Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Anúncio

Mais de Dr.Woravith Chansuvarn(20)

Último(20)

Anúncio

AnalChem: Complexometric titration

  1. Titrimetry : Complexometric Titration การไทเทรตแบบเกิดไอออนเชิงซ้อน Asst.Prof.Woravith Chansuvarn, Ph.D. http://web.rmutp.ac.th/woravith woravith woravith.c@rmutp.ac.th Active Learning Woravith Chansuvarn Learning for Allby
  2. การไทเทรต ปฏิกิริยาแบบ เกิดไอออน เชิงซ้อน 5.4 บอกสมดุลไอออนเชิงซ้อน บอกสมดุลของไอออนเชิงซ้อน EDTA อธิบายกราฟของการไทเทรตด้วย EDTA บอกการประยุกต์การไทเทรตโดยใช้ EDTA // แผนการสอนและประเมินผลการเรียนรู้
  3. https://chem.libretexts.org/Bookshelves/Analytical_Chemistry เอกสารประกอบการสอน http://www.slideshare.net/woravith http://web.rmutp.ac.th/woravith ChemoGraphics ▪ วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. 2563. เคมีวิเคราะห์ (หลักการและเทคนิคการคานวณเชิงปริมาณ). สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  4. วิธีวิเคราะห์หาปริมาณของไอออนโลหะ โดยอาศัยการเกิดเป็นไอออนเชิงซ้อน ที่เสถียรกับลิแกนด์ (ligand) โดยความเสถียรของไอออนเชิงซ้อน ขึ้นอยู่กับ ค่าคงที่สมดุลรวมของการเกิดไอออนเชิงซ้อน ลิแกนด์ที่นิยมใช้คือ กรดเอทิลีนไดแอมีนเททระแอซีติก หรือเรียกย่อว่า อีดีทีเอ (EDTA) และอินดิเคเตอร์ที่นิยมใช้คือ เออริโอโครมแบลก-ที (eriochrome black-T)
  5. “สารประกอบที่เกิดจากอะตอมหรือไอออนของโลหะ ถูกล้อมรอบด้วยลิแกนด์” ไอออนเชิงซ้อน complex ion สารประกอบเชิงซ้อนจะประกอบด้วยอะตอมหรือไอออน ของโลหะที่อยู่ตรงกลาง เรียกว่า อะตอมกลาง (central atom) และโมเลกุลที่เป็นกลางหรือไอออนลบ ที่ล้อมรอบอะตอมกลาง เรียกว่า ลิแกนด์ (ligand)
  6. n+ f1 n+ [ML ] K = [M ][L] Mn+ + L MLn+ n+ 2 f2 n+ [ML ] K = [ML ][L] n+ 3 f3 n+ 2 [ML ] K = [ML ][L] n+ n fn n+ n-1 [ML ] K = [ML ][L] MLn+ + L ML2 n+ ML2 n+ + L ML3 n+ MLn-1 n+ + L MLn n+ เมื่อ Kf1, Kf2, Kf3,Kfn เป็นค่าคงที่สมดุลของการเกิดไอออนเชิงซ้อนแต่ละขั้น (stepwise) ของไอออนโลหะ M
  7. ค่า Kf เป็นค่าที่ใช้แสดงความ เสถียรของไอออนเชิงซ้อนที่เกิดขึ้น แต่ละขั้น ถ้ามีค่า Kf มาก แสดงว่าไอออน เชิงซ้อนที่เกิดขึ้นมีความเสถียรสูง ค่าคงที่สมดุลรวมของการเกิด ไอออนเชิงซ้อน (overall formation constant) แต่ละขั้น จะเขียนแทนด้วย  Kf Kf = ค่าคงที่สมดุลของการเกิดไอออนเชิงซ้อน ของโลหะ (stability constant)  = Kf1Kf2Kf3Kfn ถ้ามีค่า  มาก แสดงว่าไอออนเชิงซ้อนมีความ เสถียรมาก
