SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
School   การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ จากล่างสู่บน โดย นางรัตนา   เอื้อมสุวรรณ Bottom-up ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ทบทวนการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 7.วิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตร 1. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา  (ผู้บริหาร/ครูผู้สอน) 6.ใช้หลักสูตรสถานศึกษา 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 5.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาให้ความเห็นชอบ 4.ตรวจพิจารณาคุณภาพหลักสูตร 3.จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา (ระดับสถานศึกษา/ระดับชั้นเรียน)
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรอิงมาตรฐาน(Standards – Based Curriculum) หลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นกรอบในการกำหนดสาระ ทักษะ กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถบรรลุมาตรฐานที่กำหนด
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ,[object Object]
 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 โครงสร้างหลักสูตร
เกณฑ์การวัดผลประเมินผลสพฐ. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ,[object Object],+ การวัดประเมินคุณภาพระดับท้องถิ่น สพท. หลักสูตรสถานศึกษา แกนกลาง +  ส่วนที่สถานศึกษาเพิ่มเติม+ ความต้องการท้องถิ่น โรงเรียน
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา(School   Curriculum) แผนหรือแนวทางในการจัดประมวลความรู้  และประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งจัดทำโดยบุคคลในระดับสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ทักษะและคุณธรรมจริยธรรมตามหลักสูตรแกนกลางและส่งเสริมให้รู้จักตนเองมีชีวิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน  สังคม และโลกอย่างมีความสุข
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การดำเนินการระดับสถานศึกษาองค์ประกอบสำคัญ ส่วนนำ โครงสร้างหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การวัดและประเมินผลและการจบหลักสูตร  ผลดำเนินการระดับชั้นเรียน องค์ประกอบสำคัญ การจัดทำผังมโนทัศน์ โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ศึกษา/วิเคราะห์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ศึกษา/วิเคราะห์ นโยบายรัฐ/ข้อมูล/สารสนเทศท้องถิ่น/ปัญหาและสิ่งที่ควรพัฒนา/จุดเน้นของสถานศึกษา แผนภูมิแนวทางการจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น จัดทำกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (สพท./คณะกรรมการ) จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น(สถานศึกษา/คณะกรรมการ) จัดทำอธิบายรายวิชา/หน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (ชั้นเรียน/ครู)
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การนำกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสู่หลักสูตรสถานศึกษา 2.จัดเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. สอดแทรกในรายวิชาพื้นฐาน 3.จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  รหัสวิชา ส21102   ราย วิชา  ประวัติศาสตร์ 1  ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปีที่ 1น้ำหนัก 0.5 นก.  20 ชั่วโมง สาระที่ 4  ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1    เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายราย วิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายราย วิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สาระที่ 4  ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.2   เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่องตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายราย วิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ส 21102  รายวิชา  ประวัติศาสตร์ 1        ภาคเรียนที่  1      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา   20  ชั่วโมง                                                                 จำนวน  0.5  หน่วยกิต               	ศึกษา อธิบาย ยกตัวอย่าง การใช้เวลา ช่วงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ที่ปรากฏ ในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย และประวัติศาสตร์เมืองร้อยเอ็ด ที่มาของศักราชที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย เอกสาร ประวัติศาสตร์เมืองร้อยเอ็ดได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ. วิธีการเทียบศักราชต่างๆ และตัวอย่าง   การเทียบ ตัวอย่างการใช้ศักราชต่าง ๆ ที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์  และวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มี ความ สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ตัวอย่างหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ทั้งหลักฐาน ชั้นต้น และหลักฐานชั้นรอง  ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้  ที่มีผลต่อพัฒนาการทางด้านต่างๆพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ  และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความร่วมมือผ่านการรวมกลุ่ม  เป็นอาเซียนของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่ง อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มี ต่อพัฒนาการของสังคมไทยในปัจจุบัน ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการคิด  กระบวนการปฏิบัติ  การสืบเสาะหาความรู้  ใช้วิธีทาง ประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ ผ่านกระบวนการกลุ่ม  การทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการวิเคราะห์ เพื่อให้  เห็นความสำคัญของเวลา และช่วงเวลาสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์การร่วมมือของการรวมกลุ่มเป็นอาเซียนของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เห็นความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ในพัฒนาการของมนุษยชาติ  เห็นคุณค่า และภูมิใจในความเป็นไทย สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิต อย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1    ตัวชี้วัด  ส 4.1  ม.1/1  ส 4.1  ม.1/2ส 4.1  ม.1/3   	   ส 4.2    ตัวชี้วัด  ส 4.2  ม.1/1  ส 4.2  ม.1/2 รวม    5    ตัวชี้วัด ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตัวอย่างผังมโนทัศน์  ผังมโนทัศน์ รายวิชาประวัติศาสตร์ 1 รหัสวิชา ส21102 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง                       จำนวน 0.5 หน่วยกิต
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ -เวลากับประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/1 -ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/1 -หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/1 -ประวัติศาสตร์เมืองร้อยเอ็ด ส 4.1 ม.1/15  ชั่วโมง ศักราชของชาติไทย -การนับเวลาและศักราช ส 4.1 ม.1/2 -การเทียบศักราช ส 4.1 ม.1/2  4 ชั่วโมง ตัวอย่างผังมโนทัศน์ ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา รายวิชา ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 เวลา 20 ชั่วโมง สอบกลางภาค  1  ชั่วโมง สอบปลายภาค 1  ชั่วโมง ใฝ่ศึกษาหาความจริงอิงข้อมูลน่าเชื่อถือ -วิธีการทางประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/3 -ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ส 4.1 ม. 1/3     3  ชั่วโมง ลือเลื่องกลุ่มอาเซียน -เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส 4.2 ม.1/1 -อารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส 4.2 ม.1/16 ชั่วโมง
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตัวอย่างการจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 2. กำหนดประเด็นรอง -บริบทของโรงเรียน -มาตรฐานการเรียนรู้ -สาระการเรียนรู้ กำหนดผลการเรียนรู้ 1.กำหนดประเด็นหลัก  -มีสวนสมุนไพร -มาตรฐาน ว2.1 -สมุนไพรพื้นบ้าน -4  ข้อ ลำดับขั้นตอนการจัดทำรายวิชา ว20207  สมุนไพรพื้นบ้าน
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา -4 ข้อ -ตามมาตรฐาน ว.2.1 -ตามกรอบท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ว2.1 -ตามมาตรฐาน ว2.1/สมุนไพรพื้นบ้าน -ตามตารางวิเคราะห์ -ตามตารางวิเคราะห์ ร้อยเรียงตามลำดับคือ -ความรู้ -ทักษะ/กระบวนการ -คุณลักษณะ -รวมผลการเรียนรู้ -ผลการเรียนรู้ -สมุนไพรพื้นบ้าน - ตามตารางวิเคราะห์ -ตามตารางวิเคราะห์ - 4 ผลการเรียนรู้ - 4  ข้อ เขียนเรียงตามลำดับ ตามตารางวิเคราะห์ -ผลการเรียนรู้ -สาระการเรียนรู้แกนกลาง -สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น -  องค์ความรู้(K) -ทักษะกระบวนการ( P) -คุณลักษณะ ( A) 4.เขียนคำอธิบายรายวิชา  3.วิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายรายวิชา
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา -สมุนไพรพื้นบ้าน, ว20207 -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ -ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 -   40  ชั่วโมง -  1.0  หน่วยกิต -  100  คะแนน - 6   ลำดับ - 6 หน่วยการเรียนรู้ -ว2.1   ม.3/1-4 -สมุนไพรพื้นบ้าน -ชื่อวิชา, รหัสวิชา -กลุ่มสาระการเรียนรู้ -ระดับชั้นที่สอน -เวลาที่สอน -จำนวนหน่วยกิต -จำนวนคะแนน -ลำดับที่ -ชื่อหน่วยการเรียนรู้ -มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด -สาระการเรียนรู้  5. โครงสร้างรายวิชา  6.แผนการจัดกิจกรรม -แผนการจัดการเรียนรู้ - 6 แผนการจัดการเรียนรู้
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  รหัสวิชาว20207   รายวิชา  สมุนไพรพื้นบ้าน  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐาน ว2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา  ว20207  รายวิชา    สมุนไพรพื้นบ้าน รายวิชา เพิ่มเติม               กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   3                เวลา        40        ชั่วโมง                       จำนวน    1.0     หน่วยกิต 	ศึกษา  สำรวจ  สังเกต สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้าน  ชนิดของสมุนไพรพื้นบ้านประโยชน์ของสมุนไพรพื้นบ้านตลอดจนการนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน สามารถนำความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านไปทำโครงงานเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านได้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ การสืบเสาะหาความรู้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผ่านกระบวนการกลุ่ม การทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล  การอภิปรายและการวิเคราะห์ 	เพื่อให้ เกิดความรู้ เห็นความสำคัญของสมุนไพรพื้นบ้าน การนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ประโยชน์ การนำความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านไปทำโครงงาน สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ  นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม  คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ผลการเรียนรู้ ว2.1  ม.3/1-4   รวมทั้งหมด     4     ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ 1.มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สามารถนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแสวงหาความรู้และการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ 2.มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ 3.อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.นำความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านไปทำโครงงานได้ ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างรายวิชา  สมุนไพรพื้นบ้าน  รหัสวิชา  ว20207 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์                                                           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   3 เวลา   40    ชั่วโมง                         จำนวน    1.0    หน่วยกิต                คะแนน    100    คะแนน
การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างรายวิชา  สมุนไพรพื้นบ้าน  รหัสวิชา  ว20207 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์                                                           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   3 เวลา   40    ชั่วโมง                         จำนวน    1.0    หน่วยกิต                คะแนน    100    คะแนน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
witthawat silad
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
kanokwun131
 

Mais procurados (20)

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
บีตส์
บีตส์บีตส์
บีตส์
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
Relations
RelationsRelations
Relations
 
รายการประเมิน
รายการประเมินรายการประเมิน
รายการประเมิน
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 

Semelhante a การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
Pitima Boonprasit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
Montree Jareeyanuwat
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
soawaphat
 

Semelhante a การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551 (20)

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
260112114701
260112114701260112114701
260112114701
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
 
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
Khemjira Portfolio-60-blog
Khemjira Portfolio-60-blogKhemjira Portfolio-60-blog
Khemjira Portfolio-60-blog
 

Mais de ดอกหญ้า ธรรมดา

นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
ดอกหญ้า ธรรมดา
 
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
ดอกหญ้า ธรรมดา
 

Mais de ดอกหญ้า ธรรมดา (14)

แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
 
พันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
พันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษกพันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
พันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
 
พันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
พันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษกพันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
พันธุ์ไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
 
Document 7 003
Document 7 003Document 7 003
Document 7 003
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553
วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553
วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ทดลอง
โครงงานวิทยาศาสตร์ทดลองโครงงานวิทยาศาสตร์ทดลอง
โครงงานวิทยาศาสตร์ทดลอง
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
 
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
 
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
 

การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551

  • 1. School การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ จากล่างสู่บน โดย นางรัตนา เอื้อมสุวรรณ Bottom-up ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
  • 2. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ทบทวนการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
  • 3. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 7.วิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตร 1. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา (ผู้บริหาร/ครูผู้สอน) 6.ใช้หลักสูตรสถานศึกษา 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 5.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาให้ความเห็นชอบ 4.ตรวจพิจารณาคุณภาพหลักสูตร 3.จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา (ระดับสถานศึกษา/ระดับชั้นเรียน)
  • 4. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรอิงมาตรฐาน(Standards – Based Curriculum) หลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นกรอบในการกำหนดสาระ ทักษะ กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถบรรลุมาตรฐานที่กำหนด
  • 5.
  • 8.
  • 9. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา(School Curriculum) แผนหรือแนวทางในการจัดประมวลความรู้ และประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งจัดทำโดยบุคคลในระดับสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ทักษะและคุณธรรมจริยธรรมตามหลักสูตรแกนกลางและส่งเสริมให้รู้จักตนเองมีชีวิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอย่างมีความสุข
  • 10. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การดำเนินการระดับสถานศึกษาองค์ประกอบสำคัญ ส่วนนำ โครงสร้างหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การวัดและประเมินผลและการจบหลักสูตร ผลดำเนินการระดับชั้นเรียน องค์ประกอบสำคัญ การจัดทำผังมโนทัศน์ โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
  • 11. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ศึกษา/วิเคราะห์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ศึกษา/วิเคราะห์ นโยบายรัฐ/ข้อมูล/สารสนเทศท้องถิ่น/ปัญหาและสิ่งที่ควรพัฒนา/จุดเน้นของสถานศึกษา แผนภูมิแนวทางการจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น จัดทำกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (สพท./คณะกรรมการ) จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น(สถานศึกษา/คณะกรรมการ) จัดทำอธิบายรายวิชา/หน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (ชั้นเรียน/ครู)
  • 12. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การนำกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสู่หลักสูตรสถานศึกษา 2.จัดเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. สอดแทรกในรายวิชาพื้นฐาน 3.จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม
  • 13. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส21102 ราย วิชา ประวัติศาสตร์ 1 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1น้ำหนัก 0.5 นก. 20 ชั่วโมง สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายราย วิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
  • 15. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่องตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายราย วิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
  • 16. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ส 21102 รายวิชา ประวัติศาสตร์ 1 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษา อธิบาย ยกตัวอย่าง การใช้เวลา ช่วงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ที่ปรากฏ ในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย และประวัติศาสตร์เมืองร้อยเอ็ด ที่มาของศักราชที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย เอกสาร ประวัติศาสตร์เมืองร้อยเอ็ดได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ. วิธีการเทียบศักราชต่างๆ และตัวอย่าง การเทียบ ตัวอย่างการใช้ศักราชต่าง ๆ ที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์ และวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มี ความ สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ตัวอย่างหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ทั้งหลักฐาน ชั้นต้น และหลักฐานชั้นรอง ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีผลต่อพัฒนาการทางด้านต่างๆพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความร่วมมือผ่านการรวมกลุ่ม เป็นอาเซียนของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่ง อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มี ต่อพัฒนาการของสังคมไทยในปัจจุบัน ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
  • 17. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ การสืบเสาะหาความรู้ ใช้วิธีทาง ประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ ผ่านกระบวนการกลุ่ม การทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการวิเคราะห์ เพื่อให้ เห็นความสำคัญของเวลา และช่วงเวลาสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์การร่วมมือของการรวมกลุ่มเป็นอาเซียนของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เห็นความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ในพัฒนาการของมนุษยชาติ เห็นคุณค่า และภูมิใจในความเป็นไทย สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิต อย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 ตัวชี้วัด ส 4.1 ม.1/1 ส 4.1 ม.1/2ส 4.1 ม.1/3 ส 4.2 ตัวชี้วัด ส 4.2 ม.1/1 ส 4.2 ม.1/2 รวม 5 ตัวชี้วัด ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
  • 18. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตัวอย่างผังมโนทัศน์ ผังมโนทัศน์ รายวิชาประวัติศาสตร์ 1 รหัสวิชา ส21102 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
  • 19. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ -เวลากับประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/1 -ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/1 -หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/1 -ประวัติศาสตร์เมืองร้อยเอ็ด ส 4.1 ม.1/15 ชั่วโมง ศักราชของชาติไทย -การนับเวลาและศักราช ส 4.1 ม.1/2 -การเทียบศักราช ส 4.1 ม.1/2 4 ชั่วโมง ตัวอย่างผังมโนทัศน์ ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา รายวิชา ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 เวลา 20 ชั่วโมง สอบกลางภาค 1 ชั่วโมง สอบปลายภาค 1 ชั่วโมง ใฝ่ศึกษาหาความจริงอิงข้อมูลน่าเชื่อถือ -วิธีการทางประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/3 -ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ส 4.1 ม. 1/3 3 ชั่วโมง ลือเลื่องกลุ่มอาเซียน -เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส 4.2 ม.1/1 -อารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส 4.2 ม.1/16 ชั่วโมง
  • 20. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตัวอย่างการจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 2. กำหนดประเด็นรอง -บริบทของโรงเรียน -มาตรฐานการเรียนรู้ -สาระการเรียนรู้ กำหนดผลการเรียนรู้ 1.กำหนดประเด็นหลัก -มีสวนสมุนไพร -มาตรฐาน ว2.1 -สมุนไพรพื้นบ้าน -4 ข้อ ลำดับขั้นตอนการจัดทำรายวิชา ว20207 สมุนไพรพื้นบ้าน
  • 21. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา -4 ข้อ -ตามมาตรฐาน ว.2.1 -ตามกรอบท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ว2.1 -ตามมาตรฐาน ว2.1/สมุนไพรพื้นบ้าน -ตามตารางวิเคราะห์ -ตามตารางวิเคราะห์ ร้อยเรียงตามลำดับคือ -ความรู้ -ทักษะ/กระบวนการ -คุณลักษณะ -รวมผลการเรียนรู้ -ผลการเรียนรู้ -สมุนไพรพื้นบ้าน - ตามตารางวิเคราะห์ -ตามตารางวิเคราะห์ - 4 ผลการเรียนรู้ - 4 ข้อ เขียนเรียงตามลำดับ ตามตารางวิเคราะห์ -ผลการเรียนรู้ -สาระการเรียนรู้แกนกลาง -สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - องค์ความรู้(K) -ทักษะกระบวนการ( P) -คุณลักษณะ ( A) 4.เขียนคำอธิบายรายวิชา 3.วิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายรายวิชา
  • 22. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา -สมุนไพรพื้นบ้าน, ว20207 -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ -ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 - 40 ชั่วโมง - 1.0 หน่วยกิต - 100 คะแนน - 6 ลำดับ - 6 หน่วยการเรียนรู้ -ว2.1 ม.3/1-4 -สมุนไพรพื้นบ้าน -ชื่อวิชา, รหัสวิชา -กลุ่มสาระการเรียนรู้ -ระดับชั้นที่สอน -เวลาที่สอน -จำนวนหน่วยกิต -จำนวนคะแนน -ลำดับที่ -ชื่อหน่วยการเรียนรู้ -มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด -สาระการเรียนรู้ 5. โครงสร้างรายวิชา 6.แผนการจัดกิจกรรม -แผนการจัดการเรียนรู้ - 6 แผนการจัดการเรียนรู้
  • 23. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสู่คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชาว20207 รายวิชา สมุนไพรพื้นบ้าน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐาน ว2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
  • 24. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ว20207 รายวิชา สมุนไพรพื้นบ้าน รายวิชา เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา สำรวจ สังเกต สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้าน ชนิดของสมุนไพรพื้นบ้านประโยชน์ของสมุนไพรพื้นบ้านตลอดจนการนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน สามารถนำความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านไปทำโครงงานเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านได้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ การสืบเสาะหาความรู้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผ่านกระบวนการกลุ่ม การทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล การอภิปรายและการวิเคราะห์ เพื่อให้ เกิดความรู้ เห็นความสำคัญของสมุนไพรพื้นบ้าน การนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ประโยชน์ การนำความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านไปทำโครงงาน สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
  • 25. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ผลการเรียนรู้ ว2.1 ม.3/1-4   รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ 1.มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สามารถนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแสวงหาความรู้และการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ 2.มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ 3.อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.นำความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านไปทำโครงงานได้ ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
  • 26. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างรายวิชา สมุนไพรพื้นบ้าน รหัสวิชา ว20207 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต คะแนน 100 คะแนน
  • 27. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างรายวิชา สมุนไพรพื้นบ้าน รหัสวิชา ว20207 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต คะแนน 100 คะแนน
  • 29. การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรโรงเรียน........................................................... พุทธศักราช............................(ปีที่เริ่มใช้) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2553) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
  • 30. การจัดทำหลักสูตร สถานศึกษา ไม่ใช่เรื่องยาก ถ้าครูทุกคน ศึกษา/ร่วมมือ/มุ่งมั่น