SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
ความเปนมาของระบบราชการ
 สมัยอียิปตความเปนมาอาจสืบไดในสมัยโบราณที่มีฟาโรห และขาราชการซึ้งทํางานรับ
  ใชฟาโรห
 เอเชียสมัยจีนโบราณมีหลักฐานคือมีการสอบเขาทํางานตามระบบคุณธรรม หรือที่รี
  ยกกันวาการสอบจอหงวน
ความเปนมา
ในปลายศตวรรษที19 Max Weber ไดสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะการบริหารงานในองคการตางๆ
                 ่
     วามีรูปแบบที่แตกตางจากการดําเนินกิจการในอดีต ที่มีลักษณะแบบครอบครัว



   - รูปแบบการบริหารแบบใหมมีลักษณะที่สําคัญคือ
   1) มีการกําหนดตําแหนงงานและจัดลําดับขั้นของตําแหงไว
   2) มีการกําหนดโครงสรางอํานาจอยางมีเหตุผล
   3) มีการแยกเจาของและผูบริหารออกจากกัน
   4)มีกําหนด ขั้นตอน กฎเกณฑ การทํางานที่ชัดเจนมาใช
เจาของทฤษฎี
        ประวัติโดยยอของ MAX WEBER


                   เวเบอรเปนลูกคนโตในบรรดาลูกๆทั้งหมด 7 คน พอเขาชื่อเดียวกัน คือ แมกซ เวเบอร (Max Weber) สวนแม
ของเขา ชื่อ ฮีลีน เวเบอร (Helence Weber) เวเบอรเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 1864 เวเบอรถือวาเปนคนที่มีปญหาทาง
ครอบครัวเพราะวาพอและแมของเขาเริ่มเหินหางกันตั้งแตตอนตนของชีวิตการแตงงานทําใหเกิดปมในจิตใจซึ่งไดสงผล
กระทบตอเขาในภายหลัง เวเบอรไดรับการศึกษาจากมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิรก (Heidelberg)และมหาวิทยาลัยเบอรลิน จนได
ปริญญาเอกและไดเขารวมกับกลุมทางการเมืองโปรแตสแตนทตอตานการขยายตัวทางอุตสาหกรรมของเยอรมันและกลุมทาง
                                                                 
วิชาการเกี่ยวกับปญหาสังคมซึ่งตอมามีผลงานออกมาชื่อ The Situation of farm workers in Germany East of the Elbe
River เขาจึงกลายเปนคนที่มีชื่อเสียงตั้งแตยงหนุม เวเบอรดําเนินชีวิตอยางคนเครงศาสนา และโหมงานหนักประกอบกับ
                                            ั
ปญหาภายในใจ ทําใหเวเบอรปวยเปนโรคทางประสาท ตองพักรักษาตัวอยูเปนระยะเวลาหลายป กระทั่งจนป ค.ศ. 1903 เว
เบอรเริ่มกลับมาขียนหนังสือได ในชวงค.ศ.1906-1914เขาไดเขียนงานออกมาอยางตอเนื่อง แตหนึ่งในผลงานหลายชิ้นที่โดด
เดน คือ เรื่องเกี่ยวกับรูปแบบในอุดมคติของเขา ซึ่งตีพิมพเรื่อยมาตั้งแต ค.ศ. 1911-1920 และเขียนเรื่อง “The Essentials of
Bureaucratic Organization” อยูในหนังสือที่ชื่อวา “The Theory of Social and Economic Organization” ค.ศ.1920 เว
เบอรเสียชีวิตดวยโรคปอดบวม
ทฤษฎีระบบราชการ
(BUREAUCRATICTHEORY)

   Max Weber
    1. ลําดับชั้นการบังคับบัญชา (Hierarchy)
    2. การแบงงาน (Division of Labor)
    3. ไมยึดความเปนสวนบุคคล (Impersonality)
    4. ยึดกฎระเบียบขอบังคับ (Rules and Regulations)
    5. การทํางานเปนอาชีพ (Career Service)
    6. แบงแยกเรื่องสวนตัวและทรัพยสินของบุคคลออกจากองคการ (Separation
    of property and affairs)
แนวคิดของ MAX WEBER :

