SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
รายงาน
เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
วิชาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา : การศึกษาอิสระ
โดย
นาย ธนกฤษณ์ ทับทิมสุข รหัส 55540126
สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
เสนอ
ดร.ภูเบศ เลื่อมใส
คานา
ระบบสารสนเทศมีความสาคัญและความจาเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาค้นหาข้อมูลต่าง ๆ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้จาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลง ที่
เกิดขึ้น สามารถนาเทคโนโลยีนั้นมาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะ
ด้านการศึกษา ที่ส่งผลให้นาเทคโนโลยีมาใช้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เกิดจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี พัฒนาเอกสารให้อยู่ในรูปสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการให้ความรู้แก่คนที่สนใจอีกช่องทางหนึ่ง ส่งเสริมให้เข้าถึงการเรียนรู้
อย่างสะดวก รวดเร็ว ตามความต้องการและศักยภาพของแต่ละบุคคลมีคุณลักษณะสาคัญที่ช่วย
กระตุ้นให้เกิดความใฝ่รู้ใฝ่เรียน สนุกสนาน จากภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคู่มือการสร้าง e-Book ด้วยโปรแกรม Flip Album 6 Pro
เล่มนี้จะเป็นประโยชน์คนที่สนใจ ในการพัฒนาสื่อเอกสารเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้าง
สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
นายธนกฤษณ์ ทับทิมสุข 55540126
ผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
บทที่ ๑ ๑-๒
บทที่ ๒ ๓-๙
บทที่ ๓ ๑๐
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
มนุษย์ต้องการเก็บความทรงจาจากการมองเห็น จึงได้คิดค้นอุปกรณ์ในการเก็บภาพ
ขึ้นมา ซึ่งปัจจุบันเรียกว่ากล้องถ่ายภาพนั่นเอง กล้องถ่ายภาพได้มีวิวัฒนาการเรื่อยมาจากกล้อง
ฟิล์ม จนถึง กล้องดิจิตอล ที่มีระบบการใช้งานง่าย ช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากขึ้น
แต่การถ่ายภาพให้ออกมา มีองค์ประกอบดีและสวยงาม เราควรเรียนรู้เทคนิคต่างๆ เช่น การจัด
องค์ประกอบภาพ การคานึงถึง ลายเส้นที่อยู่ในภาพ เพื่อให้ภาพออกมาสมบูรณ์ สวยงาม และมี
ความหมาย ก่อนที่เราจะเรียนรู้เทคนิคสาหรับการถ่ายภาพ เราต้องศึกษาการถ่ายภาพขั้นพื้นฐาน
เพื่อต่อยอด ความคิดสร้างสรรค์ของตนเองต่อไป
ข้าพเจ้าในฐานะนิสิตสาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงมีความสนใจที่จะจัดทาโครงงาน
การประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
เรื่อง เทคนิคการถ่ายภาพ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้รู้ทักษะเกี่ยวกับเทคนิคการถ่ายภาพให้มากขึ้น
2.เพื่อเป็นการปรับปรุงเทคนิค และพัฒนาความรู้และสามารถนาความรู้นั้นไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์
ขอบข่ายโครงงาน
- โครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อนาเสนอ
- วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ได้แก่
- หนังสือ การถ่ายภาพสี (เนื้อหา)
-โปรแกรม Flip Album Pro 6.0
- เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ได้รับความรู้เกี่ยวกับเทคนิคที่สาคัญเกี่ยวกับการถ่ายภาพ
- เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนาเสนอได้อย่างมีคุณภาพ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานเรื่องเทคนิคการถ่ายภาพนิ่ง ได้ศึกษาจากอินเตอร์เน็ตและเอกสารต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1. Electronic Book (e-Book)
2. หลักการถ่ายภาพที่ดี
3. ภาพประกอบในการทางาน ( www.google.com)
1. Electronic Book (e-Book)
หมายถึงหนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดย
ปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์ และ
ออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ
เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถ
แทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้
อีกประการหนึ่งที่สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติ
เหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป
1.1ข้อดีของ e-Book
1. อ่านที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลา เนื่องจากพกไปได้ตลอดและได้จานวนมาก
2. ประหยัดการตัดไม้ทาลายป่า เพราะไม่ต้องตัดไม้มาทากระดาษ
3. เก็บรักษาได้ง่าย ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ประหยัดค่าเก็บรักษา
4. ค้นหาข้อความได้ยกเว้นว่าอยู่ในลักษณะของภาพ
5. ใช้พื้นที่น้อยในการจัดเก็บ (cd1 แผ่นสามารถเก็บ e-Book ได้ประมาณ 500 เล่ม)
6. อ่านได้ในที่มืด หรือแสงน้อย
7. ทาสาเนาได้ง่าย
8. จาหน่ายได้ในราคาถูกกว่าในรูปแบบหนังสือ
9. อ่านได้ไม่จากัดจานวนครั้ง เพราะไม่ยับหรือเสียหายเหมือนกระดาษ
10. สะดวกสบาย ไม่ต้องเดินทาง แค่คลิกเดียวก็สามารถเลือกอ่านหนังสือที่ต้องการได้ทันที
11. เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาธรรมชาติ โดยลดการใช้กระดาษกับ True e-Book
1.2 ข้อเสียของ e-Book
1. ต้องอาศัยพลังงานในการอ่านตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าหรือแบตตารี่
2. เสียสุขภาพสายตา จากการได้รับแสงจากอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์
3. ขาดความรู้สึก หรืออรรถรส หรือความคลาสสิค
4. อาจเกิดปัญหากับการ ลง hardware หรือ software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า
5. ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย
6. การอ่านอาจเกิดอันตรายต่อสายตา
7. เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่าย
8. ไม่เหมาะกับบางformat เช่น รูปวาด รูปถ่าย แผนที่ใหญ่ เป็นต้น
1.3 ประโยชน์ของ e-Book
1.3.1สาหรับผู้อ่าน
1. ขั้นตอนง่ายในการอ่าน และค้นหาหนังสือ
2. ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บหนังสือ
3. อ่านหนังสือได้จากทุกที่ที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
1.3.2 สาหรับห้องสมุด
1. สะดวกในการให้บริการหนังสือ
2. ไม่ต้องใช้สถานที่มากในการจัดเก็บหนังสือ และไม่เสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้
3. ลดงานที่เกิดจากการซ่อม จัดเก็บ และการจัดเรียงหนังสือ
4. ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงานมาดูแลและซ่อมแซมหนังสือ
5. มีรายงานแสดงการเข้ามาอ่านหนังสือ
1.3.3สาหรับสานักพิมพ์และผู้เขียน
1. ลดขั้นตอนในการจัดทาหนังสือ
2. ลดค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการจัดพิมพ์หนังสือ
3. ลดค่าใช้จ่ายในการจัดจาหน่ายผ่านช่องทางอื่นๆ
4. เพิ่มช่องทางในการจาหน่ายหนังสือ
5. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ตรงถึงผู้อ่าน
1.4 ข้อจากัดของ E-book
เนื่องจากอาจเกิดปัญหากับการ ลง Hardware หรือ Software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า ดังนั้นจึงต้อง
มีโปรแกรมและเครื่องมือในการอื่น คือ Hardware ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
พกพาอื่นๆ พร้อมทั้งระบบติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือSoftware ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น
Organizer แบบพกพาPocketPC หรือ PDA เป็นต้น การดึงข้อมูล E-Book ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่
ให้บริการทางด้านนี้มาอ่าน ก็จะใช้วิธีการ Downloadผ่านทางอินเตอร์เน็ตเสียเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม
มิใช่ว่า Hardwareทุกชนิดจะอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้เนื่องจากมีข้อจากัดของชนิดไฟล์บางประเภท
นั่นเอง ซึ่งต้องมีการแก้ปัญหาด้วยการนา Software บางตัวมาช่วยสาหรับ Software ที่ใช้งานกับ E-Book ใน
ปัจจุบันมีสองประเภทคือ Software ที่ใช้อ่านข้อมูลจาก E-Book และ Software ที่ใช้เขียนข้อมูลออกมาเป็น
E-Book นอกจากนี้ผู้ใช้ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย คานึงเสมอว่าการอ่านอาจเกิด
