SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
กินข้าวเป็นอาหารหลักสลับอาหาร
      ประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นแหล่งอาหาร
สำาคัญทีให้พลังงาน สารอาหารทีมมากในข้าว
         ่                       ่ ี
ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน โดยเฉพาะข้าว
กล้อง หรือข้าวซ้อมมือ ซึ่งเป็นข้าวทีขัดสีแต่นอยนัน
                                     ่       ้   ้
ถือว่าเป็นข้าวทีมประโยชน์มากกว่าทีขัดสีจนขาว
                 ่ ี                   ่
เนืองจากมีสารอาหารโปรตีน ไขมัน ใยอาหาร แร่
   ่
ธาตุ และวิตามินในปริมาณทีสูงกว่า เรากินข้าว
                             ่
ควบคู่ไปกับอาหารอื่น ๆ ซึ่งประกอบด้วยเนือสัตว์
                                          ่
ไข่ ถัวเมล็ดแห้ง ผัก ผลไม้ และไขมันจากพืชและ
       ่
สัตว์ จึงทำาให้ร่างกายมีโอกาสได้รับสารอาหารอื่น ๆ
เพิมเติมและหลากหลายในแต่ละมือ
     ่                            ้
ผลิตภัณฑ์จากข้าวและธัญญพืชอื่น ๆ มีมากมาย
เช่นก๋วยเตี๋ยว, ขนมจีน, บะหมี, เป็นแหล่งอาหารที่
                             ่
ให้พลังงานเช่นเดียวกัน และ สามารถจัดให้บริการ
อาหารอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นอาหารจานด่วน หรือ
อาหารจานเดียวแบบไทย ๆ ทั้งยังมีใยอาหารจากผัก
ประเภทต่าง ๆ มากกว่าอาหารจานด่วนและอาหาร
จานเดียวแบบตะวันตก
ควรคำานึงถึงปริมาณอาหารประเภทข้าวและแป้งที่
กินในแต่ละวัน เพราะถ้าร่างกายได้รับเกินความ
ต้องการแล้วจะถูกเปลี่ยเป็นไขมัน เก็บไว้ตามส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกาย เมือสะสมมากขึ้นจะทำาให้เกิด
                     ่
โรคอ้วนได้ ดังนัน การกินข้าวเป็นอาหารหลักสลับ
                ้
กับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมือ พร้อมด้วยอาหาร
                               ้
อื่นที่หลากหลายครบ ๕ หมู่ ในสัดส่วนเหมาะสม
และปริมาณทีเพียงพอ จึงเป็นสิงพึงปฏิบัติเพือนำาไป
             ่               ่            ่
สูการมีภาวะโภชนาการทีดีและสุขภาพอนามัยที่
   ่                    ่
สมบูรณ์
หลัก โภชนบัญ ญัต ิ ๙ ประการ
             หลักโภชนบัญญัติ  เป็นข้อควร
   ปฏิบติในการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์
         ั
   ต่อสุขภาพ  ซึ่งมีรายละเอียดต่อไปนี้
            ๑. รับประทานอาหารครบ  ๕  หมู่ 
   แต่ละหมู่ให้มีความหลากหลาย  และหมั่นดูแลนำ้า
   หนักตัว  ใน  ๑  วันเราควรรับประทานอาหาร
   ให้ครบ  ๕  หมู่  ดังนี้  อาหารหมู่ที่  ๑  ได้แก่ 
   เนื้อสัตว์ต่างๆ  เครื่องในสัตว์  ไข่  นม  ถั่วเมล็ด
   แห้ง  ผลิตภัณฑ์จากนม  อาหารหมู่ที่  ๒  ได้แก่ 
   ข้าวต่างๆ  อาหารทำาจากแป้ง  เผือก  มัน 
   อาหารหมู่ที่  ๓  ได้แก่  ผักใบเขียวและผักต่าง
   ๆ  อาหารหมู่ที่  ๔  ได้แก่  ผลไม้ต่างๆ  อาหาร
   หมู่ที่  ๕  ได้แก่  ไขมันจากสัตว์และไขมันจาก
   ๒. รับประทานข้าวเป็นอาหารหลัก  สลับกับ
 อาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ  ข้าวจัดเป็น
 อาหารหลักของคนไทย  ซึ่งมีคณค่าทาง ุ
 โภชนาการมาก  โดยเฉพาะข้าวที่ผ่านการขัดสี
 น้อย  เช่น  ข้าวซ้อมมือ  หรือที่ปจจุบนเรียกว่า 
                                     ั  ั
 “ข้าวกล้อง”  ซึ่งนอกจากให้สารอาหารประเภท
 คาร์โบไฮเดรตแล้ว  ยังมีวิตามินที่เป็นประโยชน์
 ต่อร่างกายมากอีกด้วย  หากเบือข้าวก็สามารถ
                                 ่
 รับประทานอาหารประเภทแป้งอื่นๆ  สลับเป็น
 บางมื้อได้  เช่น  ก๋วยเตี๋ยว  บะหมี่  ขนมปัง 
 เป็นต้น  แต่คณค่าของอาหารเหล่านี้จะน้อยกว่า