ทฤษฎีระบบราชการของ Weber (Weber’s Theory of Bureaucracy)
ระบบราชการ เปนรูปแบบองคกรที่ใชเหตุผล (Logic) และประสิทธิภาพ (Efficient)
โดยมีอํานาจหนาที่ตามระเบียบ (Order) และตามกฎหมาย (Legitimate Authority)
    ซึ่งมีลักษณะ 5 ประการ คือ
-การแบงงานกันทํา (Division of Labor)
-มีสายบังคับบัญชาเปนลําดับหนาที่ (Hierarchy of Authority)
-มีกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติอยางเปนทางการ (Formal Rules and procedure)
-ความไมเปนสวนตัว (Impersonality)
-ความกาวหนาในงานอาชีพตามหลักคุณภาพ (Careers based on Merit)
แนวคิดและหลักการของ “ระบบราชการ”

 มีการแบงงานกันทําตามแนวราบ ( Horizontal Delegation) ทําใหกระบวนการทํางานในองคการทั้งระบบมี
  ผูรับผิดชอบ และมีการแบงงานกันทําเพื่อใหเกิดความชํานาญเฉพาะอยาง
 องคการนั้นๆตองมีสายบังคับบัญชาตามลําดับชั้น ( Authority Hierarchy ) : โดยสํานักงานและตําแหนงงานที่อยู
  ใตหนวยงาน หรือ ตําแหนงงานนั้นอยูใตการดูแลในระดับสูงขึ้นไป
 ระบบคัดเลือกคนงาน ( Formal Selection ) : ผูที่เขารวมในหนวยงานจะถูกคัดเลือกตามความสามารถและ
  คุณสมบัติ ที่มีระบบการคัดเลือกและการสอบคัดเลือกอยางเปนทางการ
 มีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร ( Evidence and Reference )
 องคการตองมีระเบียบ และกฎเกณฑ ( Formal Rules and Regulations ) : ทั้งนี้เพื่อใหสามารถประกันความเปน
  เอกภาพในการดําเนินการ และกํากับการทํางานของพนักงาน
 ความไมเลือกที่รักมักที่ชัง ( Impersonality ) : ไมมีการถือเอาสายสัมพันธในครอบครัวเปนใหญ ไมมีการใหสิทธิ
  พิเศษแกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ถาจะทําอะไรตองเปนไปตามเกณฑ
 การแยกระบบการทํางานออกเปนสายอาชีพ ( Career Orientation ) : คนทํางานจะเขาสูตําแหนงตาม
  ความสามารถของแตละคน มีเลื่อนขั้น และการเติบโตในหนวยงานไดตามลําดับ
จุดเดนของ “ระบบราชการ”
  ลําดับขั้นการบังคับบัญชาเปนเครื่องมือควบคุมสมาชิกและความสัมพันธที่มี
ตอกัน
 ไมสับสนในบทบาท เพราะแตละคนรูวาจะทําอะไรและสามารถตรวจสอบได
 การมีกฎระเบียบทําใหรูบทบาท ชวยลดตนทุนในการกํากับดูแล
 การทํางานขององคการมีความแนนอน มีลักษณะเปนหลักฐานอางอิงได
 มีการแบงแยกงานถือหลักความชํานาญเฉพาะดาน
 กระบวนการทํางานในองคการทั้งระบบมีผ ูรับผิดชอบ
 ไมมีการใหสิทธิพิเศษแกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทุกคนตองทําตามกฎเกณฑที่
วางไว
จุดดอยของ “ระบบราชการ”
   มีองคการปฏิบัติงานกระจายอยูทั่วประเทศ ซึ่งเปนเครือขายที่กวางขวางซับซอน จนไมอาจจัดระบบ
    ควบคุมตรวจสอบดุลพินิจในการใชอํานาจของขาราชการทุกคนเปนการเฉพาะรายได
   ระเบียบขอบังคับจํานวนมากนี้ไดสรางความเคยชินกับ ขาราชการวาตองเนนความถูกตองตามระเบียบ
    มากกวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
   มีมาตรฐานการจางงานเพียงมาตรฐานเดียว ซึ่งทําใหไมสามารถจายคาตอบแทนไดอยางเหมาะสม
    และสอดคลองกับราคา
   เปนระบบที่ยากที่จะทําลายได การไมกลาเปลี่ยนแปลงนี้สืบเนื่องมาจากคนไมกลาทําลายกฎระเบียบที่
    มีอยู เพราะอาจทําใหองคกรแตกสลาย หรือนําไปสูการเลนพรรคเลนพวก
   มีแนวโนมที่จะผูกขาดขอมูลขาวสาร ตอตานการเปลี่ยนแปลงและทําตัวเปนเผด็จการ
การปรับใชในการบริหารรัฐกิจ