อันตรายต่อสายตา E-Bookนี้ ไม่เหมาะกับบางformatเช่น รูปวาด รูปถ่าย แผนที่ใหญ่ เป็นต้น
อ้างอิง :
http://06550128-01.blogspot.com/
2. หลักการถ่ายภาพที่ดี
การถ่ายภาพจะสวยงามเป็นที่ชื่นชมสาหรับผู้ดู ควรมีองค์ประกอบ 5 ประการดังนี้คือ
2.1.ภาพชัดเจน (In Focus)
ภาพที่ดีต้องปรับโฟกัสให้ชัดเจนในจุดที่ต้องการซึ่งอาจชัดเฉพาะจุด หรือชัดตลอดภาพก็ได้ขึ้นกับ
ลักษณะภาพที่ต้องการ เช่น ภาพทิวทัศน์ ควรชัดตลอดภาพโดยเปิดรูรับแสงให้แคบๆ เช่น 32 , 22 , 16 ,
11 ส่วนภาพดอกไม้หรือคนเพื่อให้ฉากหลังเบลอ โดยใช้รูรับแสงกว้าง เช่น 2.8 , 2 , 1.4 เป็นต้น
และที่สาคัญก็คือในขณะกดชัตเตอร์ถ่ายภาพ ท่านจะต้องถือกล้องให้นิ่งๆ มิฉะนั้นภาพจะไหว ไม่ชัดเจน
2.2.แสงพอดี (Normal Exposure)
ภาพที่รับแสงพอดีไม่มืดหรือสว่างเกินไปจะช่วยให้สีอิ่มตัวเป็นธรรมชาติ ท่านจึงควรวัดแสงให้
พอดีทุกครั้ง กล้องถ่ายภาพทุกตัวจะมีเครื่องวัดแสงอยู่แล้ว จึงควรศึกษาวิธีใช้ให้เข้าใจ เช่น ต้องตั้งค่า
ความไวแสงที่ใช้ให้ถูกต้อง ตั้งความเร็วชัตเตอร์และรูรับแสงที่เหมาะสมโดยดูสัญลักษณ์ที่กาหนดมาว่ามี
แสงพอดีหรือยัง เช่น มีจุดไฟสีเขียวปรากฏ หรืออื่นๆแล้วแต่กล้องแต่ละรุ่น ท่านจึงควรศึกษาคู่มือจาก
กล้องที่ท่านได้มา
นอกจากนี้ในปัจจุบันกล้องถ่ายภาพจะมีความทันสมัย สามารถวัดแสงเองได้ในขณะถ่ายภาพ และ
วัดแสงได้พอดีทุกครั้ง เรื่องนี้จึงไม่ค่อยมีปัญหาสาหรับการถ่ายภาพ ยกเว้นเครื่องวัดแสงเสียเท่านั้น
2.3.ประกอบภาพสวยงาม (Good Composition)
หลาย ๆ คนที่มีกล้องรุ่นเดียวกัน ยี่ห้อเดียวกัน และถ่ายภาพเดียวกัน เมื่อภาพออกมาแล้วแต่ภาพ
สวยงามต่างกัน ที่เป็นเช่นนี้เพราะการถ่ายภาพเป็นศิลปะ ต้องเข้าใจการประกอบภาพที่ดี สิ่งที่ช่วยเรียนรู้
อย่างหนึ่งก็คือ ได้ดูภาพจากหนังสือมาก ๆ ก็สามารถนามาใช้ได้ พร้อมกับสร้างสรรค์แนวคิดของท่านลง
ไปในภาพที่สวยงามก็ย่อมเกิดขึ้นได้
2.4.แสงสวยงาม (Good Lighting)
ภาพที่ดีจาเป็นต้องเลือกใช้แสงให้น่าสนใจ เช่น การใช้แสงเป็นขอบรอบ ๆ ตัว (Rim Light) การ
ถ่ายภาพย้อนแสงให้เห็นความบางที่สวยงาม ใช้แสงให้เกิดเงาเพื่อสร้างมิติความลึก ความนูน
2.5.มีเรื่องราว (Story)
ภาพที่สมบูรณ์ควรบอกเรื่องราวที่เกิดในภาพได้เป็นอย่างดี อาจเป็นเรื่องราวของธรรมชาติ เรื่อง
ของอารมณ์ขัน เรื่องของชีวิตความเป็นอยู่ และอื่นๆ เช่น ภาพดอกไม้กับแมลง แม่กับลูก ทิวทัศน์
สายน้า น้าตก ดวงอาทิตย์ สัตว์ และอื่นๆ
ภาพที่ให้เรื่องราวได้ชัดเจนและสมบูรณ์ ก็จะเป็นภาพที่ดีมาก แต่บางภาพอาจมีเรื่องราวเล็กน้อยก็
จะเป็นภาพที่พอดูได้ แต่ถ้าภาพไม่แสดงเรื่องราวเลย ภาพนั้นจะสวยเฉย ๆ ไม่มีชีวิตชีวา
การสร้างภาพให้มีเรื่องราวและมีชีวิตชีวา ทาได้โดยเสริมความสร้างสรรค์ลงในภาพ หรือได้มี
โอกาสดูภาพดีๆที่ผ่านชนะการประกวดมาแล้วมากๆ ทาให้ท่านสามารถเพิ่มเติมแนวคิดของตนเองลงไปได้
ง่าย ซึ่งเป็นแนวทางการสร้างผลงานอีกทางหนึ่ง
บทที่3
วิธีดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อนาเสนอ
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ ได้แก่
- เครื่องคอมพิวเตอร์
- โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ใช้นาเสนอสื่อการสอน
- หนังสือการถ่ายภาพสี
- โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง
- เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงการ
2. นาเสนอชื่อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาขออนุมัติ
3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ใน
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อการเรียนรู้ว่ามีเนื้อหามากน้อยแค่ไหนและต้องศึกษา
เพิ่มเติมจากเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อเรียบเรียงข้อมูลในการทาเนื้อหาต่อไป
4. จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารเพื่อนาเสนอ อาจารย์ที่ปรึกษา
5. สร้างชิ้นงาน โดยโปรแกรม Flip Album Pro 6.0
6. ประเมินคุณภาพชิ้นงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 คน
7. ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงาน
8. ทดลองชิ้นงานวีดิโอกับกลุ่มตัวอย่าง
9. เขียนรายงาน จัดทารูปเล่มโครงงานแบบฉบับสมบูรณ์
10.บันทึกลง CD-ROM
11.นาผลงานขึ้น Google Site
ตารางการปฏิบัติงานโครงงาน
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การถ่ายภาพนิ่ง
ลาดับ รายการปฏิบัติ กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน หมาย
เหตุ1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1
ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัด
โครงงาน
2 เสนอเรื่องโครงงานเพื่อขออนุมัติ
3 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
4 รวบรวมข้อมูล
5 สร้างชิ้นงานอิเล็กทรอนิกส์
6
ประเมินคุณภาพชิ้นงาน
อิเล็กทรอนิกส์
7 ปรันปรุงชิ้นงานวีดิทัศน์
8 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่าง
9 วิเคราะห์ข้อมูล
10 เขียนรายงานจัดทารูปเล่ม
11 นาผลงานขึ้น google site
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
1. การสร้างแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง กราฟิกเบื้องต้นผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างแบบ
ประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.1 ศึกษาเอกสารการประเมินสื่อการสอน
1.2 เลือกแบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ,2542)
1.3 ปรับปรุงแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ให้สอดคล้องกับคุณสมบัติของ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
1.4 กาหนดระดับการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้5ระดับ คือ
ดีมาก คือ 5
ดี คือ 4
ปานกลาง คือ 3
พอใช้ คือ 2
ควรปรับปรุง คือ 1
ซึ่งเกณฑ์การยอมรับคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จะพิจารณาตามคาถามแต่ละข้อข้อที่ผ่าน
เกณฑ์จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยดีถึงดีมาก และคะแนนเฉลี่ยรวมต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ดี จึงจะสามารถนาไป
ทดลองได้ โดยกาหนดระดับการประเมิน 5 ระดับดังนี้
คะแนน 1.00 – 1.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุงอย่างยิ่ง
คะแนน 1.50 – 2.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุง
คะแนน 2.50 – 3.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง
คะแนน 3.50 – 4.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดี
คะแนน 4.50 – 5.00 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.ขั้นตอนการก่อนการทดลอง
1.1ขั้นเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ซึ่งประกอบด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการ
สร้างสื่อการเรียนรู้ แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการสร้างสื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและตารางเวลานัดหมายผู้เรียน
1.2 กาหนดระยะเวลาในการทดลอง
1.3 ติดต่อขออนุญาตใช้ห้องคอมพิวเตอร์
1.4 ติดต่อขออนุญาตอาจารย์รายวิชานากลุ่มตัวอย่างมาทดลองตามวันที่ได้กาหนด
1.5 ทดสอบความพร้อมของห้องคอมพิวเตอร์ก่อนทดลองจริง
2. ขั้นดาเนินการทดลอง
ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้
2.1 ให้กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการทดลองมาทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์โดยใช้เวลา
ประมาณ 20 นาที
2.2 ผู้วิจัยอธิบายกลุ่มตัวอย่างให้ทราบถึงจุดประสงค์ของการทดลอง
2.3ให้กลุ่มตัวอย่างทดลองฝึกการทาเครื่องหมายบนใจความสาคัญ ใช้เวลาประมาณ10นาที
2.4 จากนั้นกลุ่มตัวอย่างศึกษาเนื้อหาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสร้างสื่อ
การเรียนรู้ เป็นรายบุคคล ผู้วิจัยจะคอยสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนตลอดการเรียน ในขั้นตอนนี้จะใช้
เวลา ประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที
2.5 เมื่อหมดเวลา ผู้วิจัยสอบถามถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
2.6 ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที
2.7 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการตรวจให้คะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง มีเกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนนสาหรับคาตอบ
ที่ถูกต้อง และให้ 0 คะแนนสาหรับคาตอบที่ผิดหรือไม่ตอบ และนาคะแนนที่ได้มาหาค่า E1/ E2
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
1. การหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตร E1/ E2โดยนาคะแนนที่ได้จาก
แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม
3. หาค่าระดับความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้
1. สถิติที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตรE1/ E2 ซึ่งดัดแปลงจาก ไชยยศ เรืองสุวรรณ
(2533 : 139) ซึ่งใช้สูตรดังนี้คือ
เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียน
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า
ในบทนี้จะเป็นการนาเสนอเฉพาะผลที่ได้จากการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์
ผลการประเมินชิ้นงานจากผู้เชี่ยวชาญ
การประเมินต้นแบบชิ้นงาน คือ การตรวจสอบสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คน คือ
ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งนี้เพื่อได้รับการแนะนาที่ถูกต้องและช่วยให้สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นให้
ออกมาใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จากผลการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างสื่ออิเล็กทรอนิกส์กับ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (OIC) ผลปรากฏว่าได้0.7 คะแนน หมายถึง สามารถนาสื่อการสอนไปใช้ได้จริง
ผลการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริง
ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นั้นจาเป็นต้องผ่านการตรวจสอบหลากหลายขั้นตอน จึงจะได้สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ที่เต็มประสิทธิภาพ หลังจากผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้จัดทาโครงงานได้ทาการ
แก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญเรียนร้อยแล้วหลังจากนั้นผู้จัดทาโครงงานได้นาสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยแบ่งการทดลองเป็น 3 แบบ ดังนี้
ในการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยใช้
เครื่องมือดังนี้เพื่อหาค่าประสิทธิภาพสื่อการสอน
 แบบทดสอบก่อนเรียน
 แบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
 แบบทดสอบหลังเรียน
และผู้จัดทาโครงงานได้กาหนดเกณฑ์ของค่าประสิทธิภาพสื่อการสอนไว้คือ 70/70
1. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบ
รายบุคคล
จากการทดลองนาสื่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบ
รายบุคคล ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 คน ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์
จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 70/70 ดังนี้
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน
(15)
หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 8 9 10 66 60
2 7 8 9 60 53
3 7 8 10 66 53
โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = หลังเรียน/คะแนนเต็ม*100
E2 = ระหว่างเรียน/คะแนนเต็ม*100
ผลปรากฏว่า
คนที่ 1 ได้66/60 คนที่ 2 ได้60/53 คนที่ 3 ได้66/53
ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบ
รายบุคคล "ไม่ผ่านเกณฑ์ " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ
คือ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ไร้อารมณ์สีสันไม่สดใส ไม่น่าอ่าน
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ตัวหนังสือเยอะไป ทาให้น่าเบื่อ
ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่มต่อไป
2. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม
จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบราย
กลุ่ม ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ค่าประสิทธิภาพสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 70/70 ดังนี้
กลุ่มที่ 1
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน
(15)
หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 7 10 11 73 66
2 8 10 12 80 66
3 8 12 12 80 80
4 6 9 11 73 60
5 8 8 10 66 53
รวม 37 49 59 78 65
กลุ่มที่ 2
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน
(15)
หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 7 11 13 86 73
2 7 12 13 86 80
3 8 12 14 93 80
4 8 12 13 86 80
5 6 12 14 93 80
รวม 36 55 67 89 73
กลุ่มที่ 3
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน
(15)
หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 9 12 12 80 80
2 8 12 13 86 80
3 7 12 13 86 80
โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
ผลปรากฏว่า
กลุ่มที่ 1 78/65 กลุ่มที่ 2 89/73 กลุ่มที่ 3 84/76
ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบราย
กลุ่ม " ผ่านเกณฑ์2 กลุ่ม และ ไม่ผ่านเกณฑ์1 กลุ่ม " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและ
บอกถึงปัญหาที่พบ คือ -สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น เข้าใจยากไปควรกระชับเนื้อหาให้เข้าใจง่ายไม่สับซ้อน
-สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ควรแยกเป็นตอนๆเพื่อให้สามารถกลับไปศึกษาย้อนหลัง
เป็นตอนๆได้
ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริงต่อไป
4 9 11 12 80 73
5 8 10 13 66 86
รวม 41 57 63 84 76
* 100
* 100
3. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริง
จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพ
จริง ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพาจานวน 20 คน ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จาก
เกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 70/70 ดังนี้
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน
(15)
หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 9 12 13 86 80
2 9 12 13 86 80
3 8 12 12 80 80
4 10 11 12 80 73
5 8 12 13 86 80
6 8 11 13 86 73
7 9 12 14 93 80
8 6 13 13 86 86
9 9 11 12 80 73
10 8 12 14 93 80
11 9 11 14 93 73
12 9 11 13 86 73
13 7 13 14 93 86
14 9 12 13 86 80
15 7 11 14 93 73
16 8 12 14 93 80
17 9 10 13 86 66
18 9 11 14 93 73
19 8 11 13 86 73
20 8 12 14 93 80
รวม 167 232 265 88 77
โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
ผลปรากฏว่า
ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบรวม 88/77 ดังนั้น การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ใน
การทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสถานการณ์จริง" ผ่านเกณฑ์ " และผู้ทาการทดสอบได้ให้
ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ
คือ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์อาจจะน่าเบื่อบ้างในบางตอน
ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียนร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในอนาคตต่อไป
* 100
* 100
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า อภิปรายและเสนอแนะ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมุติฐานของการศึกษา
วิธีการดาเนินการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและการอภิปรายผล
การศึกษาและข้อเสนอแนะดังนี้
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. วัตถุประสงค์ทั่วไป
เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate
CS5
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ
2.1 เพื่อสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Adobe
Captivate CS5
2.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นให้ได้ประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ที่กาหนด (70/70)
สมมุติฐานของการศึกษา
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (70/70)
ขอบเขตของการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อให้การศึกษาเป็นไปตามวัตถุประสงค์
ที่ตั้งไว้ ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร
ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คนได้มาโดย
การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหา
ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้
2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว
จานวน 3 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบกลุ่ม จานวน 15 คน
2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบภาคสนาม จานวน 20 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
- เครื่องคอมพิวเตอร์
- โปรแกรม Flip Album Pro 6.0ใช้นาเสนอสื่อการสอน
- หนังสือการถ่ายภาพสี
- โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง
- เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com
ตัวแปรที่ศึกษา
การวิจัยครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ
4.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อ
การสอนด้วยโปรแกรม Flip Album
4.2 ตัวแปรตามคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
สรุปผลการค้นคว้า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88/77 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์
มาตรฐาน 70/70
การอภิปรายผล
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม FlipAlbum ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 70/70 จากผล
การวิเคราะห์ข้อมูลสามารถอภิปรายได้ดังนี้
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วย
โปรแกรม FlipAlbum มีประสิทธิภาพเท่ากับ 90/77 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานของการวิจัยที่ได้ตั้งไว้
สอดคล้องกับวิจัยของ คลีเมนท์ (Clement,1993, quoted in Coutts and Hart,2009 : 19) ที่ได้พัฒนาซีดีรอม
มัลติมีเดียวิชาศิลปะขึ้น และได้รับผลสาเร็จมากในการทดลอง ซึ่งข้อค้นพบนี้สอดคล้องกับการวิจัยของ
เกษมศรี พรหมภิบาล (2543 :บทคัดย่อ) ที่ได้ศึกษาผลของการสอนวิชาการออกแบบ 1 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก พบว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตาม
สมมติฐานที่ตั้งไว้ และสอดคล้องกับการวิจัยของบาร์กเกอร์และกิลเลอร์ ที่ได้ศึกษาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอนภาษาฝรั่งเศสเปรียบเทียบกับการสอนวิธีอื่นๆซึ่งได้รับผลเป็นที่
น่าพอใจ นอกจากนั้น ศิริยงค์ฉัตรโท (2539 : บทคัดย่อ) ได้สรุปในงานวิจัยของเขาว่า การสร้างสื่อ
นาเสนอแบบอินเตอร์แอคทีฟ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
หากจะมาวิเคราะห์กันว่าอะไรคือสิ่งที่ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อการเรียนรู้
ด้วยโปรแกรม FlipAlbum มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 70/70 จะได้ว่า
ประการที่ 1 ได้มีการออกแบบบทเรียนในลักษณะที่มีการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ทาให้บทเรียน
ไม่น่าเบื่อ ผู้เรียนจะต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อทาให้เกิดความกระตือรือร้นใน
การเรียน (ถนอมพร เลาหจรัสแสง,2541 : 62)
ประการที่ 2 ในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น ผู้วิจัยได้ออกแบบอยู่บน
พื้นฐานจิตวิทยาแรงจูงใจ โดยใช้ไฮเปอร์เท็กซ์และแบบทดสอบเป็นแรงจูงใจในการเรียน จากพื้นฐานการ
อยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดการอยากรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีสิ่งที่แนะ (cue)
ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ขึ้น (ธีรพงษ์ วิริยานนท์,2543 : 46; มาลินี จุฑะรพ,2539 : 138;
ไพบูลย์เทวรักษ์,2537 : 113-115;โสภา ชูพิกุลชัย,2521 : 56-62)
จากหลักการดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับขั้นตอนการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีระบบ
ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม FlipAlbum ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์มาตรฐาน 70/70 สามารถนาไปประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
1.1 การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีจานวนหน้ามากๆด้วยโปรแกรม Flip Album Pro
จะมีจานวนการเชื่อมโยง (Link) มากตามไปด้วย ทาให้เสียเวลาค่อนข้างมาก และเกิดการผิดพลาดได้ ง่าย
จึงควรสร้างเป็นเทมเพลท ที่เชื่อมโยงกันไว้เรียบร้อยแล้ว
2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบรูปแบบการบันทึกใจความสาคัญในรูปแบบต่างๆได้แก่ การ
ทาเครื่องหมายลงบนใจความสาคัญโดยตรง, การให้ผู้เรียนคัดลอกหรือพิมพ์ใจความสาคัญลงใน
โปรแกรม (NOTEPAD) และการคัดลอกลงกระดาษ เป็นต้น ว่าจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
หรือไม่
2.2 ควรมีการเปลี่ยนสื่อที่ใช้ในการวิจัยหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์จากซีดีรอมไปเป็น
อินเตอร์เน็ตบ้าง
ข้อมูลผู้จัดทาโครงงาน
ชื่อ นาย ธนกฤษณ์ ทับทิมสุข
รหัสนิสิต 55540126
คณะศึกษาศาสตร์
เทคโนโลยีการศึกษา (พิเศษ)
โทร 0616080780
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. แสงที่เหมาะสมสาหรับการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์นอกเหนือช่วงเวลาที่ฟ้ าเปลี่ยนสีในยามพระอาทิตย์ขึ้น-
ตกยกเว้นแบบใหน
ก.เฉียงๆ ข.ยามเช้า ค.ยามบ่ายแก่ๆ ง.ตอนกลางคืน จ.ตอนแสงจ้าๆ
2.อุปกรณ์ในการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์คืออะไร
ก.GPS ข.ไมโครโฟน ค.ฟิลเตอร์โพลาไรซ์ ง.ลาโพง จ.ไฟ
3.แสงโพลาไรซ์ หรือก็คืออะไร
ก.แสงแฟลช ข.แสงไฟ ค.แสงสะท้อน ง.แสงเทียน จ.แสงจากกระจก
แก้ว
4. การถ่ายภาพบุคคลแบบใด ที่ทาให้แบบมีรูปลักษณ์ผิดส่วนมากที่สุด
ก. ทางยาวโฟกัส 17 มิลลิเมตร ถ่ายภาพใกล้
ข. ทางยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ถ่ายภาพไกล
ค. ทางยาวโฟกัส 105 มิลลิเมตร ถ่ายภาพใกล้
ง. ทางยาวโฟกัส 200 มิลลิเมตรถ่ายภาพไกล
จ.ทางยาวโฟกัส 300 มิลลิเมตรถ่านภาพไกล
5. ข้อใดเป็นการพิจารณาเลือกฉากหลังในการถ่ายภาพบุคคลให้เป็นเอกภาพมากที่สุด
ก. ฉากหลังสว่างมาก ๆ
ข. ฉากหลังมีสีสันฉูดฉาด ลวดลายหลากหลาย
ค. ฉากหลังเป็นท้องฟ้ าและน้าทะเล
ง. ฉากหลังเป็นผนังของอาคารสีแดง
จ.ฉากหลังมืดมากๆ
6. จากรูปข้างบนข้อใดถูก
ก. ใช้แสงที่มีความเปรียบต่างสูง
ข. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัสต่า เปิดช่องรับแสงแคบสุด
ค. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัสสูง เปิดช่องรับแสงกว้าง
ง. ผิดทุกข้อ
จ.ถูกเฉพาะข้อ ก กับ ข
7. ในการใช้แฟลชถ่ายภาพบุคคล ข้อใดต่อไปนี้ทาให้เกิดเงามากที่สุด
ก. ถ่ายภาพแนวตั้ง เงยแฟลชให้สะท้อนกับเพดาน
ข. ถ่ายภาพแนวตั้ง ใช้แสงแฟลชจากกล้องโดยตรง
ค. ถ่ายภาพแนวนอน เงยแฟลชให้สะท้อนกับเพดาน
ง. ถ่ายภาพแนวนอน ใช้แสงแฟลชจากกล้องโดยตรง
จ.ถ่ายภาพแนวแทยง ใช้แฟลชจากกล้องโดยตรง
8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อด้อยจากการใช้แฟลชจากตัวกล้องโดยตรงถ่ายภาพบุคคล
ก. ควบคุมความสว่างของฉากหลังได้ยาก
ข. ทาให้ภาพขาดความคมชัด
ค. ทาให้หน้าของแบบขาววอก
ง. ทาให้หน้าของแบบดูแบน ขาดมิติ
จ.ทาให้หน้าขาว
9. ข้อใดเป็นข้อจากัดในการถ่ายภาพบุคคลด้วยกล้องคอมแพ็คมากที่สุด
ก. ถ่ายภาพมุมกว้างได้ยากมาก
ข. สีเพี้ยน
ค. เข้าใกล้แบบได้น้อย
ง. ทาฉากหลังเบลอได้ยาก
จ.ถ่ายคมชัด
10.การถ่ายภาพไม่ให้สั่นควรใช้อะไร
ก.ขาตั้งกล้อง
ข.แฟรช
ค.ไมโครโฟน
ง.GPS
จ.เลนส์
เฉลย
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน
1.จ
2.ค
3.ค
4. ก
5. ง
6. ค
7. ข
8. ง
9. ง
10.ก