               ุ
 การได้รับจากข้าว
๓.รับประทานผักให้มากและรับประทานผลไม้
เป็นประจำา  พืชผักและผลไม้เป็นอาหารที่ให้
สารอาหารที่จำาเป็นแก่ร่างกาย  คือ  วิตามินและ
แร่ธาตุ  เป็นอาหารที่ชวยในการป้องกันโรค 
                      ่
นอกจากนี้ยังมีใยอาหารที่ให้ปริมาณสูง  ช่วย
ทำาให้ขับถ่ายสะดวก  ช่วยกวาดเศษอาหารใน
สำาไส้ออกมาลดการบูดเน่า  และช่วยให้ท้องไม่
ผูก
   ๔. รับประทานปลา  เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน  ไข่ 
   และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำา  อาหารข้างต้นเป็น
   อาหารที่ให้สารอาหารโปรตีนเป็นสำาคัญ  ซึ่ง
   ช่วยในการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่
   สึกหรอ  เป็นสารอาหารที่จำาเป็นอย่างยิ่งของ
   เด็กในวัยเรียน  หากขาดโปรตีนแล้วจะมีผลกระ
   ทบต่อการเจริญเติบโตทั้งร่างกายและสมอง
๕.ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย  นมเป็นอาหารที่มี
ประโยชน์ตั้งแต่วัยทารก เป็นอาหารที่ย่อยง่าย 
อุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย 
เช่น  โปรตีน  แคลเซียม  วิตามินต่าง ๆ  เด็กใน
วัยเรียนมีความต้องการสารอาหารเหล่านี้มาก 
เพราะอยู่ในวัยเจริญเติบโต  ร่างกายต้องนำาไป
สร้างกระดูก  ฟัน  กล้ามเนื้อ  เป็นต้น
   ๖.รับประทานอาหารที่มีไขมันพอควร  ไขมัน
   จากพืชและสัตว์เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานที่
   สูงที่สุดแก่ร่างกาย  และเป็นตัวละลายวิตามินเอ 
   ดี  อี  และเค ให้แก่ร่างกายนำาไปใช้ประโยชน์
   ได้  แต่ต้องรับประทานในปริมาณที่พอเหมาะ 
   ควรใช้ไขมันจากพืชในการปรุงอาหารมากกว่า
   ไขมันจากสัตว์  และไม่ควรเกิน  ๓  ช้อนโต๊ะต่อ
   วัน  หากรับประทานไขมันในปริมาณที่มากเกิน
   ไปจะทำาให้เกิดการสะสมในร่างกาย  โดยถ้า
   สะสมในหลอดเลือดจะทำาให้เกิดไขมันอุดตันใน
   เส้นเลือด  เป็นอันตรายต่อหัวใจและสมอง  และ
   ถ้าสะสมตามร่างกายจะทำาให้เกิดโรคอ้วนได้   
๗. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสหวาน
และเค็มจัด  อาหารที่มีรสหวานจัดนั้นมีนำ้าตาล
เป็นส่วนประกอบของอาหารมาก  การรับ
ประทานนำ้าตาลในปริมาณมาก  จะทำาให้
ร่างกายเสี่ยงต่อการเกิดโรค  เช่น  โรคอ้วน 
โรคเบาหวาน  เช่นเดียวกับการรับประทาน
อาหารรสเค็มจัด  ซึ่งมีส่วนประกอบของเกลือ
โซเดียมสูง  อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อไตและผู้
ป่วยโรคความดันเลือดสูงด้วย
๘.รับประทานอาหารที่สะอาด  ปราศจากการปน
เปือน  นอกจากอาหารจะมีประโยชน์ต่อ
    ้
ร่างกายแล้ว  ถ้าอาหารเหล่านันเกิดการปน
                              ้
เปือนจากเชื้อโรคและสารเคมีต่างๆ  ก็จะทำาให้
      ้
เกิดโทษต่อร่างกายได้  ดังนั้นเราควรเลือกรับ
ประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ  สดสะอาด 
ปราศจากสัตว์นำาโรค  และแมลงวันตอม  รวม
ทั้งอาหารที่มีสีสนฉูดฉาด  ก็ไม่ควรรับประทาน
                 ั
เช่นกัน
๙.งดเครื่องดื่มมึนเมา  เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 
เช่น  สุรา  ยาดอง  เหล้า  เบียร์  ไวน์  ซึ่งเป็น
อันตรายต่อสุขภาพอย่างยิ่ง  ทำาให้เป็นโรคพิษ
สุราเรื้อรัง  มะเร็งตับ  เป็นต้น  จึงควรเลือกดื่ม
เฉพาะเครื่องดื่มที่มีประโยชน์เท่านั้น  เช่น  นำ้า
ผัก  นำ้าผลไม้  เป็นต้น
สุขภาพดี
ร่างกายแข็งแรง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )Rose Banioki
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
แผ่นความรู้
แผ่นความรู้แผ่นความรู้
แผ่นความรู้Warapatama Jongsub
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 

Mais procurados (15)

แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
แผ่นความรู้
แผ่นความรู้แผ่นความรู้
แผ่นความรู้
 
Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 

Semelhante a ธวัชชัย วงค์อนันต์

อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้Mint NutniCha
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
Nutrition
NutritionNutrition
NutritionPir Jnn
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 

Semelhante a ธวัชชัย วงค์อนันต์ (20)

อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
แผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทยแผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทย
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
2
22
2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 

ธวัชชัย วงค์อนันต์

  • 1. กินข้าวเป็นอาหารหลักสลับอาหาร ประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
  • 2. ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นแหล่งอาหาร สำาคัญทีให้พลังงาน สารอาหารทีมมากในข้าว ่ ่ ี ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน โดยเฉพาะข้าว กล้อง หรือข้าวซ้อมมือ ซึ่งเป็นข้าวทีขัดสีแต่นอยนัน ่ ้ ้ ถือว่าเป็นข้าวทีมประโยชน์มากกว่าทีขัดสีจนขาว ่ ี ่ เนืองจากมีสารอาหารโปรตีน ไขมัน ใยอาหาร แร่ ่ ธาตุ และวิตามินในปริมาณทีสูงกว่า เรากินข้าว ่ ควบคู่ไปกับอาหารอื่น ๆ ซึ่งประกอบด้วยเนือสัตว์ ่ ไข่ ถัวเมล็ดแห้ง ผัก ผลไม้ และไขมันจากพืชและ ่ สัตว์ จึงทำาให้ร่างกายมีโอกาสได้รับสารอาหารอื่น ๆ เพิมเติมและหลากหลายในแต่ละมือ ่ ้
  • 3. ผลิตภัณฑ์จากข้าวและธัญญพืชอื่น ๆ มีมากมาย เช่นก๋วยเตี๋ยว, ขนมจีน, บะหมี, เป็นแหล่งอาหารที่ ่ ให้พลังงานเช่นเดียวกัน และ สามารถจัดให้บริการ อาหารอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นอาหารจานด่วน หรือ อาหารจานเดียวแบบไทย ๆ ทั้งยังมีใยอาหารจากผัก ประเภทต่าง ๆ มากกว่าอาหารจานด่วนและอาหาร จานเดียวแบบตะวันตก
  • 4. ควรคำานึงถึงปริมาณอาหารประเภทข้าวและแป้งที่ กินในแต่ละวัน เพราะถ้าร่างกายได้รับเกินความ ต้องการแล้วจะถูกเปลี่ยเป็นไขมัน เก็บไว้ตามส่วน ต่าง ๆ ของร่างกาย เมือสะสมมากขึ้นจะทำาให้เกิด ่ โรคอ้วนได้ ดังนัน การกินข้าวเป็นอาหารหลักสลับ ้ กับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมือ พร้อมด้วยอาหาร ้ อื่นที่หลากหลายครบ ๕ หมู่ ในสัดส่วนเหมาะสม และปริมาณทีเพียงพอ จึงเป็นสิงพึงปฏิบัติเพือนำาไป ่ ่ ่ สูการมีภาวะโภชนาการทีดีและสุขภาพอนามัยที่ ่ ่ สมบูรณ์
