SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 1
Baixar para ler offline
12
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี
(ASEAN-Republic of Korea Free Trade Agreement: AKFTA)
ความเป็ นมา/การดําเนินการ สถานะล่าสุด
ความเป็ นมา
- การประชุมสุดยอดอาเซียน-เกาหลีที่ประเทศลาว เมื่อ 30 พ.ย.2004 ผู้นําอาเซียนและ
เกาหลีได้ร่วมลงนามในปฏิญญาร่วมอาเซียน-เกาหลี ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมการพัฒนาความ
ร่วมมือระหว่างกันในด้านต่าง ๆ ระหว่างกัน ซึ่งรวมถึงการจัดทําความตกลงการค้าเสรี
ระหว่างกัน โดยในการประชุมผู้นําอาเซียน-เกาหลี เมื่อ ธ.ค. 2005 อาเซียนและเกาหลีได้
ลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนและเกาหลี
และความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพิพาท ต่อมาในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ
อาเซียน-เกาหลี ครั้งที่ 3 เมื่อ พ.ค. 2006 อาเซียน 9 ประเทศ (ยกเว้นไทย) และเกาหลีได้
ลงนามความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า
กรอบการเจรจา
ครอบคลุมการเปิดเสรีในด้านการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน โดยมีการตกลงเรื่อง
กฎเกณฑ์ทางการค้า การระงับข้อพิพาท และการดําเนินโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ในด้านต่าง ๆ ด้วย
สรุปผลความตกลงฯ
1) กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งครอบคลุมด้านต่าง ๆ ลงนาม
เมื่อ 13 ธ.ค. 2005 มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 มิ.ย. 2007 มีสาระสําคัญกําหนดขอบเขตการ
เจรจาและความร่วมมือต่าง ๆ
2) ความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพาท ลงนามเมื่อ 13 ธ.ค. 2005 มีผลบังคับใช้
เมื่อ 1 มิ.ย. 2007 มีสาระสําคัญกําหนดแนวทางการไกล่เกลี่ยหรือคลี่คลายปัญหาที่อาจ
เกิดขึ้นในการปฏิบัติตามพันธกรณี
3) ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า ลงนามเมื่อ 24 ส.ค. 2006 มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 มิ.ย.
2007 สําหรับไทยลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2009 และมีผลบังคับใช้ 1 ตุลาคม 2009 มี
สาระสําคัญในการเปิดเสรีการค้าสินค้า โดยอาเซียนและเกาหลีจะลดภาษีนําเข้าสินค้าจํานวน
ร้อยละ 90 ของรายการสินค้าและมูลค่าการนําเข้าให้เหลือศูนย์ปี 2010 สําหรับเกาหลี ปี
2012 สําหรับบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ ปี 2017 สําหรับไทย ปี
2018 สําหรับ เวียดนาม และปี 2020 สําหรับกัมพูชา ลาว และพม่า
- กฎว่าด้วยถิ่นกําเนิดสินค้า จะต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์ 1. สินค้าที่ผลิตหรือใช้วัตถุดิบ
ทั้งหมดในประเทศผู้ส่งออก 2. กฎเกณฑ์ทั่วไป 2.1) สินค้าที่ผลิตในประเทศภาคี โดยมี
สัดส่วนมูลค่าวัตถุดิบในประเทศภาคีไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 40 ของราคา FOB หรือ 2.2) มีการ
เปลี่ยนแปลงพิกัดอัตราศุลกากรในระดับ 4 หลัก (CTH) 3. กฎเฉพาะสินค้า (PSR) 4.
กฎเกณฑ์อื่น ๆ อาทิ การสะสมถิ่นกําเนิดสินค้า
4) ความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ ลงนามเมื่อ 23 พ.ย. 2007 มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 พ.ค.
2009 ส่วนไทย ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2009 และมีผลบังคับใช้ 1 มิถุนายน 2009มี
สาระสําคัญในการเปิดเสรีการค้าบริการ โดยเกาหลีจะเปิดตลาดในระดับที่สูงกว่าข้อผูกพัน
รอบอุรุกวัย รวม 43 สาขา อาทิ บริการด้านกฎหมาย ก่อสร้าง บริการด้านบันเทิง เป็นต้น
ส่วนไทยจะเปิดเสรีสาขาบริการภายใต้กรอบกฎหมายปัจจุบัน และในสาขาที่สนับสนุน
นโยบายให้ไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค
5) ความตกลงว่าด้วยการลงทุน ลงนามเมื่อ 1 มิ.ย. 2009 จะมีผลบังคับใช้ 1 ก.ย. 2009
มีสาระสําคัญในการเปิดเสรีและให้ความคุ้มครองการลงทุนระหว่างกัน โดยจะมีการจัดทํา
ตารางข้อสงวนการเปิดเสรีภายใน 5 ปี
6) ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ครอบคลุมความร่วมมือ 19 สาขา เช่น พิธีการศุลกากร
รัฐวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง การท่องเที่ยว เป็นต้น
- อาเซียนและเกาหลี ประชุมคณะกรรมการดําเนินงานความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลี ครังที 1
เมื่อ 11-14 ตุลาคม 2009 ณ กรุงโซล เพื่อติดตามการปฏิบัติตามพันธกรณีความตกลงการค้าเสรี
อาเซียน-เกาหลี รวมทั้งหารือแนวทางเพื่ออํานวยความสะดวกในการใช้สิทธิประโยชน์จากความตกลง
การค้าเสรีนี้
- รัฐสภาเกาหลีให้ความเห็นชอบพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยในความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า
และพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยในความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน
2009 และเริ่มบังคับใช้ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าและความตกลงว่าด้วยการค้าบริการกับไทยได้
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2010
การดําเนินการขั้นต่อไป
- อาเซียนและเกาหลี จะประชุมคณะกรรมการดําเนินงานความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลี ครั้งที่ 2
ระหว่างวันที่ 10-12 มีนาคม 2010 ณ ประเทศฟิลิปปินส์
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.thaifta.com (อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี)