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์paveenada
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 

Mais procurados (20)

บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 

Destaque

โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลกโครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลกKanjana Mawan
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษsakaratyo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสส
โครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสสโครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสส
โครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสสNattaporn Bunmak
 
โครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOK
โครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOKโครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOK
โครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOKthanwaporn
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์Yok Sarinee
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมScott Tape
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษSamrit Kung
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 

Destaque (11)

โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลกโครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสส
โครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสสโครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสส
โครงงานคอมพิวเตอร์อันใหม่ล่าสุดดสัสส
 
โครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOK
โครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOKโครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOK
โครงงาน เรื่อง สหราชอาณาจักร E-BOOK
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษ
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 

Semelhante a รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ

ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8Pornthip Nabnain
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8iceskywalker
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8iceskywalker
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมpaponteein
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22Rungroj Ssan
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsorfreedom
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8chutimajang
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิมYIMMIE89
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์bscreech
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6Tanatchapan Jakmanee
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 

Semelhante a รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ (20)

Aj.Phubet's assignment
Aj.Phubet's assignmentAj.Phubet's assignment
Aj.Phubet's assignment
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
 

รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ

  • 1. รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ วิชาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา : การศึกษาอิสระ โดย นาย ธนกฤษณ์ ทับทิมสุข รหัส 55540126 สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เสนอ ดร.ภูเบศ เลื่อมใส
  • 2. คานา ระบบสารสนเทศมีความสาคัญและความจาเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้จาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลง ที่ เกิดขึ้น สามารถนาเทคโนโลยีนั้นมาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะ ด้านการศึกษา ที่ส่งผลให้นาเทคโนโลยีมาใช้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เกิดจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี พัฒนาเอกสารให้อยู่ในรูปสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการให้ความรู้แก่คนที่สนใจอีกช่องทางหนึ่ง ส่งเสริมให้เข้าถึงการเรียนรู้ อย่างสะดวก รวดเร็ว ตามความต้องการและศักยภาพของแต่ละบุคคลมีคุณลักษณะสาคัญที่ช่วย กระตุ้นให้เกิดความใฝ่รู้ใฝ่เรียน สนุกสนาน จากภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคู่มือการสร้าง e-Book ด้วยโปรแกรม Flip Album 6 Pro เล่มนี้จะเป็นประโยชน์คนที่สนใจ ในการพัฒนาสื่อเอกสารเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต นายธนกฤษณ์ ทับทิมสุข 55540126 ผู้จัดทา
  • 4. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน มนุษย์ต้องการเก็บความทรงจาจากการมองเห็น จึงได้คิดค้นอุปกรณ์ในการเก็บภาพ ขึ้นมา ซึ่งปัจจุบันเรียกว่ากล้องถ่ายภาพนั่นเอง กล้องถ่ายภาพได้มีวิวัฒนาการเรื่อยมาจากกล้อง ฟิล์ม จนถึง กล้องดิจิตอล ที่มีระบบการใช้งานง่าย ช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากขึ้น แต่การถ่ายภาพให้ออกมา มีองค์ประกอบดีและสวยงาม เราควรเรียนรู้เทคนิคต่างๆ เช่น การจัด องค์ประกอบภาพ การคานึงถึง ลายเส้นที่อยู่ในภาพ เพื่อให้ภาพออกมาสมบูรณ์ สวยงาม และมี ความหมาย ก่อนที่เราจะเรียนรู้เทคนิคสาหรับการถ่ายภาพ เราต้องศึกษาการถ่ายภาพขั้นพื้นฐาน เพื่อต่อยอด ความคิดสร้างสรรค์ของตนเองต่อไป ข้าพเจ้าในฐานะนิสิตสาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงมีความสนใจที่จะจัดทาโครงงาน การประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เรื่อง เทคนิคการถ่ายภาพ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้รู้ทักษะเกี่ยวกับเทคนิคการถ่ายภาพให้มากขึ้น 2.เพื่อเป็นการปรับปรุงเทคนิค และพัฒนาความรู้และสามารถนาความรู้นั้นไปใช้ให้เกิด ประโยชน์
  • 5. ขอบข่ายโครงงาน - โครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อนาเสนอ - วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ได้แก่ - หนังสือ การถ่ายภาพสี (เนื้อหา) -โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 - เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com ผลที่คาดว่าจะได้รับ - ได้รับความรู้เกี่ยวกับเทคนิคที่สาคัญเกี่ยวกับการถ่ายภาพ - เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนาเสนอได้อย่างมีคุณภาพ
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานเรื่องเทคนิคการถ่ายภาพนิ่ง ได้ศึกษาจากอินเตอร์เน็ตและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1. Electronic Book (e-Book) 2. หลักการถ่ายภาพที่ดี 3. ภาพประกอบในการทางาน ( www.google.com) 1. Electronic Book (e-Book) หมายถึงหนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดย ปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์ และ ออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถ แทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติ เหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป 1.1ข้อดีของ e-Book 1. อ่านที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลา เนื่องจากพกไปได้ตลอดและได้จานวนมาก 2. ประหยัดการตัดไม้ทาลายป่า เพราะไม่ต้องตัดไม้มาทากระดาษ 3. เก็บรักษาได้ง่าย ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ประหยัดค่าเก็บรักษา 4. ค้นหาข้อความได้ยกเว้นว่าอยู่ในลักษณะของภาพ 5. ใช้พื้นที่น้อยในการจัดเก็บ (cd1 แผ่นสามารถเก็บ e-Book ได้ประมาณ 500 เล่ม) 6. อ่านได้ในที่มืด หรือแสงน้อย
  • 7. 7. ทาสาเนาได้ง่าย 8. จาหน่ายได้ในราคาถูกกว่าในรูปแบบหนังสือ 9. อ่านได้ไม่จากัดจานวนครั้ง เพราะไม่ยับหรือเสียหายเหมือนกระดาษ 10. สะดวกสบาย ไม่ต้องเดินทาง แค่คลิกเดียวก็สามารถเลือกอ่านหนังสือที่ต้องการได้ทันที 11. เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาธรรมชาติ โดยลดการใช้กระดาษกับ True e-Book 1.2 ข้อเสียของ e-Book 1. ต้องอาศัยพลังงานในการอ่านตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าหรือแบตตารี่ 2. เสียสุขภาพสายตา จากการได้รับแสงจากอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ 3. ขาดความรู้สึก หรืออรรถรส หรือความคลาสสิค 4. อาจเกิดปัญหากับการ ลง hardware หรือ software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า 5. ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย 6. การอ่านอาจเกิดอันตรายต่อสายตา 7. เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่าย 8. ไม่เหมาะกับบางformat เช่น รูปวาด รูปถ่าย แผนที่ใหญ่ เป็นต้น 1.3 ประโยชน์ของ e-Book 1.3.1สาหรับผู้อ่าน 1. ขั้นตอนง่ายในการอ่าน และค้นหาหนังสือ 2. ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บหนังสือ 3. อ่านหนังสือได้จากทุกที่ที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
  • 8. 1.3.2 สาหรับห้องสมุด 1. สะดวกในการให้บริการหนังสือ 2. ไม่ต้องใช้สถานที่มากในการจัดเก็บหนังสือ และไม่เสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ 3. ลดงานที่เกิดจากการซ่อม จัดเก็บ และการจัดเรียงหนังสือ 4. ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงานมาดูแลและซ่อมแซมหนังสือ 5. มีรายงานแสดงการเข้ามาอ่านหนังสือ 1.3.3สาหรับสานักพิมพ์และผู้เขียน 1. ลดขั้นตอนในการจัดทาหนังสือ 2. ลดค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการจัดพิมพ์หนังสือ 3. ลดค่าใช้จ่ายในการจัดจาหน่ายผ่านช่องทางอื่นๆ 4. เพิ่มช่องทางในการจาหน่ายหนังสือ 5. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ตรงถึงผู้อ่าน 1.4 ข้อจากัดของ E-book เนื่องจากอาจเกิดปัญหากับการ ลง Hardware หรือ Software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า ดังนั้นจึงต้อง มีโปรแกรมและเครื่องมือในการอื่น คือ Hardware ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ พกพาอื่นๆ พร้อมทั้งระบบติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือSoftware ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น Organizer แบบพกพาPocketPC หรือ PDA เป็นต้น การดึงข้อมูล E-Book ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ ให้บริการทางด้านนี้มาอ่าน ก็จะใช้วิธีการ Downloadผ่านทางอินเตอร์เน็ตเสียเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม มิใช่ว่า Hardwareทุกชนิดจะอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้เนื่องจากมีข้อจากัดของชนิดไฟล์บางประเภท นั่นเอง ซึ่งต้องมีการแก้ปัญหาด้วยการนา Software บางตัวมาช่วยสาหรับ Software ที่ใช้งานกับ E-Book ใน ปัจจุบันมีสองประเภทคือ Software ที่ใช้อ่านข้อมูลจาก E-Book และ Software ที่ใช้เขียนข้อมูลออกมาเป็น
  • 9. E-Book นอกจากนี้ผู้ใช้ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย คานึงเสมอว่าการอ่านอาจเกิด อันตรายต่อสายตา E-Bookนี้ ไม่เหมาะกับบางformatเช่น รูปวาด รูปถ่าย แผนที่ใหญ่ เป็นต้น อ้างอิง : http://06550128-01.blogspot.com/ 2. หลักการถ่ายภาพที่ดี การถ่ายภาพจะสวยงามเป็นที่ชื่นชมสาหรับผู้ดู ควรมีองค์ประกอบ 5 ประการดังนี้คือ 2.1.ภาพชัดเจน (In Focus) ภาพที่ดีต้องปรับโฟกัสให้ชัดเจนในจุดที่ต้องการซึ่งอาจชัดเฉพาะจุด หรือชัดตลอดภาพก็ได้ขึ้นกับ ลักษณะภาพที่ต้องการ เช่น ภาพทิวทัศน์ ควรชัดตลอดภาพโดยเปิดรูรับแสงให้แคบๆ เช่น 32 , 22 , 16 , 11 ส่วนภาพดอกไม้หรือคนเพื่อให้ฉากหลังเบลอ โดยใช้รูรับแสงกว้าง เช่น 2.8 , 2 , 1.4 เป็นต้น และที่สาคัญก็คือในขณะกดชัตเตอร์ถ่ายภาพ ท่านจะต้องถือกล้องให้นิ่งๆ มิฉะนั้นภาพจะไหว ไม่ชัดเจน
  • 10. 2.2.แสงพอดี (Normal Exposure) ภาพที่รับแสงพอดีไม่มืดหรือสว่างเกินไปจะช่วยให้สีอิ่มตัวเป็นธรรมชาติ ท่านจึงควรวัดแสงให้ พอดีทุกครั้ง กล้องถ่ายภาพทุกตัวจะมีเครื่องวัดแสงอยู่แล้ว จึงควรศึกษาวิธีใช้ให้เข้าใจ เช่น ต้องตั้งค่า ความไวแสงที่ใช้ให้ถูกต้อง ตั้งความเร็วชัตเตอร์และรูรับแสงที่เหมาะสมโดยดูสัญลักษณ์ที่กาหนดมาว่ามี แสงพอดีหรือยัง เช่น มีจุดไฟสีเขียวปรากฏ หรืออื่นๆแล้วแต่กล้องแต่ละรุ่น ท่านจึงควรศึกษาคู่มือจาก กล้องที่ท่านได้มา นอกจากนี้ในปัจจุบันกล้องถ่ายภาพจะมีความทันสมัย สามารถวัดแสงเองได้ในขณะถ่ายภาพ และ วัดแสงได้พอดีทุกครั้ง เรื่องนี้จึงไม่ค่อยมีปัญหาสาหรับการถ่ายภาพ ยกเว้นเครื่องวัดแสงเสียเท่านั้น
  • 11. 2.3.ประกอบภาพสวยงาม (Good Composition) หลาย ๆ คนที่มีกล้องรุ่นเดียวกัน ยี่ห้อเดียวกัน และถ่ายภาพเดียวกัน เมื่อภาพออกมาแล้วแต่ภาพ สวยงามต่างกัน ที่เป็นเช่นนี้เพราะการถ่ายภาพเป็นศิลปะ ต้องเข้าใจการประกอบภาพที่ดี สิ่งที่ช่วยเรียนรู้ อย่างหนึ่งก็คือ ได้ดูภาพจากหนังสือมาก ๆ ก็สามารถนามาใช้ได้ พร้อมกับสร้างสรรค์แนวคิดของท่านลง ไปในภาพที่สวยงามก็ย่อมเกิดขึ้นได้
  • 12. 2.4.แสงสวยงาม (Good Lighting) ภาพที่ดีจาเป็นต้องเลือกใช้แสงให้น่าสนใจ เช่น การใช้แสงเป็นขอบรอบ ๆ ตัว (Rim Light) การ ถ่ายภาพย้อนแสงให้เห็นความบางที่สวยงาม ใช้แสงให้เกิดเงาเพื่อสร้างมิติความลึก ความนูน
  • 13. 2.5.มีเรื่องราว (Story) ภาพที่สมบูรณ์ควรบอกเรื่องราวที่เกิดในภาพได้เป็นอย่างดี อาจเป็นเรื่องราวของธรรมชาติ เรื่อง ของอารมณ์ขัน เรื่องของชีวิตความเป็นอยู่ และอื่นๆ เช่น ภาพดอกไม้กับแมลง แม่กับลูก ทิวทัศน์ สายน้า น้าตก ดวงอาทิตย์ สัตว์ และอื่นๆ ภาพที่ให้เรื่องราวได้ชัดเจนและสมบูรณ์ ก็จะเป็นภาพที่ดีมาก แต่บางภาพอาจมีเรื่องราวเล็กน้อยก็ จะเป็นภาพที่พอดูได้ แต่ถ้าภาพไม่แสดงเรื่องราวเลย ภาพนั้นจะสวยเฉย ๆ ไม่มีชีวิตชีวา การสร้างภาพให้มีเรื่องราวและมีชีวิตชีวา ทาได้โดยเสริมความสร้างสรรค์ลงในภาพ หรือได้มี โอกาสดูภาพดีๆที่ผ่านชนะการประกวดมาแล้วมากๆ ทาให้ท่านสามารถเพิ่มเติมแนวคิดของตนเองลงไปได้ ง่าย ซึ่งเป็นแนวทางการสร้างผลงานอีกทางหนึ่ง
  • 14. บทที่3 วิธีดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อนาเสนอ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ ได้แก่ - เครื่องคอมพิวเตอร์ - โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ใช้นาเสนอสื่อการสอน - หนังสือการถ่ายภาพสี - โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง - เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงการ 2. นาเสนอชื่อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาขออนุมัติ 3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ใน การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อการเรียนรู้ว่ามีเนื้อหามากน้อยแค่ไหนและต้องศึกษา เพิ่มเติมจากเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อเรียบเรียงข้อมูลในการทาเนื้อหาต่อไป 4. จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารเพื่อนาเสนอ อาจารย์ที่ปรึกษา 5. สร้างชิ้นงาน โดยโปรแกรม Flip Album Pro 6.0 6. ประเมินคุณภาพชิ้นงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 คน 7. ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงาน 8. ทดลองชิ้นงานวีดิโอกับกลุ่มตัวอย่าง 9. เขียนรายงาน จัดทารูปเล่มโครงงานแบบฉบับสมบูรณ์ 10.บันทึกลง CD-ROM 11.นาผลงานขึ้น Google Site
  • 15. ตารางการปฏิบัติงานโครงงาน การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การถ่ายภาพนิ่ง ลาดับ รายการปฏิบัติ กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน หมาย เหตุ1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัด โครงงาน 2 เสนอเรื่องโครงงานเพื่อขออนุมัติ 3 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 4 รวบรวมข้อมูล 5 สร้างชิ้นงานอิเล็กทรอนิกส์ 6 ประเมินคุณภาพชิ้นงาน อิเล็กทรอนิกส์ 7 ปรันปรุงชิ้นงานวีดิทัศน์ 8 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่าง 9 วิเคราะห์ข้อมูล 10 เขียนรายงานจัดทารูปเล่ม 11 นาผลงานขึ้น google site การสร้างเครื่องมือในการวิจัย 1. การสร้างแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง กราฟิกเบื้องต้นผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างแบบ ประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.1 ศึกษาเอกสารการประเมินสื่อการสอน 1.2 เลือกแบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ,2542) 1.3 ปรับปรุงแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ให้สอดคล้องกับคุณสมบัติของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
  • 16. 1.4 กาหนดระดับการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้5ระดับ คือ ดีมาก คือ 5 ดี คือ 4 ปานกลาง คือ 3 พอใช้ คือ 2 ควรปรับปรุง คือ 1 ซึ่งเกณฑ์การยอมรับคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จะพิจารณาตามคาถามแต่ละข้อข้อที่ผ่าน เกณฑ์จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยดีถึงดีมาก และคะแนนเฉลี่ยรวมต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ดี จึงจะสามารถนาไป ทดลองได้ โดยกาหนดระดับการประเมิน 5 ระดับดังนี้ คะแนน 1.00 – 1.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุงอย่างยิ่ง คะแนน 1.50 – 2.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุง คะแนน 2.50 – 3.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง คะแนน 3.50 – 4.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดี คะแนน 4.50 – 5.00 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.ขั้นตอนการก่อนการทดลอง 1.1ขั้นเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ซึ่งประกอบด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการ สร้างสื่อการเรียนรู้ แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการสร้างสื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและตารางเวลานัดหมายผู้เรียน
  • 17. 1.2 กาหนดระยะเวลาในการทดลอง 1.3 ติดต่อขออนุญาตใช้ห้องคอมพิวเตอร์ 1.4 ติดต่อขออนุญาตอาจารย์รายวิชานากลุ่มตัวอย่างมาทดลองตามวันที่ได้กาหนด 1.5 ทดสอบความพร้อมของห้องคอมพิวเตอร์ก่อนทดลองจริง 2. ขั้นดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้ 2.1 ให้กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการทดลองมาทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์โดยใช้เวลา ประมาณ 20 นาที 2.2 ผู้วิจัยอธิบายกลุ่มตัวอย่างให้ทราบถึงจุดประสงค์ของการทดลอง 2.3ให้กลุ่มตัวอย่างทดลองฝึกการทาเครื่องหมายบนใจความสาคัญ ใช้เวลาประมาณ10นาที 2.4 จากนั้นกลุ่มตัวอย่างศึกษาเนื้อหาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสร้างสื่อ การเรียนรู้ เป็นรายบุคคล ผู้วิจัยจะคอยสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนตลอดการเรียน ในขั้นตอนนี้จะใช้ เวลา ประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที 2.5 เมื่อหมดเวลา ผู้วิจัยสอบถามถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน 2.6 ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที 2.7 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการตรวจให้คะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียน แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง มีเกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนนสาหรับคาตอบ ที่ถูกต้อง และให้ 0 คะแนนสาหรับคาตอบที่ผิดหรือไม่ตอบ และนาคะแนนที่ได้มาหาค่า E1/ E2 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. การหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตร E1/ E2โดยนาคะแนนที่ได้จาก แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  • 18. 2. ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม 3. หาค่าระดับความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้ 1. สถิติที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตรE1/ E2 ซึ่งดัดแปลงจาก ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533 : 139) ซึ่งใช้สูตรดังนี้คือ เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียน
  • 19. บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า ในบทนี้จะเป็นการนาเสนอเฉพาะผลที่ได้จากการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ผลการประเมินชิ้นงานจากผู้เชี่ยวชาญ การประเมินต้นแบบชิ้นงาน คือ การตรวจสอบสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คน คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งนี้เพื่อได้รับการแนะนาที่ถูกต้องและช่วยให้สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นให้ ออกมาใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จากผลการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างสื่ออิเล็กทรอนิกส์กับ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (OIC) ผลปรากฏว่าได้0.7 คะแนน หมายถึง สามารถนาสื่อการสอนไปใช้ได้จริง ผลการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริง ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นั้นจาเป็นต้องผ่านการตรวจสอบหลากหลายขั้นตอน จึงจะได้สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ที่เต็มประสิทธิภาพ หลังจากผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้จัดทาโครงงานได้ทาการ แก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญเรียนร้อยแล้วหลังจากนั้นผู้จัดทาโครงงานได้นาสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยแบ่งการทดลองเป็น 3 แบบ ดังนี้ ในการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยใช้ เครื่องมือดังนี้เพื่อหาค่าประสิทธิภาพสื่อการสอน  แบบทดสอบก่อนเรียน  แบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน  แบบทดสอบหลังเรียน และผู้จัดทาโครงงานได้กาหนดเกณฑ์ของค่าประสิทธิภาพสื่อการสอนไว้คือ 70/70
  • 20. 1. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบ รายบุคคล จากการทดลองนาสื่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบ รายบุคคล ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 คน ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 70/70 ดังนี้ คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน (15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 8 9 10 66 60 2 7 8 9 60 53 3 7 8 10 66 53 โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = หลังเรียน/คะแนนเต็ม*100 E2 = ระหว่างเรียน/คะแนนเต็ม*100 ผลปรากฏว่า คนที่ 1 ได้66/60 คนที่ 2 ได้60/53 คนที่ 3 ได้66/53 ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบ รายบุคคล "ไม่ผ่านเกณฑ์ " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ คือ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ไร้อารมณ์สีสันไม่สดใส ไม่น่าอ่าน - สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ตัวหนังสือเยอะไป ทาให้น่าเบื่อ ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่มต่อไป
  • 21. 2. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบราย กลุ่ม ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ค่าประสิทธิภาพสื่อ อิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 70/70 ดังนี้ กลุ่มที่ 1 คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน (15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 7 10 11 73 66 2 8 10 12 80 66 3 8 12 12 80 80 4 6 9 11 73 60 5 8 8 10 66 53 รวม 37 49 59 78 65 กลุ่มที่ 2 คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน (15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 7 11 13 86 73 2 7 12 13 86 80 3 8 12 14 93 80 4 8 12 13 86 80 5 6 12 14 93 80 รวม 36 55 67 89 73 กลุ่มที่ 3 คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน (15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 9 12 12 80 80 2 8 12 13 86 80 3 7 12 13 86 80
  • 22. โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด ผลปรากฏว่า กลุ่มที่ 1 78/65 กลุ่มที่ 2 89/73 กลุ่มที่ 3 84/76 ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบราย กลุ่ม " ผ่านเกณฑ์2 กลุ่ม และ ไม่ผ่านเกณฑ์1 กลุ่ม " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและ บอกถึงปัญหาที่พบ คือ -สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น เข้าใจยากไปควรกระชับเนื้อหาให้เข้าใจง่ายไม่สับซ้อน -สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ควรแยกเป็นตอนๆเพื่อให้สามารถกลับไปศึกษาย้อนหลัง เป็นตอนๆได้ ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริงต่อไป 4 9 11 12 80 73 5 8 10 13 66 86 รวม 41 57 63 84 76 * 100 * 100
  • 23. 3. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริง จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพ จริง ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพาจานวน 20 คน ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จาก เกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 70/70 ดังนี้ คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน (15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 9 12 13 86 80 2 9 12 13 86 80 3 8 12 12 80 80 4 10 11 12 80 73 5 8 12 13 86 80 6 8 11 13 86 73 7 9 12 14 93 80 8 6 13 13 86 86 9 9 11 12 80 73 10 8 12 14 93 80 11 9 11 14 93 73 12 9 11 13 86 73 13 7 13 14 93 86 14 9 12 13 86 80 15 7 11 14 93 73 16 8 12 14 93 80 17 9 10 13 86 66 18 9 11 14 93 73 19 8 11 13 86 73 20 8 12 14 93 80 รวม 167 232 265 88 77
  • 24. โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด ผลปรากฏว่า ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบรวม 88/77 ดังนั้น การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ใน การทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสถานการณ์จริง" ผ่านเกณฑ์ " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ คือ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์อาจจะน่าเบื่อบ้างในบางตอน ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียนร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในอนาคตต่อไป * 100 * 100
  • 25. บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า อภิปรายและเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมุติฐานของการศึกษา วิธีการดาเนินการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและการอภิปรายผล การศึกษาและข้อเสนอแนะดังนี้ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate CS5 2. วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.1 เพื่อสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate CS5 2.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นให้ได้ประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ที่กาหนด (70/70) สมมุติฐานของการศึกษา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (70/70) ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อให้การศึกษาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้
  • 26. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คนได้มาโดย การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหา ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้ 2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว จานวน 3 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบกลุ่ม จานวน 15 คน 2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบภาคสนาม จานวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา - เครื่องคอมพิวเตอร์ - โปรแกรม Flip Album Pro 6.0ใช้นาเสนอสื่อการสอน - หนังสือการถ่ายภาพสี - โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง - เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com
  • 27. ตัวแปรที่ศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ 4.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อ การสอนด้วยโปรแกรม Flip Album 4.2 ตัวแปรตามคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สรุปผลการค้นคว้า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88/77 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน 70/70 การอภิปรายผล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม FlipAlbum ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 70/70 จากผล การวิเคราะห์ข้อมูลสามารถอภิปรายได้ดังนี้ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วย โปรแกรม FlipAlbum มีประสิทธิภาพเท่ากับ 90/77 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานของการวิจัยที่ได้ตั้งไว้ สอดคล้องกับวิจัยของ คลีเมนท์ (Clement,1993, quoted in Coutts and Hart,2009 : 19) ที่ได้พัฒนาซีดีรอม มัลติมีเดียวิชาศิลปะขึ้น และได้รับผลสาเร็จมากในการทดลอง ซึ่งข้อค้นพบนี้สอดคล้องกับการวิจัยของ เกษมศรี พรหมภิบาล (2543 :บทคัดย่อ) ที่ได้ศึกษาผลของการสอนวิชาการออกแบบ 1 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก พบว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ และสอดคล้องกับการวิจัยของบาร์กเกอร์และกิลเลอร์ ที่ได้ศึกษาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอนภาษาฝรั่งเศสเปรียบเทียบกับการสอนวิธีอื่นๆซึ่งได้รับผลเป็นที่ น่าพอใจ นอกจากนั้น ศิริยงค์ฉัตรโท (2539 : บทคัดย่อ) ได้สรุปในงานวิจัยของเขาว่า การสร้างสื่อ นาเสนอแบบอินเตอร์แอคทีฟ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หากจะมาวิเคราะห์กันว่าอะไรคือสิ่งที่ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างสื่อการเรียนรู้ ด้วยโปรแกรม FlipAlbum มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 70/70 จะได้ว่า
  • 28. ประการที่ 1 ได้มีการออกแบบบทเรียนในลักษณะที่มีการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ทาให้บทเรียน ไม่น่าเบื่อ ผู้เรียนจะต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อทาให้เกิดความกระตือรือร้นใน การเรียน (ถนอมพร เลาหจรัสแสง,2541 : 62) ประการที่ 2 ในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น ผู้วิจัยได้ออกแบบอยู่บน พื้นฐานจิตวิทยาแรงจูงใจ โดยใช้ไฮเปอร์เท็กซ์และแบบทดสอบเป็นแรงจูงใจในการเรียน จากพื้นฐานการ อยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดการอยากรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีสิ่งที่แนะ (cue) ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ขึ้น (ธีรพงษ์ วิริยานนท์,2543 : 46; มาลินี จุฑะรพ,2539 : 138; ไพบูลย์เทวรักษ์,2537 : 113-115;โสภา ชูพิกุลชัย,2521 : 56-62) จากหลักการดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับขั้นตอนการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีระบบ ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม FlipAlbum ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์มาตรฐาน 70/70 สามารถนาไปประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1.1 การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีจานวนหน้ามากๆด้วยโปรแกรม Flip Album Pro จะมีจานวนการเชื่อมโยง (Link) มากตามไปด้วย ทาให้เสียเวลาค่อนข้างมาก และเกิดการผิดพลาดได้ ง่าย จึงควรสร้างเป็นเทมเพลท ที่เชื่อมโยงกันไว้เรียบร้อยแล้ว 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบรูปแบบการบันทึกใจความสาคัญในรูปแบบต่างๆได้แก่ การ ทาเครื่องหมายลงบนใจความสาคัญโดยตรง, การให้ผู้เรียนคัดลอกหรือพิมพ์ใจความสาคัญลงใน โปรแกรม (NOTEPAD) และการคัดลอกลงกระดาษ เป็นต้น ว่าจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือไม่ 2.2 ควรมีการเปลี่ยนสื่อที่ใช้ในการวิจัยหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์จากซีดีรอมไปเป็น อินเตอร์เน็ตบ้าง
  • 29. ข้อมูลผู้จัดทาโครงงาน ชื่อ นาย ธนกฤษณ์ ทับทิมสุข รหัสนิสิต 55540126 คณะศึกษาศาสตร์ เทคโนโลยีการศึกษา (พิเศษ) โทร 0616080780
  • 30. แบบทดสอบก่อนเรียน 1. แสงที่เหมาะสมสาหรับการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์นอกเหนือช่วงเวลาที่ฟ้ าเปลี่ยนสีในยามพระอาทิตย์ขึ้น- ตกยกเว้นแบบใหน ก.เฉียงๆ ข.ยามเช้า ค.ยามบ่ายแก่ๆ ง.ตอนกลางคืน จ.ตอนแสงจ้าๆ 2.อุปกรณ์ในการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์คืออะไร ก.GPS ข.ไมโครโฟน ค.ฟิลเตอร์โพลาไรซ์ ง.ลาโพง จ.ไฟ 3.แสงโพลาไรซ์ หรือก็คืออะไร ก.แสงแฟลช ข.แสงไฟ ค.แสงสะท้อน ง.แสงเทียน จ.แสงจากกระจก แก้ว 4. การถ่ายภาพบุคคลแบบใด ที่ทาให้แบบมีรูปลักษณ์ผิดส่วนมากที่สุด ก. ทางยาวโฟกัส 17 มิลลิเมตร ถ่ายภาพใกล้ ข. ทางยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ถ่ายภาพไกล ค. ทางยาวโฟกัส 105 มิลลิเมตร ถ่ายภาพใกล้ ง. ทางยาวโฟกัส 200 มิลลิเมตรถ่ายภาพไกล จ.ทางยาวโฟกัส 300 มิลลิเมตรถ่านภาพไกล 5. ข้อใดเป็นการพิจารณาเลือกฉากหลังในการถ่ายภาพบุคคลให้เป็นเอกภาพมากที่สุด ก. ฉากหลังสว่างมาก ๆ ข. ฉากหลังมีสีสันฉูดฉาด ลวดลายหลากหลาย ค. ฉากหลังเป็นท้องฟ้ าและน้าทะเล ง. ฉากหลังเป็นผนังของอาคารสีแดง จ.ฉากหลังมืดมากๆ 6. จากรูปข้างบนข้อใดถูก ก. ใช้แสงที่มีความเปรียบต่างสูง ข. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัสต่า เปิดช่องรับแสงแคบสุด ค. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัสสูง เปิดช่องรับแสงกว้าง ง. ผิดทุกข้อ
  • 31. จ.ถูกเฉพาะข้อ ก กับ ข 7. ในการใช้แฟลชถ่ายภาพบุคคล ข้อใดต่อไปนี้ทาให้เกิดเงามากที่สุด ก. ถ่ายภาพแนวตั้ง เงยแฟลชให้สะท้อนกับเพดาน ข. ถ่ายภาพแนวตั้ง ใช้แสงแฟลชจากกล้องโดยตรง ค. ถ่ายภาพแนวนอน เงยแฟลชให้สะท้อนกับเพดาน ง. ถ่ายภาพแนวนอน ใช้แสงแฟลชจากกล้องโดยตรง จ.ถ่ายภาพแนวแทยง ใช้แฟลชจากกล้องโดยตรง 8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อด้อยจากการใช้แฟลชจากตัวกล้องโดยตรงถ่ายภาพบุคคล ก. ควบคุมความสว่างของฉากหลังได้ยาก ข. ทาให้ภาพขาดความคมชัด ค. ทาให้หน้าของแบบขาววอก ง. ทาให้หน้าของแบบดูแบน ขาดมิติ จ.ทาให้หน้าขาว 9. ข้อใดเป็นข้อจากัดในการถ่ายภาพบุคคลด้วยกล้องคอมแพ็คมากที่สุด ก. ถ่ายภาพมุมกว้างได้ยากมาก ข. สีเพี้ยน ค. เข้าใกล้แบบได้น้อย ง. ทาฉากหลังเบลอได้ยาก จ.ถ่ายคมชัด 10.การถ่ายภาพไม่ให้สั่นควรใช้อะไร ก.ขาตั้งกล้อง ข.แฟรช ค.ไมโครโฟน ง.GPS จ.เลนส์ เฉลย