  • 5. หลัก โภชนบัญ ญัต ิ ๙ ประการ              หลักโภชนบัญญัติ  เป็นข้อควร ปฏิบติในการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ ั ต่อสุขภาพ  ซึ่งมีรายละเอียดต่อไปนี้             ๑. รับประทานอาหารครบ  ๕  หมู่  แต่ละหมู่ให้มีความหลากหลาย  และหมั่นดูแลนำ้า หนักตัว  ใน  ๑  วันเราควรรับประทานอาหาร ให้ครบ  ๕  หมู่  ดังนี้  อาหารหมู่ที่  ๑  ได้แก่  เนื้อสัตว์ต่างๆ  เครื่องในสัตว์  ไข่  นม  ถั่วเมล็ด แห้ง  ผลิตภัณฑ์จากนม  อาหารหมู่ที่  ๒  ได้แก่  ข้าวต่างๆ  อาหารทำาจากแป้ง  เผือก  มัน  อาหารหมู่ที่  ๓  ได้แก่  ผักใบเขียวและผักต่าง ๆ  อาหารหมู่ที่  ๔  ได้แก่  ผลไม้ต่างๆ  อาหาร หมู่ที่  ๕  ได้แก่  ไขมันจากสัตว์และไขมันจาก
  • 6.    ๒. รับประทานข้าวเป็นอาหารหลัก  สลับกับ อาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ  ข้าวจัดเป็น อาหารหลักของคนไทย  ซึ่งมีคณค่าทาง ุ โภชนาการมาก  โดยเฉพาะข้าวที่ผ่านการขัดสี น้อย  เช่น  ข้าวซ้อมมือ  หรือที่ปจจุบนเรียกว่า  ั ั “ข้าวกล้อง”  ซึ่งนอกจากให้สารอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตแล้ว  ยังมีวิตามินที่เป็นประโยชน์ ต่อร่างกายมากอีกด้วย  หากเบือข้าวก็สามารถ ่ รับประทานอาหารประเภทแป้งอื่นๆ  สลับเป็น บางมื้อได้  เช่น  ก๋วยเตี๋ยว  บะหมี่  ขนมปัง  เป็นต้น  แต่คณค่าของอาหารเหล่านี้จะน้อยกว่า ุ การได้รับจากข้าว
  • 7. ๓.รับประทานผักให้มากและรับประทานผลไม้ เป็นประจำา  พืชผักและผลไม้เป็นอาหารที่ให้ สารอาหารที่จำาเป็นแก่ร่างกาย  คือ  วิตามินและ แร่ธาตุ  เป็นอาหารที่ชวยในการป้องกันโรค  ่ นอกจากนี้ยังมีใยอาหารที่ให้ปริมาณสูง  ช่วย ทำาให้ขับถ่ายสะดวก  ช่วยกวาดเศษอาหารใน สำาไส้ออกมาลดการบูดเน่า  และช่วยให้ท้องไม่ ผูก
  • 8.    ๔. รับประทานปลา  เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน  ไข่  และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำา  อาหารข้างต้นเป็น อาหารที่ให้สารอาหารโปรตีนเป็นสำาคัญ  ซึ่ง ช่วยในการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่ สึกหรอ  เป็นสารอาหารที่จำาเป็นอย่างยิ่งของ เด็กในวัยเรียน  หากขาดโปรตีนแล้วจะมีผลกระ ทบต่อการเจริญเติบโตทั้งร่างกายและสมอง
  • 9. ๕.ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย  นมเป็นอาหารที่มี ประโยชน์ตั้งแต่วัยทารก เป็นอาหารที่ย่อยง่าย  อุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย  เช่น  โปรตีน  แคลเซียม  วิตามินต่าง ๆ  เด็กใน วัยเรียนมีความต้องการสารอาหารเหล่านี้มาก  เพราะอยู่ในวัยเจริญเติบโต  ร่างกายต้องนำาไป สร้างกระดูก  ฟัน  กล้ามเนื้อ  เป็นต้น
  • 10.    ๖.รับประทานอาหารที่มีไขมันพอควร  ไขมัน จากพืชและสัตว์เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานที่ สูงที่สุดแก่ร่างกาย  และเป็นตัวละลายวิตามินเอ  ดี  อี  และเค ให้แก่ร่างกายนำาไปใช้ประโยชน์ ได้  แต่ต้องรับประทานในปริมาณที่พอเหมาะ  ควรใช้ไขมันจากพืชในการปรุงอาหารมากกว่า ไขมันจากสัตว์  และไม่ควรเกิน  ๓  ช้อนโต๊ะต่อ วัน  หากรับประทานไขมันในปริมาณที่มากเกิน ไปจะทำาให้เกิดการสะสมในร่างกาย  โดยถ้า สะสมในหลอดเลือดจะทำาให้เกิดไขมันอุดตันใน เส้นเลือด  เป็นอันตรายต่อหัวใจและสมอง  และ ถ้าสะสมตามร่างกายจะทำาให้เกิดโรคอ้วนได้   
  • 11. ๗. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสหวาน และเค็มจัด  อาหารที่มีรสหวานจัดนั้นมีนำ้าตาล เป็นส่วนประกอบของอาหารมาก  การรับ ประทานนำ้าตาลในปริมาณมาก  จะทำาให้ ร่างกายเสี่ยงต่อการเกิดโรค  เช่น  โรคอ้วน  โรคเบาหวาน  เช่นเดียวกับการรับประทาน อาหารรสเค็มจัด  ซึ่งมีส่วนประกอบของเกลือ โซเดียมสูง  อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อไตและผู้ ป่วยโรคความดันเลือดสูงด้วย
  • 12. ๘.รับประทานอาหารที่สะอาด  ปราศจากการปน เปือน  นอกจากอาหารจะมีประโยชน์ต่อ ้ ร่างกายแล้ว  ถ้าอาหารเหล่านันเกิดการปน ้ เปือนจากเชื้อโรคและสารเคมีต่างๆ  ก็จะทำาให้ ้ เกิดโทษต่อร่างกายได้  ดังนั้นเราควรเลือกรับ ประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ  สดสะอาด  ปราศจากสัตว์นำาโรค  และแมลงวันตอม  รวม ทั้งอาหารที่มีสีสนฉูดฉาด  ก็ไม่ควรรับประทาน ั เช่นกัน
  • 13. ๙.งดเครื่องดื่มมึนเมา  เครื่องดื่มแอลกอฮอล์  เช่น  สุรา  ยาดอง  เหล้า  เบียร์  ไวน์  ซึ่งเป็น อันตรายต่อสุขภาพอย่างยิ่ง  ทำาให้เป็นโรคพิษ สุราเรื้อรัง  มะเร็งตับ  เป็นต้น  จึงควรเลือกดื่ม เฉพาะเครื่องดื่มที่มีประโยชน์เท่านั้น  เช่น  นำ้า ผัก  นำ้าผลไม้  เป็นต้น