SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
ยาง
Rubber
Asst.Prof.Woravith Chansuvarn, Ph.D
http://web.rmutp.ac.th/woravith woravithworavith.c@rmutp.ac.th
Learning for All
by Woravith Chansuvarn
กิจกรรม
ยาง
(Rubber)
วัสดุพอลิเมอร์
ที่ประกอบด้วย
ไฮโดรเจน (H)
และคาร์บอน
(C)
ยางที่เกิดจากสังเคราะห์จากปิโตรเลียม
เรียกว่า ยางสังเคราะห์ (Synthesis
rubbers, SR)
ยางที่เกิดจากพืชนี้เรียกว่า ยาง
ธรรมชาติ (Natural rubbers, NR)
ยางในสภาพของเหลว
เรียกว่า น้ายาง
ยางธรรมชาติมาจากของเหลว
ของพืช
มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาว
คล้ายน้านม เป็นคอลลอยด์
อนุภาคเล็ก มีตัวกลางเป็นน้า
เป็นพอลิเมอร์ที่มีมวลโมเลกุลสูง
เกิดจากโมโนเมอร์ที่เรียกว่า ไอโซพรีน (isoprene, C5H8)
ยางธรรมชาติที่เกิดขึ้น เรียกว่า โพลีไอโซพรีน (polyisoprene)
cis-1,4-polyisoprene
ยางธรรมชาติมีชื่อทางเคมี คือ
cis-1,4-polyisoprene
โดยที่ n มีค่าตั้งแต่ 15-20,000 หน่วย
เนื่องจากส่วนประกอบของยาง
ธรรมชาติเป็นไฮโดรคาร์บอนที่ไม่มีขั้ว
ยางธรรมชาติละลายได้ดีในตัวทาละลาย
ที่ไม่มีขั้ว เช่น เบนซีน เฮกเซน เป็นต้น
น้ายาง (latex) 30%
น้ายางข้น 60%
ยางแห้ง
ยางแผ่นรมควัน
ยางแท่ง STR
• ยางรถยนต์
• ยางรถบรรทุก
• ยางล้อเครื่องบิน
• ยางรถยนต์
• ชิ้นส่วนรถยนต์
ถุงยางอนามัย
ถุงมือยาง
จุกหัวนม
การผลิต
ยางแท่ง STR
กระบวนการผลิตยางรถยนต์
ยางสังเคราะห์
(synthetic rubber, SR)
เป็นยางเทียมที่สังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาเคมี
และ
มีลักษณะทางเคมีและสมบัติกายภาพคล้ายคลึงกับยางธรรมชาติ
▪ การผลิตยางสังเคราะห์ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ
(1) ขั้นตอนการผลิตโมโนเมอร์
(2) ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
▪ ยางสังเคราะห์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันที่ชนิดของมอนอเมอร์
• ถ้าเป็นโฮโมพอลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์ได้เป็นยางโพลีบิวตาไดอีน
(polybutadiene, BR) หรือยางโพลีไอโซพรีน (polyisoprene,
IR) เป็นต้น
• ถ้าเป็นโคพอลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์ได้เป็น ยางสไตรีน-บิวตาไดอีน
(styrene-butadiene rubber, SBR) เป็นต้น
โมโนเมอร์
พอลิเมอไรเซชัน
ยางสังเคราะห์
(พอลิเมอร์)
SBR
BR
NBR
CR
EPDM
อื่น ๆ
ยางสไตรีนบิวตาไดอีน
ยางบิวตาไดอีน
ยางคลอโรพรีน
Goodrich (1954) สังเคราะห์
ยางไอโซพรีน (IR) จากมอนอ
เมอร์ไอโซพรีนโดยใช้ตัวเร่ง
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันชนิด
Ziegler-Natta สาเร็จเป็น
ครั้งแรก
▪ ยางสไตรีนบิวตาไดอีน (SBR) ประกอบด้วย มอนอเมอร์สไตรีน
(styrene monomer) ประมาณ 23.5 % และมอนอเมอร์บิวตา
ไดอีน (butadiene monomer) ประมาณ 76.5 %
▪ โมโนเมอร์ทั้งสองชนิดมีการจัดเรียงตัวแบบไม่มีแบบแผน
(random)
▪ ยาง SBR ถูกนาไปใช้ในการผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้ม
สายไฟ ท่อยาง ผลิตภัณฑ์ยางทางการแพทย์ ภาชนะหีบห่อ
อาหาร และที่สาคัญคือ ยางชนิดนี้ส่วนมากจะถูกนาไปใช้ใน
อุตสาหกรรมผลิตยางยานพาหนะขนาดเล็ก
ยาง SBR (styrene-butadiene rubber)
▪ ยาง NBR เป็นโคพอลิเมอร์ของมอนอเมอร์อะไครโลไนไตร์ล
(acrylonitrile) และบิวตาไดอีน(butadiene)
▪ ประกอบด้วยอะไครโลไนไตร์ล ตั้งแต่ 20-50%
▪ ยางมีสมบัติเด่นคือ ทนต่อน้ามันปิโตรเลียมและตัวทาละลายที่ไม่
มีขั้วต่างๆ ได้ดี
ยางไนไตร์ล หรือยาง NBR (nitrile rubber)
ยางคลอโรพรีน (หรือยาง CR, chloroprene)
▪ ยาง CR มีชื่อทางการค้าว่ายางนีโอพรีน (neoprene)
▪ เป็นยางสังเคราะห์จากมอนอเมอร์คลอโรพรีน
(chloroprener)
▪ โมเลกุลของยาง CR สามารถจัดเรียงตัวได้อย่างเป็น
ระเบียบภายใต้สภาวะที่เหมาะสม
▪ ยาง CR จึงมีค่าความทนต่อแรงดึงสูง
▪ มีความต้านทานต่อการฉีกขาดและการขัดสีสูงด้วย
▪ ยางบิวไทล์เป็นโคพอลิเมอร์ระหว่างมอนอเมอร์ไอโซพรีน
(isoprene) และไอโซบิวทีลีน (isobutylene)
▪ โดยมีไอโซพรีนน้อยมากประมาณ 0.5-3% เพียงเพื่อให้เกิด
การเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลด้วยอะตอมซัลเฟอร์ (S) ใน
ระหว่างปฏิกิริยาวัลคาไนเซชัน
ยางบิวไทล์ (butyl rubber, IIR)
▪ เป็นพอลิเมอร์ของบิวตาไดอีนที่มีการจัดเชื่อมต่อกันหลาย
แบบ
▪ ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความทนต่อการสึกหรอ
หรือทนต่อการขัดสีที่ดี เช่นยางพื้นรองเท้า ยางสายพาน
ลาเลียง นอกจากนี้ยังใช้ในการผลิตยางกันกระแทก
สายพานส่งกาลัง (transmission belt) ยางกันสะเทือน
(shock absorber pads) เป็นต้น
ยางบิวตาไดอีน (butadiene rubber, BR)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
พัน พัน
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
Jariya Jaiyot
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
Saowanee Sondech
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
porpia
 
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point   ยีนและโครโมโซมMicrosoft power point   ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Thanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
Thanyamon Chat.
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
K.s. Mam
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
Dnavaroj Dnaka
 

Mais procurados (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point   ยีนและโครโมโซมMicrosoft power point   ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 

Mais de Dr.Woravith Chansuvarn

Mais de Dr.Woravith Chansuvarn (20)

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
 
Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
 
AnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of ElectrochemistryAnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of Electrochemistry
 

Rubber : ยาง