SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 39
Baixar para ler offline
Overview :
Introduction of Analytical Chemistry
หลักเบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีวิเคราะห์
Asst.Prof.Woravith Chansuvarn, Ph.D.
http://web.rmutp.ac.th/woravith woravithworavith.c@rmutp.ac.th
หลักการ
วิเคราะห์เชิง
ปริมาณ
1.1 บอกความสาคัญของเคมีวิเคราะห์
บอกวิธีวิเคราะห์ทางเคมี
อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์
อธิบายหลักพื้นฐานเกี่ยวกับการ
เตรียมตัวอย่าง
// แผนการสอนและประเมินผลการเรียนรู้
02
03
http://www.slideshare.net/woravith
http://web.rmutp.ac.th/woravith
ChemoGraphics
https://chem.libretexts.org/Bookshelves/Analytical_Chemistry
เอกสารประกอบการสอน
▪ วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. 2563. เคมีวิเคราะห์ (หลักการ
และเทคนิคการคานวณเชิงปริมาณ). สานักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
What is definition?
คืออะไร ?
สาคัญอย่างไร ?
สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาอะไร ?
04
นักศึกษาคิดอย่างไร ?
ปริมาณเมทิลโบร์ไมด์ตกค้างในข้าวสาร
บันทึกความคิดเห็น
ของนักศึกษา 05
Analytical chemistry is
a metrological science
that develops,
optimizes and applies
measuring processes
intended to derive
quality chemical
information of both
global and partial type
in order to solve the
measuring problems
posed
(Valcarcel, 1997)
Analytical chemistry is too broad and too active a discipline
for us to define completely
Harvey, 2000
Definition : 06
Analytical
chemistry is a
measurement
science consisting
of a set of
powerful ideas and
methods that are
useful in all fields
of science,
engineering, and
medicine
(Skoog et al., 2014)
Analytical chemistry is
the science concerned
with the systematic
identification or
characterization of
established chemical
species and their
determination to known
degrees of certainty at
any level of
concentration and in any
matrix in which they
may occur
The science of
inventing and
applying the
concepts,
principles,
and…strategies for
measuring the
characteristics of
chemical systems
(Murray, 1991)
“ “ “ “
07
Analytical chemistry is often
described as the area of
chemistry responsible for
characterizing the
composition of matter, both
qualitatively (Is there any
lead in this sample?) and
quantitatively (How much
lead is in this sample?)
Analytical chemistry, or the
art of recognizing different
substances and determining
their constituents, takes a
prominent position among the
applications of science, since
the questions which it enables
us to answer arise wherever
chemical processes are
employed for scientific or
technical purposes
Analytical chemistry is
what analytical chemists
do
08
เคมีวิเคราะห์ คือ
การวิเคราะห์สารที่สนใจในตัวอย่าง เพื่อ
ต้องการคาตอบที่ถูกต้องอย่างหนึ่งอย่าง
ใดทั้งทางกายภาพ
และ/หรือ ทางเคมี
ไม่ว่าจะเป็นคาตอบเชิงคุณภาพหรือเชิง
ปริมาณ
โดยดาเนินการตามขั้นตอนการวิเคราะห์
อย่างเป็นระบบ ลดความคลาดเคลื่อน และ
ประเมินความน่าเชื่อถือในข้อมูลที่ได้จาก
การวิเคราะห์ที่สัมพันธ์ระหว่างสารที่สนใจ
และตัวอย่าง
Charles Reilley, 1965
วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ, 2563
ที่มา: Skoog et al. (2014). Fundamentals of Analytical chemistry, 9th ed. p. 3
ความคิดเห็นของนักศึกษา 09
Analysis
Determination
Characterization
10
การหาปริมาณ : เป็นคาศัพท์ที่นิยมใช้เพื่อ
บอกถึงกระบวนการวัดสารที่สนใจที่เป็นการ
วิเคราะห์เชิงปริมาณ
การพิสูจน์เอกลักษณ์ : เป็นการทดลองเพื่อ
อธิบายสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของสารที่สนใจ