  8. Kf M L K1 K2 K3 K4 K5 K6 Kf or  Ag+ NH3 2.0x103 7.9x103 1.6x107 Zn2+ NH3 3.9x102 2.1x102 1.0x102 5.0x101 4.1x108 Cu2+ NH3 1.9x104 3.9x103 1.0x103 1.5x102 1.1x1013 Ni2+ NH3 16.3x102 1.7x102 5.4x101 1.5x101 5.6 1.1 5.3x108 Cu2+ en 5.2x1010 2.0x109 1.0x1020 Ni2+ en 3.3x107 1.9x106 1.8x104 1.1x1018 Ni2+ EDTA 4.2x1018 4.2x1018 ค่าคงที่สมดุลของการเกิดไอออนเชิงซ้อนแต่ละขั้น (stepwise) ที่ 25C
  9. Kf ค่าคงที่สมดุลของการเกิดไอออนเชิงซ้อน ที่ 25C
  10. 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 0 10 20 30 40 50 60 70 80 pM ปริมาตรตัวไทเทรต (mL) 1:1 2:1 4:1 ถ้าลิแกนด์ L ทาปฏิกิริยากับ ไอออนโลหะ M ในอัตราส่วน จานวนโมล 1:1 จะได้เส้นกราฟมี ช่วงความชัน 1 ช่วง ถ้าลิแกนด์ L ทาปฏิกิริยากับ ไอออนโลหะ M ในอัตราส่วน จานวนโมล 1:2 จะได้กราฟมีช่วง ความชัน 2 ช่วง ลักษณะเส้นกราฟการไทเทรต
  11. สมดุลของไอออนเชิงซ้อน EDTA กรดเอทิลีนไดแอมีนเททระแอซีติก (อีดีทีเอ; EDTA) เป็นลิแกนด์ชนิดเฮกซะเดนเทต (คู่อิเล็กตรอนมา จากหมู่อะมิโน 2 หมู่ และหมู่คาร์บอกซิลิกอีก 4 หมู่) เกิดไอออนเชิงซ้อนกับโลหะส่วนใหญ่ด้วยอัตราส่วน จานวนโมลเท่ากับ 1:1 EDTA เป็นกรดอ่อนชนิดเฮกซะโปรติก (H6Y2+) มีโปรตอนที่ถูกแทนที่ได้ด้วยไอออนโลหะ 6 ตัว ค่า pKa1 ถึง pKa4 เป็นการแตกตัวของหมู่คาร์บอกซิลิก pKa5 และ pKa6 เป็นการแตกตัวของโปรตอนที่หมู่อะมิโน (ammonium proton) ปฏิกิริยาแตกตัว pKa H6Y2+ H5Y+ + H+ pKa1= 0 H5Y+ H4Y + H+ pKa2= 1.50 H4Y H3Y- + H+ pKa3= 2.00 H3Y- H2Y2- + H+ pKa4= 2.69 H2Y2- HY3- + H+ pKa5= 6.13 HY3- Y4- + H pKa6= 10.37 N-CH2-CH2-N HO-C-CH2 HO-C-CH2 CH2-C-OH CH2-C-OH = = = = O O O O H6Y2+ และ H5Y+ เป็นอนุมูลที่เกิดในสภาวะที่เป็นกรดสูง สามารถแตกตัว ได้ดี ส่วน Y4- เป็นอนุมูลที่สูญเสียโปรตอนทั้งหมด ซึ่งจะเกิดได้ดีใน สภาวะที่มีความเป็นกรดต่าและมีความสามารถแตกตัวได้น้อย
  12. EDTA ในสภาพที่เป็นกรดอ่อน เป็นอนุมูลไม่มีประจุ (neutral weak acid) จัดเป็นกรดอ่อนชนิดเททระโปรติก รูปทั่วไปของ EDTA เขียนเป็น H4Y มีค่าคงที่การแตกตัวได้ 4 ค่า - + -2 3 a1 4 [H Y ][H ] K = = 1.02x10 [H Y] H4Y H3Y- + H+ 2- + -3 2 a2 - 3 [H Y ][H ] K = = 2.14x10 [H Y ] H3Y- H2Y2- + H+ 3- + -7 a3 2- 2 [HY ][H ] K = = 6.92x10 [H Y ] H2Y2- HY3- + H+ 4- + -11 a4 3- [Y ][H ] K = = 5.55x10 [HY ] HY3- Y4- + H+ ค่า Ka1 และ Ka2 มีค่ามากและแตกต่างกัน เพียงเล็กน้อย การแตกตัวของ H+ สองตัวแรกจะ เกิดขึ้นได้ดี เนื่องจากเป็น H+ ของหมู่ คาร์บอกซิลิกที่อยู่ปลายในแนวทะแยงมุม ของโมเลกุล แต่ H+ ตัวที่สามและสี่จะแตกตัวได้ยากขึ้น (ค่า Ka ต่า) ทาให้แตกตัวได้น้อย เนื่องจากอิทธิพลของประจุลบของหมู่ คาร์บอกซิเลต (carboxylate group) N-CH2-CH2-N HOOC-CH2 HOOC-CH2 CH2-COOH CH2-COOH