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...
Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...
Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...
Association of Colleges
 
Social media as a tool to improve communication
Social media as a tool to improve communicationSocial media as a tool to improve communication
Social media as a tool to improve communication
Maxim Boiko Savenko
 
Southern Utah University - Presentation 15 May 2014
Southern Utah University - Presentation 15 May 2014Southern Utah University - Presentation 15 May 2014
Southern Utah University - Presentation 15 May 2014
University of Greenwich
 
Student Induction Presentation 2012 The Student Centre
Student Induction Presentation 2012   The Student CentreStudent Induction Presentation 2012   The Student Centre
Student Induction Presentation 2012 The Student Centre
University of Greenwich
 
Study Abroad 17 September 2012 Induction - University of Greenwich
Study Abroad 17 September 2012 Induction - University of GreenwichStudy Abroad 17 September 2012 Induction - University of Greenwich
Study Abroad 17 September 2012 Induction - University of Greenwich
University of Greenwich
 

Destaque (10)

Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...
Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...
Tackling and preventing_gang_problems_in_london_colleges_a_review_of_good_pra...
 
Social media as a tool to improve communication
Social media as a tool to improve communicationSocial media as a tool to improve communication
Social media as a tool to improve communication
 
Southern Utah University - Presentation 15 May 2014
Southern Utah University - Presentation 15 May 2014Southern Utah University - Presentation 15 May 2014
Southern Utah University - Presentation 15 May 2014
 
OrientationJanuary2014SWBSession2
OrientationJanuary2014SWBSession2OrientationJanuary2014SWBSession2
OrientationJanuary2014SWBSession2
 
Week 1 Induction - Study Abroad - September 2013
Week 1 Induction - Study Abroad - September 2013Week 1 Induction - Study Abroad - September 2013
Week 1 Induction - Study Abroad - September 2013
 
Student Induction Presentation 2012 The Student Centre
Student Induction Presentation 2012   The Student CentreStudent Induction Presentation 2012   The Student Centre
Student Induction Presentation 2012 The Student Centre
 
'Literary London' Ohio State University- University of Greenwich Induction
'Literary London' Ohio State University- University of Greenwich Induction'Literary London' Ohio State University- University of Greenwich Induction
'Literary London' Ohio State University- University of Greenwich Induction
 
Study Abroad 17 September 2012 Induction - University of Greenwich
Study Abroad 17 September 2012 Induction - University of GreenwichStudy Abroad 17 September 2012 Induction - University of Greenwich
Study Abroad 17 September 2012 Induction - University of Greenwich
 
Study Abroad!—A behind the scenes look by Courtney L. Conner
Study Abroad!—A behind the scenes look by Courtney L. ConnerStudy Abroad!—A behind the scenes look by Courtney L. Conner
Study Abroad!—A behind the scenes look by Courtney L. Conner
 
Contoh makalah ilmiah IPA
Contoh makalah ilmiah IPAContoh makalah ilmiah IPA
Contoh makalah ilmiah IPA
 

Mais de วิระศักดิ์ บัวคำ

2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
วิระศักดิ์ บัวคำ
 

Mais de วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2
 
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
 
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
 

ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน สาธารณรัฐเกาหลี Ftaprogfeb53 askr