อาจหมายรวมถึงการหาลักษณะเฉพาะด้วย
การวิเคราะห์ : เป็นคาที่มีความหมายกว้าง
เพื่ออธิบายถึงกระบวนการหนึ่ง ๆ ที่ทาให้ได้
ข้อมูลทางเคมีหรือทางกายภาพของ
องค์ประกอบภายในสารตัวอย่างทั้งเชิง
คุณภาพและเชิงปริมาณ
11
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
(qualitative analysis)
การวิเคราะห์ที่สนใจทราบข้อมูลเกี่ยวกับตัวอย่างว่า
มีองค์ประกอบใดอยู่ มีสารที่สนใจอยู่หรือไม่ ไม่
ต้องการทราบระดับปริมาณ
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
(quantitative analysis)
การวิเคราะห์ที่ต้องการทราบระดับปริมาณของสารที่
สนใจในสารตัวอย่าง
บอกถึงระดับปริมาณแน่นอนในตัวอย่าง
What/which is the identify of
substances in the sample?
How many of interested analyte is
present in the sample?
Problem in analytical chemistry
▪ What is it ??? >> require
many methods to evaluate.
▪ Is it toxic?
▪ Is it a melamine?
▪ How many
level/concentration of
melamine?
(A) and (B) : white powder
(A)
(B)
12
น้าทิ้ง เสียหรือไม่? >>
ความคิดเห็น
ของ
นักศึกษา
13
14
15
ถ้าต้องการวิเคราะห์
ไอออนตะกั่ว (Pb) ในตัวอย่าง
ข้าว น้า เนื้อปลา
ต้องมีแนวทางการดาเนินการ
วิเคราะห์อย่างไร ?
เทคนิค / วิธี / ขั้นตอน / ขั้นปฏิบัติงาน
หลักการทางวิทยาศาสตร์
(ทางเคมีหรือกายภาพ) ที่ใช้
ในการศึกษาสารที่สนใจ
การประยุกต์เทคนิคหนึ่ง ๆ
มาใช้ในการวิเคราะห์สารที่
สนใจ
ลาดับขั้นที่ระบุว่าวิธีวิเคราะห์
ที่เลือกนั้นต้องดาเนินการ
ย่างไร
ชุดของแนวทางเฉพาะของ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ซึ่งต้อง
ดาเนินการตามหน่วยงานที่
ได้รับการยอมรับกาหนด
16
เทคนิค
Techniques
วิธี
Methods
ขั้นตอน
Procedures
ขั้นปฏิบัติงาน
Protocols
Graphite furnace atomic absorption spectroscopy
(GF-AAS)
Pb in rice Pb in water Pb in fish
APHA ASTM
EPA
17
สารที่สนใจ (analyte) ชนิดของสารที่สนใจวิเคราะห์ ชนิดของสารที่สนใจหาปริมาณ หรือ
ชนิดของสารที่สนใจพิสูจน์เอกลักษณ์
ตัวอย่าง (sample) สารตัวอย่าง หรือตัวอย่าง (sample) คือ ชนิดหรือประเภทของ
ตัวอย่างที่จะต้องการวิเคราะห์หาสารที่สนใจทั้งเชิงคุณภาพหรือเชิง
ปริมาณ
การชักตัวอย่าง
(sampling)
ขั้นตอนหรือวิธีดาเนินการเก็บสารตัวอย่างจากพื้นที่หรือบริเวณหนึ่ง
ๆ ตามที่กาหนด รวมทั้งวิธีการเก็บรักษาตัวอย่างก่อนกระบวนการ
เตรียมตัวอย่างและการวิเคราะห์
การเตรียมตัวอย่าง
(sample preparation)
ขั้นตอนหรือวิธีการเตรียมตัวอย่าง หรือสารตัวอย่างให้อยู่ในรูปที่
สามารถวิเคราะห์สารที่สนใจได้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม เช่น การ
บดละเอียด การละลาย การกรอง การย่อยโดยใช้กรด การฟลักซ์
ด้วยเบส การเผาให้เป็นเถ้า เป็นต้น
วิธี หรือวิธีการ (method) วิธีการวิเคราะห์สารที่สนใจในสารตัวอย่าง ซึ่งในสารตัวอย่างแต่ละ
ชนิดมีตัวกลางที่ไม่เหมือนกัน
ตัวกลาง (matrix) หรือ
เมทริกซ์
องค์ประกอบทุกส่วนที่มีอยู่ในสารตัวอย่างที่ไม่ใช่สารที่สนใจ โดยบาง
องค์ประกอบเหล่านั้นอาจเป็นตัวรบกวนการวิเคราะห์ที่ส่งผลต่อการ
วิเคราะห์สารที่สนใจคลาดเคลื่อนได้
Terminology
18
วิธีมาตรฐาน
(standard method)
วิธีการวิเคราะห์ที่ได้รับการยอมรับจากสถาบัน หรือหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดให้เป็นวิธีมาตรฐานของการวิเคราะห์สารที่
สนใจในชนิดหรือประเภทของตัวอย่างหนึ่ง ๆ เช่น AOAC, USEPA,
ASTM เป็นต้น
แบลงก์ (blank) องค์ประกอบของสารตัวอย่างในระบบการวิเคราะห์ที่ต้องไม่มีสารที่
สนใจ หรือองค์ประกอบทั้งหมดของสารละลายที่ใช้ในการวัดแต่ใน
องค์ประกอบทั้งหมดนั้นไม่มีสารที่สนใจอยู่ด้วย
การวิเคราะห์แบลงก์
(blank analysis)
การนาแบลงก์มาทาการวิเคราะห์ตามวิธีเดียวกับสารตัวอย่าง เพื่อ
ทดสอบการรบกวนของตัวกลาง หรือเพื่อติดตามสัญญาณ
ตอบสนองของเครื่องมือวัด
พารามิเตอร์ (parameter)
หรือ ดัชนี
คาศัพท์ที่นิยมใช้อย่างกว้าง ๆ เพื่อบ่งชี้ถึงการปฏิบัติงานอย่างหนึ่ง
อย่างใดในการทดลอง เช่น บ่งชี้ชนิดสารที่สนใจ หรือบ่งชี้ถึงสภาวะ
หนึ่งในการทดลอง หรือตัวแปรที่ต้องการศึกษา เป็นต้น
ความแม่น (accuracy) หรือ
ความถูกต้อง
ค่าที่แสดงความใกล้เคียงระหว่างค่าที่วัดได้จากการทดลองกับค่า
แท้จริง
ความเที่ยง (precision) ค่าที่บ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงในการวัดซ้าหลาย ๆ ครั้ง
(replicate measurements)
Terminology
19
สภาวะทาซ้าได้
(repeatability)
การประเมินความเที่ยงโดยการวัดซ้าหลาย ๆ ครั้ง (replicate
measurements)
สภาวะทวนซ้าได้
(reproducibility)
การประเมินความเที่ยงโดยทาการวัดซ้าหลาย ๆ ครั้ง ที่สภาวะการ
ทดลอง เช่น ผู้ทดลอง เครื่องมือ หรือห้องทดลองเปลี่ยนแปลงไป
สภาพคัดเลือก (selectivity) ความสามารถของวิธีวิเคราะห์ที่จะวิเคราะห์เฉพาะสารที่สนใจโดยไม่
ถูกรบกวนจากแบลงก์ หรือวิธีการวิเคราะห์ที่มีความสามารถในการ
เลือกวัดเฉพาะสารที่ต้องการจะวัด
สภาพจาเพาะ (specificity) ความสามารถของวิธีในการวิเคราะห์เฉพาะสารที่สนใจเท่านั้น หรือ
สามารถจาแนกสารที่สนใจออกจากสารอื่น ๆ ในระบบ โดยสารอื่น
และ/หรือ ตัวกลางไม่มีผลรบกวนการวิเคราะห์
สภาพไว (sensitivity) ความสามารถในการวัดความเข้มข้นที่แตกต่างกันน้อยที่สุด วิธีการ
วิเคราะห์ที่มีความไวสูงจะสามารถตรวจวิเคราะห์สารในปริมาณน้อย
มากหรือเป็นวิธีที่สามารถแยกความเข้มข้นของสารที่แตกต่างกัน
น้อยมากได้ถูกต้อง
ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
(linearity) หรือ ช่วงความ
เป็นเส้นตรง (linear range)
ความสามารถของวิธีที่จะทาให้วิเคราะห์แล้วได้ผลการวิเคราะห์ที่เป็น
สัดส่วนกับความเข้มข้นของสารที่สนใจในช่วงความเข้มข้นที่กาหนด
Terminology
20
ความคงทน (robustness) ความคงทนของวิธีวิเคราะห์ช่วงระยะหนึ่ง ๆ ที่แม้ว่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงระบบเพียงเล็กน้อย ผลการทดสอบที่มีความ
คลาดเคลื่อนเพียงเล็กน้อย หรืออาจจะไม่มีผลกระทบต่อผลการ
วิเคราะห์อย่างมีนัยสาคัญ
ขีดจากัดในการตรวจวัด
(detection limit หรือ limit
of detection; LOD)
ปริมาณต่าสุดของสารที่สนใจในตัวอย่างใด ๆ ที่สามารถตรวจวัดได้
แต่ไม่จาเป็นต้องทราบว่ามีปริมาณที่แน่นอนเท่าใด ขีดจากัดในการ
ตรวจวัดจะเป็นระดับความเข้มข้นของสารที่สนใจที่ให้สัญญาณ
เท่ากับค่าที่วัดได้จากแบลงก์รวมกับ 3 เท่าของค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานของสัญญาณแบลงก์
ขีดจากัดในการวัดเชิงปริมาณ
(quantitation limit หรือ
limit of quantitation;
LOQ)
ปริมาณต่าสุดของสารที่สนใจในตัวอย่างที่สามารถตรวจหาเชิง
ปริมาณโดยมีความแม่นและความเที่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
ขีดจากัดในการวัดเชิงปริมาณจะเป็นระดับความเข้มข้นของสารที่
สนใจที่ให้สัญญาณเท่ากับค่าที่วัดได้จากแบลงก์รวมกับ 10 เท่าของ
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสัญญาณแบลงก์
การสอบเทียบ (calibration) วิธีการเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัด อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และ
อุปกรณ์ชั่ง ตวง วัด เป็นต้น
Terminology
ปริมาณสารหนูรวมที่พบอยู่
ในช่วง 0.08-0.343
mg/kg
และสารหนูอนินทรีย์ อยู่
ในช่วง 0.20 mg/kg
ปริมาณสารหนูรวมที่พบอยู่
ในช่วง 0.01-0.39 mg/kg
และสารหนูอนินทรีย์ อยู่
ในช่วง 0.18 mg/kg
ค่าอนุโลมตกค้างสารหนูอนินทรีย์ = 0.20 mg/kg
ที่มา : Welna, M. et al. (2015). Comparison of strategies for sample
preparation prior to spectrometric measurements for
determination and speciation of arsenic in rice. Trends Anal.
Chem. 65. p. 122-136.
21
ที่มา : Olmedo, P. et al. (2013). Determination of toxic elements
(mercury, cadmium, lead, tin and arsenic) in fish and shellfish
samples. Risk assessment for the consumers. Environ. Int. 59.
p. 63-72.
ปริมาณสารหนูรวมในกุ้งสด
0.739 mg/kg
และกุ้งแช่แข็ง 0.509
mg/kg
ปริมาณสารหนูรวม 0.516
mg/kg
22

Problem

Method

Sampling

Preparation

Measurement

Evaluation data
Satisfy
answer
ปริมาณสารหนูที่พบ
ในตัวอย่างข้าวไม่ขัดสี
อยู่ในช่วง
0.08-0.343 mg/kg
Problem
Method
Sampling
Preparation
Measurement
Evaluation
Analyticalprocesses:PMSPME พิจารณาปัญหา กาหนดชนิดสารที่สนใจ
สารตัวอย่าง ให้ชัดเจน
23
เลือกวิธีวิเคราะห์ให้เหมาะสม
ชักตัวอย่างให้มีความเป็นตัวแทน
เตรียมตัวอย่างให้เป็นรูปที่เหมาะสมกับวิธี
วิเคราะห์ เครื่องมือวิเคราะห์
วัดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือกายภาพ
วัดสัญญาณตอบสนอง
ประเมินผลด้วยหลักสถิติ
พบปริมาณฟอร์มาลีนตกค้างในอาหาร
ทะเลสด
24
25

Problem

Method

Sampling

Preparation

Measurement

Evaluation data
Satisfy
answer
• ปัญหาคืออะไร และอะไรคือคาตอบที่ต้องการ
(เชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ)
• ข้อมูลที่ได้จะบอกเกี่ยวกับอะไร หรือจะนาข้อมูล
ไปใช้ทาอะไร
• ส่วนประกอบที่ต้องการวิเคราะห์อยู่ในรูปทาง
เคมี (chemical form) แบบใด
• ผลการวิเคราะห์ต้องการความแม่นระดับใด
• ปัจจัยของตัวอย่าง (sample matrix)
• ค่าใช้จ่าย เวลา
ปัญหาพบปริมาณฟอร์มาลีน?
การกาหนดปัญหาและขอบเขตให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการ
วิเคราะห์เพื่อเลือกใช้ขั้นตอนการวิเคราะห์ลาดับถัดไปอย่างถูกต้อง
26

Problem

Method

Sampling

Preparation

Measurement

Evaluation data
Satisfy
answer
• ขนาดและจานวนตัวอย่าง
• ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่าง
• ความแม่นและความเที่ยงที่ต้องการ
• ระดับความเข้มข้นของสารที่สนใจในตัวอย่าง
• ความพร้อมของเครื่องมือวิเคราะห์ และสารเคมี
• ค่าใช้จ่าย
• ความรวดเร็ว หรือระยะเวลาในการวัดต่อตัวอย่าง
• ควรเลือกวิธีที่มีรายงานมาก่อนหรือเป็นวิธีมาตรฐาน
ต้องเลือกวิธีที่สามารถบอกได้ว่า
ฟอร์มาลีนที่ปนเปื้ อนมีปริมาณเท่าใด
โดยต้องพิจารณาจากชนิด สารที่
สนใจคือฟอร์มาลีน และชนิด
ตัวอย่างที่เป็นอาหารทะเล
“ไม่มีวิธีวิเคราะห์ใดที่สมบูรณ์ความ
ต้องการของเราได้ทั้งหมด”
เลือกวิธีวิเคราะห์ต้องสอดคล้องกับชนิดสารที่สนใจและ
ชนิดตัวอย่าง
ระดับนานาชาติ
(International standard)
ระดับภูมิภาค
(Regional standard)
ระดับชาติ
(National standard)
ระดับสมาคม
(Association standard)
ระดับองค์กรทางวิชาการ
(Society standard)
ผลงานตีพิมพ์
(Publication)
วิธี
พัฒนาขึ้น
ใหม่
วิธี
มาตรฐาน
27
ISO/TS 15495 | IDF/RM 230:2010, Milk,
milk products and infant formulae-
Guidelines for the quantitative
determination of melamine and
cyanuric acid by LC-MS/MS
Standardmethod
เป็นมาตรฐานที่ได้จากข้อตกลงร่วมกันของ
ประเทศสมาชิกต่างๆ ที่มีความสนใจร่วมกัน
• วิธีมาตรฐาน ISO (International
Standards Organization)
28วิธีมาตรฐานระดับนานาชาติ
(International standard)
EN 1233:1996 Water quality-
Determination of chromium-Atomic
absorption spectrometric methods
EN 14084:2003 Foodstuffs-
Determination of trace elements-
Determination of lead, cadmium, zinc,
copper and iron by AAS after
microwave digestion
Standardmethod
วิธีมาตรฐานระดับภูมิภาค
(Regional standard)
• วิธีมาตรฐานของสหภาพยุโรป
(European standard)
29
เป็นมาตรฐานที่เกิดขึ้นจากการประชุม
ปรึกษาหารือกันระหว่างประเทศในภูมิภาค
เดียวกัน
Standardmethod วิธีมาตรฐานระดับประเทศ
(National standard)
• Japanese Industrial Standard (JIS)
• British Standard (BS)
• USEPA
• APHA
• AWWA
• NIOSH
• OSHA
• มอก.
30
เป็นมาตรฐานที่ได้จากการประชุมหารือ
เพื่อหาข้อตกลงร่วมกันของผู้เกี่ยวข้อง
หลายภาคส่วนในประเทศ
AATCC 112:2014
Formaldehyde release from fabric,
Determination of: sealed Jar method
Standardmethod วิธีมาตรฐานระดับสมาคม
(Association standard)
• AATCC (American Association of
Textile Chemists and Colorists)
31
เป็นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นจากกลุ่มบริษัทที่
อยู่ในวงการค้าเดียวกัน หรือเกิดจาก
ข้อตกลงของกลุ่มบริษัทหรือโรงงานที่มี
กิจกรรมของอุตสาหกรรมเป็นอย่าง
เดียวกัน หรือมีการผลิตของชนิดเดียวกัน
ปัจจุบันมีหลายองค์กรที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
ASTM D5630–13 Standard
test method for ash content
in plastics
AOAC Official Method 999.10
lead, copper, zinc and iron
in foods: Atomic absorption
spectrometry after
microwave digestion
AOCS official method Ca 12-
55 Phosphorus
Standardmethod วิธีมาตรฐานรับรองโดย
องค์กรทางวิชาการ
• ASTM
• AOAC
• AOCS
• APPA
• AWWA
• EPA
ปัจจุบันมีหลายองค์กรที่เป็นที่ยอมรับในระดับ
นานาชาติ
32
Standardmethod วิธีเผยแพร่ในตารา/คู่มือ/
วารสารวิจัย
(Publication method)
• วิธีมาตรฐานสาหรับการวิเคราะห์อาหาร
โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
• Analytical Chemistry
• Journal of Chromatography A
• Analytica Chimica Acta
• Food Chemistry
• Analyst
• Microchimica Acta
• Analytical Letters
33
ส่วนใหญ่เป็นวิธีที่พัฒนาขึ้นใหม่
ที่มา : http://files.foodmate.com/2013/files_2990.html
34
Preparation
Measurement
35

Problem

Method

Sampling

Preparation

Measurement

Evaluation data
Satisfy
answer
การชักตัวอย่างเป็นการลดจานวนหรือปริมาณตัวอย่าง
โดยทาการสุ่มเอาตัวอย่างมาเป็นตัวแทนของตัวอย่าง
ทั้งหมดที่สนใจศึกษา
1) ความเป็นตัวแทน (representative)
2) จานวน (number) และปริมาณ (quantity)
3) วิธีการ (procedure) และการเก็บรักษาตัวอย่าง
(reservation) ถูกต้องและเหมาะสม
36

Problem

Method

Sampling

Preparation

Measurement

Evaluation data
Satisfy
answer
▪ การทาให้ตัวอย่างอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม
ที่จะทาการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเฉพาะ
ต่อไป
▪ กาจัดสิ่งรบกวน
▪ ต้องสอดคล้องกับวิธีวิเคราะห์
▪ วิธีการเตรียมตัวอย่างขึ้นอยู่กับวิธี
วิเคราะห์ วิธีวัด เครื่องมือวัด ชนิด
ตัวอย่างและชนิดสารที่สนใจ
37

Problem

Method

Sampling

Preparation

Measurement

Evaluation data
Satisfy
answer
เป็นขั้นตอนการวัดสัญญาณของสารที่สนใจใน
ตัวอย่างที่ผ่านการเตรียมแล้ว การวัดต้องสอดคล้อง
กับวิธีวิเคราะห์
▪ การสอบเทียบมาตรฐานอุปกรณ์และเครื่องมือวัด
▪ การทดสอบความใช้ได้ของวิธี (method
validation) หรือการทดสอบคุณภาพ (quality
control)
▪ การทาการวัดซ้า (replicates)
▪ การทากราฟมาตรฐาน (calibration curve)
38

Problem

Method

Sampling

Preparation

Measurement

Evaluation data
Satisfy
answer
▪ การประเมินข้อมูล
▪ LOD, LOQ
▪ RSD
▪ Sensitivity
▪ การทดสอบทางสถิติ
▪ Q test
▪ T-test, F-test
ที่มา: Gasparini et al. (2008) A simple and green analytical method
for the determination of formaldehyde. J. Braz. Chem. Soc. 19.
39
เคมีวิเคราะห์
ศาสตร์แห่งปรัชญาเคมีที่บูรณาการความรู้พื้นฐาน เทคนิค
การวิเคราะห์ และทักษะประสบการณ์ เพื่อก่อให้เกิดซึ่งองค์
ความรู้ใหม่ ๆ ในด้านการวิเคราะห์สารที่สนใจในตัวอย่าง
ศาสตร์แห่งเคมีวิเคราะห์ไม่เพียงแต่อาศัยหลักการทางทฤษฎี
เท่านั้น แต่ยังต้องอาศัยขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ผู้ทดลอง
ต้องเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
เพราะเราไม่อาจทราบค่าแท้จริง ความคลาดเคลื่อนต้อง
เกิดขึ้นน้อยที่สุดเพื่อให้มีความแม่นมากที่สุด

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
Jariya Jaiyot
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]
kaoijai
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
kaoijai
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
soysuwanyuennan
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
ratchaneeseangkla
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
Tanchanok Pps
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
Jariya Jaiyot
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
Maruko Supertinger
 

Mais procurados (20)

เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 

Semelhante a AnalChem : Overview

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
Prachyanun Nilsook
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
jeabjeabloei
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
omsnooo
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
npapak74
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
Wes Yod
 

Semelhante a AnalChem : Overview (11)

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
05
0505
05
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
9789740335719
97897403357199789740335719
9789740335719
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
369511
369511369511
369511
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 

Mais de Dr.Woravith Chansuvarn

Mais de Dr.Woravith Chansuvarn (20)

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
AnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric MethodAnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric Method
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
Rubber : ยาง
Rubber : ยางRubber : ยาง
Rubber : ยาง
 
Plastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติกPlastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติก
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 

AnalChem : Overview