  13. อนุมูลของ EDTA จะอยู่เทอมของความเข้มข้นสัมพัทธ์ (relative concentration) หรือ เศษส่วนของแต่ละองค์ประกอบ (fraction) เขียนแทนด้วย  เช่น Y4- คือ ความเข้มข้นของ Y4- ต่อองค์ประกอบทั้งหมดของ EDTA 4- 4- 2+ + - 2- 3- 4- Y 6 5 4 3 2 [Y ] = [H Y ]+[H Y ]+[H Y]+[H Y ]+[H Y ]+[HY ]+[Y ]  4- 4- Y T [Y ] = C  CT = ผลรวมความเข้มข้นของอนุมูล H4Y ทั้งหมด = [H6Y2+]+[H5Y+]+[H4Y]+[H3Y-]+[H2Y2-]+[HY3-]+[Y4-] เนื่องจาก อนุมูล H6Y2+ และ H5Y+ จะแตกตัวได้ดีจึงเหลือน้อยมาก เมื่อเทียบกับความเข้มข้น EDTA และอนุมูลอื่น ๆ ดังนั้น เศษส่วนของแต่ละองค์ประกอบจึงพิจารณาเฉพาะ H4Y, H3Y-, H2Y2-, HY3- และ Y4- H4Y H3Y- H2Y2- HY3- Y4- อนุมูล
  14. H4Y เขียนแทนด้วย 0 4 0 T [H Y] = C  H3Y- เขียนแทนด้วย 1 - 3 1 T [H Y ] = C  H2Y2- เขียนแทนด้วย 2 2- 2 2 T [H Y ] = C  HY3- เขียนแทนด้วย 3 2- 2 3 T [H Y ] = C  Y4- เขียนแทนด้วย 4 4- 4 T [Y ] = C  + 4 + 4 + 3 + 2 + a1 a1 a2 a1 a2 a3 a1 a2 a3 a4 [H ] = [H ] +K [H ] +K K [H ] +K K K [H ]+K K K K + 4 a1 + 4 + 3 + 2 + a1 a1 a2 a1 a2 a3 a1 a2 a3 a4 K [H ] = [H ] +K [H ] +K K [H ] +K K K [H ]+K K K K + 4 a1 a2 + 4 + 3 + 2 + a1 a1 a2 a1 a2 a3 a1 a2 a3 a4 K K [H ] = [H ] +K [H ] +K K [H ] +K K K [H ]+K K K K + 4 a1 a2 a3 + 4 + 3 + 2 + a1 a1 a2 a1 a2 a3 a1 a2 a3 a4 K K K [H ] = [H ] +K [H ] +K K [H ] +K K K [H ]+K K K K + 4 a1 a2 a3 a4 + 4 + 3 + 2 + a1 a1 a2 a1 a2 a3 a1 a2 a3 a4 K K K K [H ] = [H ] +K [H ] +K K [H ] +K K K [H ]+K K K K
  15. ค่า n จะขึ้นอยู่กับ pH ของ สารละลายเท่านั้น ค่า n ที่ pH ต่าง ๆ เศษส่ ว นของแต่ ล ะองค์ ป ระกอบ pH เมื่อ EDYA แตกตัวในน้าจะ ประกอบด้วยอนุมูล 7 รูป H6Y2+, H5Y+, H4Y, H3Y-, H2Y2-, HY3-, Y4- การแตกตัวของ EDTA ในน้า จะแปรผันตาม pH ของ สารละลาย EDTA ส่วนใหญ่ อยู่ในรูป H4Y และ H3Y- องค์ประกอบ ของ EDTA จะ อยู่ในรูป H2Y2- ส่วนใหญ่เป็น HY3- pH>10 องค์ประกอบ เป็น Y4- [H6Y2+] [H5Y+] [H4Y] [H3Y-] [H2Y2-] [HY3-] [Y4-]
  16. pH 0 1.3x10-23 1.0 1.4x10-18 2.0 2.6x10-14 3.0 2.1x10-11 4.0 3.0x10-9 5.0 2.9x10-7 6.0 1.8x10-5 7.0 3.8x10-4 8.0 4.2x10-3 9.0 4.1x10-2 10.0 0.30 11.0 0.81 12.0 0.98 13.0 1.00 14.0 1.00 ค่า 4 (20C, =1.0 mol/L) 4- Y  pH ต่า pH สูง [H6Y2+] [H5Y+] [H4Y] [H3Y-] [H2Y2-] [HY3-] [Y4-] -H+ -H+ -H+ -H+ -H+ -H+ +H+ +H+ +H+ +H+ +H+ +H+