  • 1. 12 ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN-Republic of Korea Free Trade Agreement: AKFTA) ความเป็ นมา/การดําเนินการ สถานะล่าสุด ความเป็ นมา - การประชุมสุดยอดอาเซียน-เกาหลีที่ประเทศลาว เมื่อ 30 พ.ย.2004 ผู้นําอาเซียนและ เกาหลีได้ร่วมลงนามในปฏิญญาร่วมอาเซียน-เกาหลี ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมการพัฒนาความ ร่วมมือระหว่างกันในด้านต่าง ๆ ระหว่างกัน ซึ่งรวมถึงการจัดทําความตกลงการค้าเสรี ระหว่างกัน โดยในการประชุมผู้นําอาเซียน-เกาหลี เมื่อ ธ.ค. 2005 อาเซียนและเกาหลีได้ ลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนและเกาหลี และความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพิพาท ต่อมาในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ อาเซียน-เกาหลี ครั้งที่ 3 เมื่อ พ.ค. 2006 อาเซียน 9 ประเทศ (ยกเว้นไทย) และเกาหลีได้ ลงนามความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า กรอบการเจรจา ครอบคลุมการเปิดเสรีในด้านการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน โดยมีการตกลงเรื่อง กฎเกณฑ์ทางการค้า การระงับข้อพิพาท และการดําเนินโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในด้านต่าง ๆ ด้วย สรุปผลความตกลงฯ 1) กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งครอบคลุมด้านต่าง ๆ ลงนาม เมื่อ 13 ธ.ค. 2005 มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 มิ.ย. 2007 มีสาระสําคัญกําหนดขอบเขตการ เจรจาและความร่วมมือต่าง ๆ 2) ความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพาท ลงนามเมื่อ 13 ธ.ค. 2005 มีผลบังคับใช้ เมื่อ 1 มิ.ย. 2007 มีสาระสําคัญกําหนดแนวทางการไกล่เกลี่ยหรือคลี่คลายปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นในการปฏิบัติตามพันธกรณี 3) ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า ลงนามเมื่อ 24 ส.ค. 2006 มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 มิ.ย. 2007 สําหรับไทยลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2009 และมีผลบังคับใช้ 1 ตุลาคม 2009 มี สาระสําคัญในการเปิดเสรีการค้าสินค้า โดยอาเซียนและเกาหลีจะลดภาษีนําเข้าสินค้าจํานวน ร้อยละ 90 ของรายการสินค้าและมูลค่าการนําเข้าให้เหลือศูนย์ปี 2010 สําหรับเกาหลี ปี 2012 สําหรับบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ ปี 2017 สําหรับไทย ปี 2018 สําหรับ เวียดนาม และปี 2020 สําหรับกัมพูชา ลาว และพม่า - กฎว่าด้วยถิ่นกําเนิดสินค้า จะต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์ 1. สินค้าที่ผลิตหรือใช้วัตถุดิบ ทั้งหมดในประเทศผู้ส่งออก 2. กฎเกณฑ์ทั่วไป 2.1) สินค้าที่ผลิตในประเทศภาคี โดยมี สัดส่วนมูลค่าวัตถุดิบในประเทศภาคีไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 40 ของราคา FOB หรือ 2.2) มีการ เปลี่ยนแปลงพิกัดอัตราศุลกากรในระดับ 4 หลัก (CTH) 3. กฎเฉพาะสินค้า (PSR) 4. กฎเกณฑ์อื่น ๆ อาทิ การสะสมถิ่นกําเนิดสินค้า 4) ความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ ลงนามเมื่อ 23 พ.ย. 2007 มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 พ.ค. 2009 ส่วนไทย ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2009 และมีผลบังคับใช้ 1 มิถุนายน 2009มี สาระสําคัญในการเปิดเสรีการค้าบริการ โดยเกาหลีจะเปิดตลาดในระดับที่สูงกว่าข้อผูกพัน รอบอุรุกวัย รวม 43 สาขา อาทิ บริการด้านกฎหมาย ก่อสร้าง บริการด้านบันเทิง เป็นต้น ส่วนไทยจะเปิดเสรีสาขาบริการภายใต้กรอบกฎหมายปัจจุบัน และในสาขาที่สนับสนุน นโยบายให้ไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค 5) ความตกลงว่าด้วยการลงทุน ลงนามเมื่อ 1 มิ.ย. 2009 จะมีผลบังคับใช้ 1 ก.ย. 2009 มีสาระสําคัญในการเปิดเสรีและให้ความคุ้มครองการลงทุนระหว่างกัน โดยจะมีการจัดทํา ตารางข้อสงวนการเปิดเสรีภายใน 5 ปี 6) ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ครอบคลุมความร่วมมือ 19 สาขา เช่น พิธีการศุลกากร รัฐวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง การท่องเที่ยว เป็นต้น - อาเซียนและเกาหลี ประชุมคณะกรรมการดําเนินงานความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลี ครังที 1 เมื่อ 11-14 ตุลาคม 2009 ณ กรุงโซล เพื่อติดตามการปฏิบัติตามพันธกรณีความตกลงการค้าเสรี อาเซียน-เกาหลี รวมทั้งหารือแนวทางเพื่ออํานวยความสะดวกในการใช้สิทธิประโยชน์จากความตกลง การค้าเสรีนี้ - รัฐสภาเกาหลีให้ความเห็นชอบพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยในความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า และพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยในความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2009 และเริ่มบังคับใช้ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าและความตกลงว่าด้วยการค้าบริการกับไทยได้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2010 การดําเนินการขั้นต่อไป - อาเซียนและเกาหลี จะประชุมคณะกรรมการดําเนินงานความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลี ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 10-12 มีนาคม 2010 ณ ประเทศฟิลิปปินส์ ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.thaifta.com (อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี)