นกลมๆ
มีรูตรงกลาง ใช้ บนทึกข้ อมูลด้ วยลาแสงเลเซอร์ ร่วมกับเครื่องขับดีสก์ เก็บ
                   ั
ข้ อมูลได้ มากกว่ าแผ่ นบันทึก โดย 1 แผ่ น จะเก็บข้ อมูลได้ 700 MB ใช้
เก็บบันทึกข้ อมูลประเภทภาพ เสียง และข้ อความรวมกันได้ ทังหมด  ้
2.4 หน่ วยความจาแบบแฟลช
      เช่น แฮนดีไดรฟ์ เมมโมรีสติ๊ก ยูเอสบี แฟลสไดรฟ์ เป็ นอุปกรณ์บนทึก
                                                                  ั
ข้อมูลขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก สามารถลบและเก็บบันทึก
ข้อมูลได้เหมือนแผ่นบันทึก แต่มีความจุมากกว่า นิยมใช้บนทึกข้อมูล
                                                         ั
ประเภทภาพ เสียง และข้อความต่างๆ โดยเสียบเข้าที่ช่อง USB
(Universal Serial BUS) ที่เครืองซีพียูและดึงออกเมื่อเลิกใช้งาน
                                        ่
ประโยชน์ ของการเก็บข้ อมูลอย่ างเหมาะสม
การเก็บรักษาข้อมูลอย่างเหมาะสมมีประโยชน์ ดงนี้
                                          ั
       1. ข้อมูลไม่สญหาย
                    ู
       2. ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
       3. สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
บุคลิกภาพของครูที่ดี
บุคลิกภาพของครูที่ดีบุคลิกภาพของครูที่ดี
บุคลิกภาพของครูที่ดีkhanidthakpt
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมjiratt
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินOrawan Sripho
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
การวิเคราะห์  Swot chicken little groupการวิเคราะห์  Swot chicken little group
การวิเคราะห์ Swot chicken little groupjanjirapansri
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10Jurarat Thongma
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยJanchai Pokmoonphon
 

Mais procurados (20)

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
บุคลิกภาพของครูที่ดี
บุคลิกภาพของครูที่ดีบุคลิกภาพของครูที่ดี
บุคลิกภาพของครูที่ดี
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหิน
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
การวิเคราะห์  Swot chicken little groupการวิเคราะห์  Swot chicken little group
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 

Semelhante a ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล

วีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทองวีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทองsompong2507pong
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำPokypoky Leonardo
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองguest8b6806e
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองguest8b6806e
 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นpeter dontoom
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnantakit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnantakit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnantakit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศOwat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศOwat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศOwat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Oat_zestful
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 

Semelhante a ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล (20)

งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไขงานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
 
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไขงานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
 
E book
E bookE book
E book
 
วีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทองวีรวัฒน์ เสาทอง
วีรวัฒน์ เสาทอง
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำ
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
 
7
77
7
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 

Mais de Kriangx Ch

ตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงานตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงานKriangx Ch
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลKriangx Ch
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2Kriangx Ch
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11Kriangx Ch
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1Kriangx Ch
 

Mais de Kriangx Ch (9)

ตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงานตอนที่4 การชิ้นงาน
ตอนที่4 การชิ้นงาน
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ11
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 

ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล

  • 1.
  • 2. การเก็บรั กษาข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์ ในรูปแบบต่ างๆ มนุษย์รจกบันทึกข้อมูลตังแต่ยุคโบราณและพัฒนาวิธีการบันทึก ู้ ั ้ ข้อมูลมาตามลาดับจนถึงปัจจุบนดังนี้ ั การวาดภาพและขีดเขียนสัญลักษณ์ลงบนผนังถาหรือหนังสัตว์ ้
  • 3. การประดิษฐ์ตวอักษรและตัวเลขขึนมาใช้แทนภาพวาดและ ั ้ สัญลักษณ์ เช่นหลักศิลาจารึกของไทย เป็ นต้น
  • 6. ซีดีรอม แผ่นบันทึก คอมพิวเตอร์ กล้ องดิจิทล ั หน่วยความจาแบบแฟรช บันทึกข้อมูลภาพ ข้อความ และเสียง ลงในสื่อบันทึกเดียวกันได้ อย่างรวดเร็ว และบันทึกได้มากกว่า เช่น กล้องดิจิทล คอมพิวเตอร์ แผ่น ั บันทึก ซีดีรอม ดีวีดี หน่ วยความจาแบบแฟลช เป็ นต้น
  • 7. ในอดีตเราต้องเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ในสื่อต่ างชนิดกัน จึงทา ให้ไม่สะดวกต่อการค้นหาหรือนามาใช้งาน และมีวิธีการเก็บที่ ยุ่งยาก สิ้นเปลืองพื้นที่ ในการเก็บ แต่ ปัจจุบนมีการพัฒนาสื่อ ั ต่างๆ ขึ้นมาให้สามารถเก็บข้อมูลหลายประเภทไว้ในสื่อชนิด เดียวกันได้แล้ว ซึ่งเรียกว่า มัลติมิเดีย (Multimedia) หรือ สื่อประสม
  • 8. ประเภทของข้ อมูล ข้อมูลรอบๆ ตัวเรามีหลายประเภท ดังนี้  ตัวเลข ได้แก่ ตัวเลข 0-9 อายุ วันที่ ราคาสิ นค้า ส่วนสูง น้าหนัก คะแนน  ตัวอักษร ได้แก่ ตัวอักษร ก-ฮ ตัวอักษร A-Z ชื่อ-นามสกุล ทะเบียนรถยนต์ ชื่อจังหวัด ชื่อสิ นค้า บ้านเลขที่ ชื่อวิ ชา  ข้อความ ได้แก่ ข่าวในหนังสือพิ มพ์ คาอธิ บายสิ่ งต่างๆ จดหมาย บทความในนิ ตยสาร  ภาพนิ่ ง ได้แก่ แผนภูมิ แผนผัง ตาราง แผนที่ ภาพถ่าย ภาพวาด  ภาพเคลื่อนไหว ได้แก่ ภาพที่เห็นในวีดิทศน์ ภาพที่เห็นจากโทรทัศน์ ภาพที่เห็นในซีดีรอม ดีวีดี ั  เสียง ได้แก่ เสียงสัตว์ร้อง เสียงนกหวีด เสียงเพลง เสียงคนพูด เสียงฝนตก ฟ้ าร้อง เสียงรถไฟ รถยนต์
  • 9. รู ปแบบที่ใช้ เก็บรั กษาข้ อมูล ข้อมูลทุกประเภทที่รวบรวมมาได้ ควรเก็บบันทึกในสื่อต่างๆ เพื่อไม่ให้ สูญหาย สะดวกต่อการค้นหา และนามาใช้ประโยชน์ ได้ในภายหลัง โดยการเก็บ ข้อมูลทาได้หลายรูปแบบ ดังนี้ 1. สาเนาถาวร ได้แก่ 1.1 เอกสาร เป็ นกระดาษมีเส้นหรือไม่มเส้น นิยมใช้เก็บข้อมูลประเภทตัวเลข ี ตัวอักษรหรือข้อความ โดยการจดบันทึกลงบนกระดาษด้วยมือหรือพิมพ์ ข้อความด้วยเครื่องพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์ลงบนกระดาษ เมื่อเอกสารจานวน มากให้ใช้เครื่องเจาะรูกระดาษแล้วเก็บรวบรวมไว้ในแฟ้ มที่มีห่วงหรือมีที่หนี บ เพื่อช่วยยืดเอกสารไม่ให้สญหาย ใช้จดเก็บข้อมูลแยกเป็ นหมวดหมู่ได้ เช่น ู ั ข้อมูลคะแนนสอนของนักเรียนแต่ละวิชาแยกคนละแฟ้ ม เรียงตามปี การศึกษา เป็ นต้น
  • 10. 1.2 แฟ้ มสะสมงาน (Portfolio) คือ การเก็บรวบรวมผลงานของนักเรียนเอง หรือได้รบคาแนะนาจากครู ั มาสะสมไว้อย่างเป็ นระบบ ซึ่งครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการสร้างและ ประเมินแฟ้ มสะสมงานด้วยกัน โดยสามารถเก็บชิ้นงานของนักเรียนได้ตลอดปี การศึกษาในแฟ้ มปกแข็งที่มีซองพลาสติกใสที่สามารถสอดใส่ผลงานแล้ว มองเห็นชิ้นงานได้ชดเจน เรียงตามลาดับชิ้นงานที่ทาก่อน-หลัง มีคานา และ ั สารบัญ
  • 11. 2. สื่อบันทึกข้อมูล ได้แก่ 2.1 แถบบันทึกเสียงหรือเทปคลาสเซ็ส มีลกษณะเป็ นตลับพลาสติกรูปทรงสี่เหลี่ยมแบนๆ ภายในมีม้วนแถบ ั แม่เหล็กสีดาบางๆ ม้วนอยู่ ใช้กบเครื่องบันทึกเสียง สามารถเก็บข้อมูลประเภท ั เสียงเพื่อนามาเผยแพร่ให้บคคลอื่นได้ฟัง เช่น เสียงเพลง เสียงนักร้อง เสียง ุ เครื่องดนตรี เสียงบทสนทนาภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
  • 12. 2.2 แผ่นบันทึก (Floppy Disk A) มีลกษณะเป็ นแผ่นพลาสติกสี่เหลี่ยมมีแถบแม่เหล็กกลมๆ สีดาบางๆ ั อยู่ภายใน ใช้เก็บข้อมูลประเภทตัวเลข ตัวอักษร หรือภาพ ร่วมกับเครืองขับ ่ จานแถบแม่เหล็กในคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลได้น้อยเพียง 1.44 MB แต่มี ขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก
  • 13. 2.3 แผ่ นซีดีรอม (CD-ROM) ทามาจากพลาสติกเคลือบด้ วยอลูมิเนียม มีลักษณะเป็ นแผ่ นกลมๆ มีรูตรงกลาง ใช้ บนทึกข้ อมูลด้ วยลาแสงเลเซอร์ ร่วมกับเครื่องขับดีสก์ เก็บ ั ข้ อมูลได้ มากกว่ าแผ่ นบันทึก โดย 1 แผ่ น จะเก็บข้ อมูลได้ 700 MB ใช้ เก็บบันทึกข้ อมูลประเภทภาพ เสียง และข้ อความรวมกันได้ ทังหมด ้
  • 14. 2.4 หน่ วยความจาแบบแฟลช เช่น แฮนดีไดรฟ์ เมมโมรีสติ๊ก ยูเอสบี แฟลสไดรฟ์ เป็ นอุปกรณ์บนทึก ั ข้อมูลขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก สามารถลบและเก็บบันทึก ข้อมูลได้เหมือนแผ่นบันทึก แต่มีความจุมากกว่า นิยมใช้บนทึกข้อมูล ั ประเภทภาพ เสียง และข้อความต่างๆ โดยเสียบเข้าที่ช่อง USB (Universal Serial BUS) ที่เครืองซีพียูและดึงออกเมื่อเลิกใช้งาน ่
  • 15. ประโยชน์ ของการเก็บข้ อมูลอย่ างเหมาะสม การเก็บรักษาข้อมูลอย่างเหมาะสมมีประโยชน์ ดงนี้ ั 1. ข้อมูลไม่สญหาย ู 2. ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว 3. สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง