SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
สารรอบตัว
#TEAMIRONBEAR
แนะนำผู้สอน
นายวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
(ครูโด้)
นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
Facebook:Kru’Wuttipong Thubkrathok
สมบัติของสารและการจาแนกสารสสารและสารต่างกันอย่างไร
สสาร (Matter)
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
สิ่งที่มีตัวตน มีมวล ต้องการที่อยู่และสามารถสัมผัสได้ โดยใช้
ประสาทสัมผัสทั้ง 5
สาร (Substance)
สสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอน หรือ
เนื้อของสสารที่นามาศึกษาหรือสิ่งที่นามาศึกษา ดังนั้นจึงใช้คาว่า
สารแทนสสารได้
สสาร
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
สาร
สารเป็นซับเซตของสสาร
สมบัติของสาร
สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะประจาตัวของสาร
แต่ละชนิดซึ่งแตกต่างไปจากสารอื่น ๆ เช่น ทองแดงนาไฟฟ้าได้
ไม้นาไฟฟ้าไม่ได้ น้าสมสายชูมีรสเปรี้ยว น้าเชื่อมมีรสหวาน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
สมบัติของสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
สมบัติทางกายภาพ
สมบัติทางเคมี
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
สมบัติทางกายภาพ
สมบัติของสารที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายจากรูปร่างลักษณะ
ภายนอกเช่น สถานะ สี กลิ่น รส รูปร่าง ปริมาตร หนาแน่น
สัมพัทธ์ จุดเดือด จุดหลอมเหลว การละลาย เป็นต้น
เช่น น้า เป็นของเหลว ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส จุดเดือดที่ 100
องศาเซลเซียส
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
1. มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างภายนอก เช่น การเปลี่ยน
สถานะ การเกิดสารละลาย การเปลี่ยนอุณหภูมิ การสึกกร่อน
เป็นต้น
2. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายในเปลี่ยนเฉพาะ
รูปร่างภายนอก
3. ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ภายหลังการเปลี่ยนแปลงสมบัติทาง
กายภาพและทางเคมีของสารยังคงเหมือนเดิม
4. สามารถทาให้กลับสู่สภาพเดิมได้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ
สมบัติทางเคมี
สมบัติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสาร และการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเผาไหม้ การเกิดสนิม การผุพัง การ
ระเบิด เป็นต้น เช่น เหล็กเป็นของแข็งสีเทา เมื่อทิ้งไว้จะเกิดสนิม
มีสีน้าตาลแดง
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. จะต้องมีสารใหม่เกิดขึ้นเสมอ
2. มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายใน และมีผลทาให้มี
การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของสารด้วย
3. ทาให้สารใหม่ที่เกิดขึ้น มีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม
เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นต้น
4. ทาให้กลับสู่สภาพเดิมได้ยาก
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยน
แปลงทางกายภาพหรือทางเคมี
การระเหยของน้า
การต้มน้า
ข้าวสารเปลี่ยนเป็นข้าวสุก
เกลือละลายน้า
ผลไม้ดิบเปลี่ยนเป็นผลไม้สุก
การจุดเทียนไข
เนื้อดิบเป็นเนื้อสุก
กายภาพ
กายภาพ
เคมี
กายภาพ
เคมี
กายภาพ เคมี
เคมี
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
จงจัดหมวดหมู่ของสารต่อไปนี้พร้อมทั้ง
บอกเกณฑ์ในการจัดหมวดหมู่ด้วย
น้าตาลทราย น้าเชื่อม เกลือแกง น้าส้มสายชู
ลูกเหม็น น้ากลั่น น้าแข็ง เหล็ก ทองแดง
กระดาษ ปากกา น้าหมึก สีน้า อากาศ แก๊สหุงต้ม
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ในการจาแนก
น้าตาลทราย น้าเชื่อม
เกลือแกง น้าส้มสายชู
ลูกเหม็น
น้ากลั่น
น้าแข็ง
เหล็ก
ทองแดง
กระดาษ
ปากกา
น้าหมึก
สีน้า
อากาศ
แก๊สหุงต้ม
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
บทปฏิบัติการที่ 1 เรื่อง ของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส
จุดประสงค์การทดลอง
1. เพื่อทดลองตรวจสอบ อธิบายการจัดเรียงระยะห่างระหว่างอนุภาค แรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาคและการเคลื่อนไหวของอนุภาคในสถานะของแข็ง
ของเหลวและแก๊ส โดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร
2. เพื่ออธิบายสถานะของสารที่แตกต่างกันโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียง
อนุภาคของสาร
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
บทปฏิบัติการที่ 1 เรื่อง ของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส
ตัวแปรต้น แรงลมในการเป่าเม็ดโฟม
ตอนที่ 1
ตัวแปรตาม การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม
ตัวแปรควบคุม ขนาดของขวดพลาสติก,จานวนเม็ดโฟม
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
บทปฏิบัติการที่ 1 เรื่อง ของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส ตอนที่ 1
ขนาดของขวดพลาสติก,จานวนเม็ดโฟม
ลักษณะการเป่าลม การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม
เป่าลมอย่างช้า ๆ เบา ๆ เม็ดโฟมสั่น แต่อยู่กับที่และชิดติดกัน
เป่าลมแรงขึ้นจนเม็ดโฟมสั่น เคลื่อนที่แยกห่างจากกันไปทั่วก้นภาชนะ ปริมาตรเพิ่มขึ้น
เล็กน้อย
เป่าลมแรงที่สุด เม็ดโฟมสั่น และฟุ้งกระจายแยกออกจากกันอย่างรวดเร็ว
ทั่วขวดพลาสติก
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
บทปฏิบัติการที่ 1 เรื่อง ของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส ตอนที่ 2
ขนาดของขวดพลาสติก,จานวนเม็ดโฟม
กิจกรรม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น/สิ่งที่สังเกต
ลักษณะของเกล็ดด่างทับทิม
เป็นของแข็ง ลักษณะผลึกท่อนเล็กๆสีม่วงเข้มเกือบดา
และมันวาว
เมื่อใส่เกล็ดด่างทับทิมลงใน
น้า
บริเวณรอบๆเกล็ดด่างทับทิมจะเห็นน้าเป็นสีม่วง
แพร่กระจายคล้ายควัน เคลื่อนที่ผสมกับน้าในบีกเกอร์
เมื่อเปิดฝาขวดที่มีสาลีชุบ
สารละลายแอมโมเนียอยู่
ภายใน
ได้กลิ่นแอมโมเนียฟุ้ งกระจายไปทั่วห้องอย่างรวดเร็วแต่
ไม่สามารถมองเห็อนุภาคใดๆในอากาศ
คาถามจากกิจกรรมการทดลอง
1. ในกิจกรรมตอนที่ 1 เม็ดโฟมที่บรรจุอยู่ในขวดพลาสติกเปรียบเสมือน
2. การเป่าลมในขวดอย่างช้าๆ เบาๆ ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจาลองที่แทนการ
จัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะ และมีลักษณะดังนี้
3. การเป่าลมในขวดแรงขึ้น ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจาลองที่แทนการจัดเรียง
อนุภาคของสารในสถานะ และมีลักษณะดังนี้
แบบจาลองของอนุภาคของสารทั้งสามสถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ของแข็ง
ทุกอนุภาคมีการสั่นสะเทือนตลอดเวลาแต่อยู่ตาแหน่งเดิม และอนุภาคอยู่ชิดติดกันมี
แรงระหว่างอนุภาคมากทาให้ของแข็งคงรูปอยู่ได้
ของเหลว
ทุกอนุภาคมีการสั่น อนุภาคอยู่ห่างกันเล็กน้อย มีการเคลื่อนตัวและการกระจาย
ตัวทั่วก้นภาชนะจึงมีปริมาตรเพิ่มขึ้นทาให้ความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งเมื่อเป่าลมแรงที่สุด
คาถามจากกิจกรรมการทดลอง
4. การเป่าลมในขวดแรงที่สุด ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจาลองที่แทนการจัดเรียง
อนุภาคของสารในสถานะ และมีลักษณะดังนี้
5. จากกิจกรรมที่ 2 เกล็ดด่างทับทิมมีลักษณะ
6. เมื่อใส่เกล็ดด่างทับทิมลงในน้า สิ่งที่สังเกตได้ คือ
เปรียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของ ซึ่งตรงกับการเป่าลม
ในกิจกรรมตอนที่ 1
แก๊ส
ทุกอนุภาคมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ ทาให้
ความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของเหลวและของแข็งมาก
เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกท่อนเล็กๆ สีม่วงเข้มเกือบดาและมันวาว
ด่างทับทิมจะละลายและแพร่กระจายผสมกับน้ากลายเป็นสีม่วง
ของเหลว แรงขึ้นจนเม็ดโฟมสั่น
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบว่าเกล็ดด่างทับทิมเปรียบเทียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของ
ของแข็งที่คงรูปอยู่ได้ ด่างทับทิมผสมกับน้าเปรียบเทียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของ
ของเหลว ตอนที่ 1ที่เป่าลมแรงขึ้น การเปิดฝาขวดที่บรรจุสาลีชุบสารละลาย
แอมโมเนีย จะได้กลิ่นแอมโมเนียฟุ้งกระจายไปทั่วห้องอย่างรวดเร็ว และมองไม่เห็น
อนุภาคใดๆในอากาศเปรียบเทียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของแก๊ส อนุภาคของด่าง
ทับทิมแอมโมเนียมีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถด้วยตาเปล่า การทาการทดลองตอนที่ 2
สอดคล้องกับการอธิบายสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร
ในตอนที่ 1
คาถามจากกิจกรรมการทดลอง
7. เมื่อเปิดฝาขวดที่บรรจุสาลีชุบสารละลายแอมโมเนีย สิ่งที่สังเกตได้ คือ
เปรียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของ ซึ่งตรงกับการเป่าลม
ในกิจกรรมตอนที่ 1
ได้กลิ่นแอมโมเนียฟุ้งกระจายไปทั่วห้องอย่างรวดเร็วโดยไม่เห็นอนุภาคใดๆ ในอากาศ
เพราะอนุภาคอนุภาคของแอมโมเนียมีขนาดเล็กจึงไม่สามารถมองด้วยตาเปล่าได้
แก๊ส แรงที่สุดไปยังเม็ดโฟม
สถานะของสาร
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
ของแข็ง แก๊ส การระเหิด
สมบัติของ ของแข็ง
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคสูง
 จัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบ
 ช่องว่างมีน้อย
 พลังงานจลน์น้อย (ไม่เคลื่อนที่)
 รูปร่าง สถานะ ปริมาตรคงที่
สมบัติของ ของเหลว
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
• แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง
• จัดเรียงตัวไม่เป็นระเบียบ
• ช่องว่างมากขึ้น (เคลื่อนที่ไปมาได้)
• ปริมาตรคงที่ (ระยะห่างของอนุภาคคงที่)
ของเหลว แก๊ส การระเหย
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล >พลังงานจลน์ ของเหลว
สมบัติของ แก๊ส
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
• แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อย
• พลังงานจลน์สูงที่สุด
• อนุภาคเคลื่อนที่ตลอดเวลา
• ปริมาตร และรูปร่างไม่คงที่ เปลี่ยน
ตามภาชนะที่บรรจุ
แก๊สแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล< พลังงานจลน์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Thanyamon Chat.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Mais procurados (20)

แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 

Destaque

ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
Wichai Likitponrak
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
Wichai Likitponrak
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
Wichai Likitponrak
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
Wichai Likitponrak
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
netzad
 

Destaque (20)

ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 

Semelhante a สถานะของสาร ม.1

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
Waree Wera
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
ป. ปิง
 

Semelhante a สถานะของสาร ม.1 (12)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 

Mais de Wuttipong Tubkrathok

แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
Wuttipong Tubkrathok
 

Mais de Wuttipong Tubkrathok (20)

คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisa
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
The doppler effect
The doppler effect The doppler effect
The doppler effect
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
 
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
 

สถานะของสาร ม.1