  17. แคตไอออน KMY logKMY แคตไอออน KMY logKMY Li+ 8.9x102 2.95 Lu3+ 5.5x1019 19.74 Na+ 7.2x101 1.86 Co3+ 2.5x1041 41.4 K+ 6.31 0.8 Zr4+ 2.0x1029 29.3 Be2+ 5.0x109 9.7 Hf4+ 3.2x1029 29.5 Mg2+ 4.9x108 8.69 VO2+ 5.0x1018 18.7 Ca2+ 5.0x1010 10.70 Ag+ 1.6x107 7.20 Sr2+ 5.2x108 8.72 Tl+ 2.6x106 6.41 Ba2+ 7.6x107 7.88 Pd2+ 4.0x1025 25.6 Y3+ 1.2x1018 18.08 Zn2+ 3.2x1016 16.5 La3+ 2.3x1015 15.36 Cd2+ 3.2x1016 16.5 Mn2+ 7.8x1013 13.89 Hg2+ 3.2x1021 21.5 Fe2+ 2.0x1014 14.30 Sn2+ 2.0x1018 18.3 Co2+ 2.8x1016 16.45 Pb2+ 1.0x1018 18.0 Ni2+ 2.5x1018 18.4 Al3+ 2.5x1016 16.4 Cu2+ 6.0x1018 18.78 Ga3+ 5.0x1021 21.7 Ti3+ 2.0x1031 21.3 In3+ 7.9x1024 24.9 V3+ 7.9x1025 25.9 Ce3+ 8.5x1015 15.93 Cr3+ 2.5x1023 23.4 Bi3+ 6.3x1027 27.8 Mn3+ 1.6x1025 25.2 Th4+ 1.6x1023 23.2 Fe3+ 1.3x1025 25.1 Tl3+ 2.0x1035 35.3 ไอออนเชิงซ้อนที่เกิดขึ้นระหว่าง ไอออนโลหะกับ EDTA เกิดเป็น สารคีเลตที่มีความเสถียรสูง ค่าคงที่การเกิดไอออนเชิงซ้อน ระหว่างไอออนโลหะกับ EDTA มีค่าสูง ค่าคงที่การเกิดไอออนเชิงซ้อนระหว่างไอออนโลหะกับ EDTA ค่าคงที่การเกิดไอออนเชิงซ้อนของ EDTA (n-4) f n+ 4- [MY ] K = [M ][Y ] Mn+ + Y4- MY(n-4) Kf = ค่าคงที่การเกิดไอออนเชิงซ้อน (KMY)
  18. ค่าคงที่การเกิดไอออนเชิงซ้อนอย่างมีเงื่อนไข เป็นค่า Kf ของการเกิดไอออนเชิงซ้อนที่ pH ค่าใดค่าหนึ่งโดยเฉพาะ การเกิดไอออนเชิงซ้อนของ EDTA จะต้องควบคุม pH ของสารละลายให้คงที่ (conditional formation constant; K’f) 4- 4 T [Y ] = C  4- 4 T [Y ] = C  (n-4) MY n+ 4- [MY ] K = [M ][Y ] Mn+ + Y4- MY(n-4) (n-4) MY n+ 4 T [MY ] K = [M ] C  (n-4) MY 4 MY n+ T [MY ] K = = K' [M ] C  ค่าคงที่การเกิดไอออนเชิงซ้อนอย่างมี เงื่อนไข ซึ่งขึ้นอยู่กับ 4 หรือขึ้นอยู่กับ ค่า pH ของสารละลาย
  19. จงคานวณความเข้มข้นที่สมดุลของ Ni2+ ในสารละลาย NiY2- 0.0150 mol/L ที่ pH 3.0 และ pH 8.0 2- 18 NiY 2+ 4- [NiY ] K = = 4.2x10 [Ni ][Y ] Ni2+ + Y4- NiY2- 2- NiY 4 2+ T [NiY ] K' = [Ni ] C  ในสารละลายจะมีทั้ง Ni2+ และ EDTA ในรูปต่าง ๆ [Ni2+] = [Y4-]+[HY3-]+[H2Y2-]+[H3Y-]+[H4Y] = CT 2- NiY 4 2+ 2 [NiY ] K' = [Ni ]  pH 3.0 ค่า 4 = 2.1x10-11 2- 18 -11 2+ 2 [NiY ] = (4.2x10 )(2.1x10 ) [Ni ] 2+ 18 -11 0.0150 [Ni ] = (4.2x10 )(2.1x10 ) = 1.30x10-5 pH 8.0 ค่า 4 = 4.2x10-3 2- 18 -3 2+ 2 [NiY ] = (4.2x10 )(4.2x10 ) [Ni ] 2+ 18 -3 0.0150 [Ni ] = (4.2x10 )(4.2x10 ) = 9.22x10-10
  20. จุดเริ่มต้น (initial point) การคานวณค่า pM ช่วงก่อนจุดสมมูล (pre-equivalent point) จุดสมมูล (equivalent point) ช่วงหลังจุดสมมูล (post-equivalent point) กราฟการไทเทรตแบบเกิดไอออนเชิงซ้อน 1 2 3 4 กราฟการไทเทรตสร้างโดยเขียน ความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาตรตัวไทเทรต เป็นแกน x กับ ฟังก์ชันพี (p-function) ของ ไอออนโลหะ (pM) เป็นแกน y ฟังก์ชันพีของ [M] หมายถึง -log[Mn+] = pM
  21. จุดทางทฤษฎีที่จานวนโมลของตัวไทเทรตและตัวถูกไทเทรต ทาปฏิกิริยากันพอดีตามปริมาณสัมพันธ์ จุดสมมูล mmol Mn+ = mmol Y4- คานวณปริมาตรตัวไทเทรตที่จุดสมมูล เพื่อกาหนดช่วงการคานวณค่า pM • ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม < แสดงว่าเป็นจุดก่อนสมมูล • ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม = แสดงว่าเป็นจุดสมมูล • ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม > แสดงว่าเป็นจุดหลังสมมูล Mn+ + Y4- → MY2- n+ n+ 2- 2- M M Y Y M V = M V 2- 2- n+ n+ Y Y M M M V V = M n+ M V n+ M V n+ M V
  22. กราฟการไทเทรต แบบเกิดไอออนเชิงซ้อน 0.0100 M EDTA 0 mL 5.00x10-3 M Ca2+ 50.00 mL mmol EDTA = mmol Ca2+ Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) VEDTA = 5.00x10−3 Mx50.00 mL 0.0100 M VEDTA = 25.0 mL จุดเริ่มต้น (VEDTA = 0 mL) 2.50 mmol 1 เมื่อ >> ค่า KMY=5.0x1010 สารละลาย pH=10.0 Y4-=3.1x10-1 2- 2- 2+ 4- CaY [CaY ] K = [Ca ][Y ] ในสารละลายมีแต่ Ca2+ [Ca2+] = 5.00x10-3 mol/L pCa = -log(5.00x10-3) = 2.301 = (5.0x1010)(3.0x10-1) = 1.5x1010 2- 2- 4 CaY CaY K = K  
  23. กราฟการไทเทรต แบบเกิดไอออนเชิงซ้อน 0.0100 M EDTA 5.00 mL 5.00x10-3 M Ca2+ 50.00 mL Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) ช่วงก่อนจุดสมมูล (VEDTA= 5.00 mL) 2.50 mmol 2 (mmol Y4- < mmol Ca2+) 0.50 mmol mmol Ca2+ = mmol Ca2+ ที่เหลือ mmol Ca2+ = mmol Ca2+ เริ่มต้น - mmol Ca2+ ที่เกิดขึ้น [Ca2+] ทั้งหมด คือ [Ca2+] ที่เหลือ และ [Ca2+] ที่แตกตัวจาก ไอออนเชิงซ้อน CaY2- (ซึ่งมีค่าเท่ากับ CT) [Ca2+] = [Ca2+]ที่เหลือ + CT mmol Ca2+ = mmol Ca2+ เริ่มต้น - mmol EDTAที่เติม 2+ 2.00 mmol [Ca ] = 55.00 mL = 3.64x10-3 mol/L pCa = -log(3.64x10-3) = 2.439 = 2.50 mmol–0.50 mmol = 2.00 mmol จะเท่ากับ mmol EDTAที่เติม แต่ CT มีค่าน้อยมากเมื่อ เทียบกับ [Ca2+]ที่เหลือ จึงตัดทิ้งได้
  24. กราฟการไทเทรต แบบเกิดไอออนเชิงซ้อน 0.0100 M EDTA 25.00 mL 5.00x10-3 M Ca2+ 50.00 mL Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) จุดสมมูล (VEDTA= 25.00 mL) 2.50 mmol 3 (mmol Y4- = mmol Ca2+) 2.50 mmol ในสารละลายจะมี CaY2- เกิดขึ้นเท่ากับ EDTA ที่เติมลงไป [Ca2+] = CT [CaY2-]ที่เกิดขึ้น = [Y4-]ที่เติม - CT pCa = -log (4.36x10-7) = 6.327 [CaY2-]ที่เกิดขึ้น = 0.0100 mol/L x 25.00 mL 50.00 mL + 25.00 mL = 3.33x10-3 mol/L 2- 10 2+ 2 [CaY ] = 1.5x10 [Ca ] -3 10 3.33x10 1.5x10 เมื่อ [Ca2+]=[Y4-] [Ca2+]2 = [Ca2+] = 4.36x10-7 mol/L แต่ CT มีค่าน้อยมาก จึงตัดทิ้งได้
  25. กราฟการไทเทรต แบบเกิดไอออนเชิงซ้อน 0.0100 M EDTA 30.00 mL 5.00x10-3 M Ca2+ 50.00 mL Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) ช่วงหลังจุดสมมูล (VEDTA= 30.00 mL) 2.50 mmol 4 (mmol Y4- > mmol Ca2+) 3.00 mmol ในสารละลายจะมี EDTA เหลือในระบบ [EDTA]ที่เหลือ = 2+ mmol EDTA - mmol Ca 80.00 mL -3 2.50 mmol = 3.13x10 mol/L 80.00 mL [Ca2+] น้อยมาก ๆ เมื่อเทียบ กับ [CaY2-] และ [EDTA] จึงตัดทิ้งได้ [CaY2-]ที่เกิดขึ้น = -4 3.00 mmol - 2.50 mmol = = 6.25x10 mol/L 80.00 mL สารละลายของไอออนเชิงซ้อนที่เกิดขึ้นแตกตัวได้บ้าง [CaY2-] = 3.13x10-3 - [Ca2+] CT = 6.25x10-4 mol/L + [Ca2+]
  26. กราฟการไทเทรต แบบเกิดไอออนเชิงซ้อน 0.0100 M EDTA 30.00 mL 5.00x10-3 M Ca2+ 50.00 mL Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) ช่วงหลังจุดสมมูล (VEDTA= 30.00 mL) 2.50 mmol 4 (mmol Y4- > mmol Ca2+) 3.00 mmol แทนค่า [CaY2-] และ CT ลงในสมการค่าคงที่การเกิดไอออนเชิงซ้อนอย่างมีเงื่อนไข 2- 10 2+ T [CaY ] = 1.5x10 [Ca ] C -3 10 2+ -4 3.13x10 mol/L = 1.5x10 [Ca ] (6.25x10 mol/L) [Ca2+] = 3.33x10-10 mol/L pCa = 9.477
  27. กราฟการไทเทรต แบบเกิดไอออนเชิงซ้อน 0.0100 M EDTA 5.00x10-3 M Ca2+ 50.00 mL Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) 2.50 mmol 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pCa ปริมาตรสารละลาย EDTA 0.0100 mol/L (mL)
  28. ปริมาตร EDTA (mL) pCa ปริมาตร EDTA (mL) pCa 0.00 2.30 25.01 6.778 1.00 2.327 25.50 8.477 5.00 2.439 26.00 8.778 10.00 2.602 28.00 9.255 12.50 2.699 30.00 9.477 15.00 2.813 35.00 9.778 20.00 3.146 40.00 9.955 24.00 3.869 45.00 10.08 24.50 4.173 50.00 10.18 24.90 4.874 24.99 5.875 25.00 6.327 ค่า pCa ของการ ไทเทรตสารละลาย Ca2+ 5.00x10-3 mol/L ด้วย สารละลาย EDTA 1.00x10-2 mol/L ที่ pH 10.0 Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq)
  29. กราฟการไทเทรตแบบเกิ ด ไอออนเชิ ง ซ้ อ น จุดสมมูล (pCa=6.327) 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pCa ปริมาตรสารละลาย EDTA 0.0100 mol/L (mL) Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) สรุปความความคิดเห็น สารละลาย Ca2+ 5.00x10-3 mol/L, สารละลาย EDTA 0.0100 mol/L, pH 10.0
  30. ปัจจัยความเข้มข้น คู่สารละลาย EDTA กับไอออนโลหะที่มี ความเข้มข้นมากกว่า จะมีช่วงจุดสมมูล กว้างกว่า Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) 0.00 2.00 4.00 6.00 8.00 10.00 12.00 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pCa ปริมาตรสารละลาย EDTA (mL) (ก) สารละลาย Ca2+ 0.100 mol/L, สารละลาย EDTA 0.100 mol/L, pH 10.0 (ข) สารละลาย Ca2+ 0.0100 mol/L, สารละลาย EDTA 0.0100 mol/L, pH 10.0 (ค) สารละลาย Ca2+ 0.00100 mol/L, สารละลาย EDTA 0.00100 mol/L, pH 10.0 (ค) (ข) (ก)
  31. ปัจจัยค่า pH การไทเทรตสารละลาย ที่มี pH ต่างกัน จะได้กราฟการไทเทรต แตกต่างกัน เช่น การไทเทรตสารละลาย Ca2+ ด้วยสารละลาย EDTA ในสารละลายที่มี pH มากกว่า 8 จะได้กราฟการไทเทรตมี ลักษณะชันมากและมีช่วงการ เปลี่ยนแปลง pM กว้าง Ca2+(aq) + Y4-(aq) → CaY2-(aq) 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pCa ปริมาตรสารละลาย EDTA 0.0100 mol/L (mL) pH=12 pH=10 pH=8 pH=6
  32. ปัจจัยค่า pH 1) ไอออนโลหะที่มีค่า logKMY สูงกว่า 20 เป็นพวกโลหะชนิดไตรเวเลนซ์ (+3) และเททระเวเลนซ์ (+4) ไทเทรตได้ใน สารละลายที่มีความเป็นกรดที่มี pH ต่ากว่า 4 2) ไอออนโลหะที่มีค่า logKMY อยู่ในช่วง 15 ถึง 18 เป็นพวกโลหะแทรนซิชัน ชนิดไดเวเลนซ์ (+2) ของโลหะแอล คาไลน์เอิร์ท และ Al3+ ไทเทรตได้ใน สารละลายที่เป็นกรดอ่อน ๆ หรือเป็น กลาง ช่วง pH 4 ถึง 7 3) ไอออนโลหะที่มีค่า logKMY อยู่ในช่วง 8 ถึง 11 เช่น พวกโลหะแอลคาไลน์ เอิร์ท ไทเทรตได้ในสารละลายที่เป็น เบส
  33. ปัจจัยค่า Kf 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 pM ปริมาตรสารละลาย EDTA 0.0100 mol/L (mL) KFeY-=1.3x1025 KHgY2-=6.3x1021 KZnY2-=3.2x1016 KFeY2-=2.1x1014 KCaY2-=5.0x1010 ถ้าค่า KMY มีค่ามาก แสดงว่า ปฏิกิริยาระหว่างไอออนโลหะกับ สารละลาย EDTA จะเกิดขึ้น สมบูรณ์ ไอออนเชิงซ้อนที่มีค่า KMY สูง จะได้กราฟที่มีความชันมากและ มีช่วงการเปลี่ยนแปลง pM กว้าง ซึ่งจะทาให้สังเกตจุดยุติ ได้ง่าย ปฏิกิริยาระหว่างไอออนโลหะเข้มข้น 0.0100 mol/L 50.00 mL กับ สารละลาย EDTA 0.0100 mol/L ที่ pH 6.0
  34. การใช้สารกาบัง (masking agent) สารกาบัง ใช้ในการไทเทรต ไซยาไนด์ • Pb2+ ในสารละลายที่มี Cu2+ หรือ Co2+ เป็นตัวรบกวน • Ca2+ ที่ pH 10 ที่มีไอออนโลหะประจุ +2 เป็นตัวรบกวน • In3+ ในสารละลายที่มี Cd2+, Co2+, Cu2+, Hg2+, Ni2+, Zn2+ ปนอยู่ ไตรเอทาโนลามีน • Ni2+ ในสารละลายที่มี Al3+, Fe3+, Mn2+ ปนอยู่ ซึ่งจะทาเกิดไอออน เชิงซ้อนไตรเอทาโนลามีน • Mg2+ ในสารละลายที่มี pH 10 และมี Al3+ ปนอยู่ • Zn2+ หรือ Cd2+ ในสารละลายแอมโมเนีย ที่มี Al3+ ปนอยู่ • Pb2+ หรือ Mn2+ ในสารละลายที่มี pH 10 และมี Sn3+, Al3+ ปนอยู่ ฟลูออไรด์ • Zn2+, Cd2+, Mn2+ ที่มี Al3+ ปน ซึ่งจะทาเกิดไอออนเป็น AIF6 3- • Cu2+ ที่ pH 6 ที่มี Al3+, Ti3+ เป็นตัวรบกวน • Ga3+ ในกรดแอซีติกเข้มข้นที่ pH 2.8 เมื่อมี Al3+ ปนอยู่ ไดเมอแคปโตโพรพานอล • Mg2+ ในสารละลายที่มี Bi3+, Cd2+, Cu2+, Hg2+, Pb2+ ปนอยู่ • Th3+ ที่ pH 3 ในสารละลายที่มี Bi3+ และ Pb2+ ปนอยู่ กรดแอสคอร์บิก • Bi3+, Th3+ ที่ pH 2 ที่มี Cu2+, Fe3+, Hg2+ เป็นตัวรบกวน แอมโมเนีย (NH3) • Cd2+ ที่ pH 10 ที่มี Zn2+ เป็นตัวรบกวน 2-เมอแคปโตเอทิลามีน • Pd2+ ที่ pH 5-6 ที่มี Cu2+, Hg2+, Tl3+, Sn4+ เป็นตัวรบกวน โพแทสเซียมเฮกซะไซยาโนเฟอร์เรต • สารละลายที่มี Ca2+ และ Mg2+ ผสมกัน ที่ pH 10 สารที่เติมลงไปใน สารละลายเพื่อทา ให้สารที่รบกวนถูก แยกออกมาหรือ ป้องกันไม่ให้ รบกวนการไทเทรต
  35. เมื่อนา CaCO3 (100.09 g/mol) 0.1001 g มาละลายในน้าปริมาตร 100.0 mL ปิเปตสารละลายที่เตรียม ปริมาตร 10.00 mL ไทเทรตด้วยสารละลาย EDTA พบว่าใช้ปริมาตรสารละลาย EDTA ไปเท่ากับ 11.08 mL และเมื่อนาน้าบาดาลปริมาตร 50.00 mL ไทเทรตกับสารละลาย EDTA ดังกล่าว พบว่าใช้ปริมาตรสารละลาย EDTA ไปเท่ากับ 12.04 mL จงคานวณความกระด้างรวมของน้าบาดาลในหน่วย mg/L (as CaCO3) mmol EDTA = mmol Ca2+ 3 EDTA EDTA 1.001x10 mg M V = 100.09 g/mol 3 EDTA 1.001x10 mg M = (100.09 g/mol)(11.08 mL) = 0.09026 mol/L คานวณความเข้มข้น EDTA Ca2+ + H4Y → CaY2- Ca2+ + H4Y → CaY2- คานวณ Ca2+ ในสารตัวอย่าง mmol Ca2+ = mmol EDTA EDTA EDTA mg = M V 100.09 g/mol mg CaCO3 = 108.8 mg mg = (0.09026 mol/L)(12.04 mL)(100.09 g/mol) 100.09 g/mol CaCO3 = 2.178x103 mg/L as CaCO3 108.8 mg CaCO3 ใน 50.00 mL คานวณในปริมาตร 1000 mL
  36. ผู้เขียนมีความตั้งใจอย่างมากที่จะเรียบเรียง หนังสือเล่มนี้เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของรากฐาน ศาสตร์แห่งเคมีวิเคราะห์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มพู น ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการคานวณเชิง ปริมาณ สาหรับนิสิต นักศึกษา นักวิจัย และผู้ที่ สนใจสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา การ ประกอบวิชาชีพและการค้นคว้าวิจัยต่อไป ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ Active Learning Woravith Chansuvarn Learning for Allby woravith
Anúncio