                            - ตองการใหการดําเนินงานขององคการทั้งหมดอยูภายใตการควบคุมของ
หลักการบริหาร                    ผูมีอํานาจระดับสูง
ตามลําดับขั้นมี               - ผูบริหารระดับสูงสามารถตัดสินใจ สั่งการควบคุมผูใตบังคับบัญชาได
เปาหมาย                         เต็มที่ความเชื่อ



- จะทําใหระบบการสั่งการและการควบคุมงานเปนไปอยางรัดกุม ทําใหการทํางานดําเนินไปอยางมี
    ประสิทธิภาพสูงสุด
 - สามารถประสานการทํางานระหวางหนวยงานตางๆที่มีภารกิจแตกตางกันใหทํางานรวมกันไดเนื่องจากมี
    ผูบังคับบัญชาคนเดียวกัน
ความเปนมาของระบบราชการไทย
ความเปนมาของระบบราชการไทย
   สมัยกรุงศรีอยุธยา
      (พ.ศ.1991-2031) ในรัชสมัยนี้ เริ่มมีการจัดระบบการบริหารงานแผนดินอยางเปนระบบแบบแผน เพราะไดรับ
         อิทธิพลจากขาราชสํานักเขมร
      มีการตั้ง กฎมณเฑียรบาลอันเปนบทบัญญัติสําคัญเกี่ยวกับสถาบันกษัตริยกําหนดระบบศักดินาตําแหนง
         ขาราชการทั้งฝายพลเรือนและทหาร กําหนดสิทธิและหนาที่ความรับผิดชอบ รวมทั้งสิทธิพิเศษตางๆของ
         ขาราชการ
      สวนกลาง ใชระบบจตุสดมภแบงกรมหลักเปน 4 กรม คือ เมือง (หรือเวียง) วัง คลัง นา

      ดานการปกครอง อาณาเขต ไดมีความพยายามรวมอํานาจเขาสูสวนกลางและแผอํานาจบารมีครอบคลุมทั่ว
         ราชอาณาจักร
พระมหากษัตริย



เวียง   วัง       คลัง   นา
พระมหากษัตริย

 สมุหนายก                        สมุหพระกลาโหม
 (พลเรือน)                           (ทหาร)


นครบาล       ธรรมธิกรณ   โกษาธิบดี   เกษตรธิบดี
ความเปนมาของระบบราชการไทย
   สมัยรัตนโกสินทร
      สรางเอกภาพและเสถียรภาพของประเทศใหรอดพนจากการคุกคามของลัทธิลาอาณานิคม  
      กษัตริยทรงคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมมารวมงานไมวาจะเปนพระ เจานองยาเธอตางๆ และที่ปรึกษาชาวตางประเทศ
      สมัย ร.5 มีการจัดตั้งคณะที่ปรึกษาราชการแผนดินและคณะที่ปรึกษาราชการสวนพระองครัชกาลที่ 5 จึงทรง
         ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒนขึ้นเพื่อจัดเก็บภาษีอากรและการคลัง
      ยกเลิกจตุสดมภและการปฏิรูปโครงสรา งระบบบริหารราชการแผนดิน
      ปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ประกอบ ดวยมณฑล เมือง (ในสมัยรัชกาลที่ 6 เรียก จังหวัด) และอําเภอ โดย
         ใหหัวเมืองทั้งหมดขึ้นกับกรมมหาดไทย และใหมีการรวบรวมหัวเมืองขึ้นเปนมณฑล สวนกลางสงเจาหนาที่ไปเปน
         ขาหลวงใหญตามหัวเมืองในมณฑล ตางๆ
ความเปนมาของระบบราชการไทย (ตอ)
   สมัยรัตนโกสินทร
      วางรากฐานการปกครองทองถิ่นภายหลังจากการปฏิรูปการปกครองในสวนกลางและปรับปรุงการ
         ปกครองในสวนภูมิภาคภายใตระบบเทศาภิบาล
      เรงรัดใหมีการปฏิรูปการศาลและระบบกฎหมายเพื่อใหประเทศตะวันตกยอมรับประเทศไทยมากขึ้น

      เลิกระบบทาสและระบบไพรแบบคอยเปนคอยไปและตราพระราชบัญญัติลักษณะเกณฑทหาร

      สมัย ร.7 มีการประกาศใชพระราชบั ญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2471 ซึ่งถือเปนกฎหมาย
         จัดระบบการบริหารงานบุคคลฉบับแรกของไทย
      วางระเบียบในการคัดเลือกใหไดผูที่มีความรูความสามารถเขามารับราชการ นอกจากนี้ยังเปน การนําเอา
         ระบบคุณธรรมในทางการบริหารงานบุคคลภาครัฐเขามาใช
การบริหารราชการสมัยกรุง
                                 รัตนโกสินทร ร 5

    การบริหารสวนกลาง
                                                         เสนาบดี
        กระทรวง
การบริหารราชการสวนภูมิภาค
                                                       สมุหเทศาภิบาล
         มณฑล
          เมือง                                        ผูวาราชการเมือง
         อําเภอ                                          นายอําเภอ
         ตําบล                                             กํานัน
         หมูบาน                                        ผูใหญบาน

       สวนทองถิ่น
      สุขาภิบาลกรุงเทพ
      สุขาภิบาลทาฉลอง
การแบงการบริหารราชการไทย
 สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง     2475– ปจจุบัน มีการแบงการบริหาร
  ราชการออกเปน
    การบริหารราชการสวนกลาง   (แบงออกเปนกระทรวง) เพื่อเปนที่รวมการ
     บริหาร
    การบริหารราชการสวนภูมิภาค (แบงออกเปนมณฑล จังหวัด อําเภอ) เพื่อรับ
     สนองงานและปฏิบัติการแทนสวนกลางตามทีไ่ ดรับมอบหมาย
    การบริหารราชการสวนทองถิ่น เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหาร
แสดงสถาบันและองคการในระบบบริหาร

                                                    พระมหากษัตริย

            รัฐสภา                                      คณะรัฐมนตรี                                   ศาล




สํานักนายกรัฐมนตรี                        กระทรวง                 ทบวง
                                                                                      สวนราชการที่มีลักษณะเปนกรมและไมมี
                                                                                         สังกัดกระทรวงหรือสํานักนายกฯ




                     ราชการสวนทองถิ่น                           ราชการสวนภูมิภาค
ปญหาในระบบราชการไทย
ปญหาดานนโยบาย
 ปญหาดานสมรรถนะของหนวยงานที่นํานโยบายไปปฏิบัติ
 ปญหาดานการควบคุม
 ปญหาดานความรวมมือและการตอตานการเปลี่ยนแปลง
 ปญหาดานอํานาจและความสัมพันธกับองคการอื่นที่เกี่ยวของ
 ปญหาดานความสนับสนุนและความผูกพันขององคการหรือบุคคลสําคัญใน
  กระบวนการของการนํานโยบายไปปฏิบัติ
ปญหาดานโครงสราง
   รวมอํานาจเขาสูสวนกลาง
   กระทรวง กรม และกอง ไมรูหนาที่หลักและรองของตน
   มีระบบการประเมินผลแบบปด
   มีกฎหมายและกฎระเบียบที่ลาหลัง
   ระบบงบประมาณไมไดผล
ปญหาดานการบริหารงานบุคคล
   ระบบเลนพรรคเลนพวกเพื่อสรางเครือขายเกื้อหนุนซึ่งกันและกันเกิดอยางกวางขวางในระบบราชการทําใหไมสามารถดํารงไวซึ่งหลักการของ
    ระบบคุณธรรมอยางแทจริง
   ตางคนตางทํา ขาราชการสวนภูมิภาคดําเนินงานตามนโยบายของ กระทรวง ทบวง กรม เปนหลักมากกวาตอบสนองปญหาและความ
    ตองการของคนในพื้นที่
   การแกไขปญหา ขาดการประสานงานของเจาหนาที่
   ขาราชการพึ่งพาการจัดสรรงบประมาณจากสวนกลางเปนหลัก ยากที่จะทํางานเชิงบูรณาการ
   สายงานที่จําแนกไวมีเปนจํานวนมาก หลายสายงานมีลักษณะซับซอนใกลเคียงกันมาก ยึดคุณวุฒิทางการศึกษาของขาราชการจนทําใหไม
    คลองตัวในการสรรหา โยกยาย
   มาตรฐานกําหนดตําแหนงที่กําหนดไวมีขอบเขตกวางหรือคลุมเครือ
   มีมาตรฐานกลางเพียงมาตรฐานเดียว (Single Scale) ทําใหไมยืดหยุนในการบริหารกําลังคนที่มีหลากหลาย
   การกําหนดทางกาวหนาของแตละสายงานยังมีความเหลื่อมล้ํา ไมเปนธรรม
   ขาดแคลนและสูญเสียบุคลากรในตําแหนงทางวิชาการ
   คาตอบแทนภาครัฐต่ํากวาการจางงานในตลาด
   การแตงตั้ง โยกยาย เลื่อนขั้นเงินเดือนยังคงอิงระบบอาวุโส
   ผูบริหารระดับตางๆ ไมสามารถบริหารกําลังคนและกํากับดูแลผลงานของบุคลากรเพื่อตอบสนองความตองการในการทํางานขององคกรใน
    แตละระดับไดอยางมีประสิทธิภาพ
   ระบบบริหารงานบุคคลไมเอื้อตอหลักประกันดานคุณธรรม (Merit based system) ไดอยางจริงจัง ขาราชการที่มีความรูความสามารถ
    จํานวนมากไมไดรับความเปนธรรม
ปญหาดานการบริหารงานบุคคล (ตอ)
 ขาดแคลนและสูญเสียบุคลากรในตําแหนงทางวิชาการ
 คาตอบแทนภาครัฐต่ํากวาการจางงานในตลาด
 การแตงตั้ง โยกยาย เลื่อนขั้นเงินเดือนยังคงอิงระบบอาวุโส
 ผูบริหารระดับตางๆ ไมสามารถบริหารกําลังคนและกํากับดูแลผลงานของบุคลากรเพื่อ
  ตอบสนองความตองการในการทํางานขององคกรในแตละระดับไดอยางมีประสิทธิภาพ
 ระบบบริหารงานบุคคลไมเอื้อตอหลักประกันดานคุณธรรม (Merit based system) ได
  อยางจริงจัง ขาราชการที่มีความรูความสามารถจํานวนมากไมไดรับความเปนธรรม
การปฏิรูประบบราชการไทย
สาเหตุการปฏิรูประบบราชการไทย
 สภาพปญหาทางการเมืองปจจุบัน

 สภาพปญหาทางกฎหมายและการบริหารราชการแผนดินในปจจุบัน
   รัฐตรากฎออกมาควบคุมการประกอบกิจการหรือการประกอบอาชีพของ
    เอกชนโดยไมจําเปนและซ้ําซอนกันมาก
   รัฐเขามามีบทบาทในฐานะผูดําเนินการทางเศรษฐกิจและสังคมมากเกินไป

   ระบบราชการมีศูนยรวมอํานาจไวที่สวนกลางมากเกินไป มิไดมีการกระจาย
    อํานาจใหแกองคกรปกครองทองถิ่นเทาที่ควร
สาเหตุการปฏิรูประบบราชการไทย (ตอ)
  สภาพปญหาทางกฎหมายและการบริหารราชการแผนดินในปจจุบัน       (ตอ)
    โครงสรางของการบริหารแบบดั้งเดิมไมสามารถตอบสนองตอความ
     เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการแขงขันทางการคาระหวางประเทศ
     ได
    กฎหมายใหอํานาจดุลยพินิจแกเจาหนาที่ของรัฐมากเกินไปโดยปราศจาก
     การควบคุมการใชดุลยพินิจที่ดี มีขั้นตอนตามกฎหมายและระเบียบ
     ขอบังคับมากเกินไป
    กฎหมายจํานวนมากลาสมัยและเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประเทศ
สาเหตุการปฏิรูประบบราชการไทย (ตอ)

 สภาพปญหาทางกฎหมายและการบริหารราชการแผนดินใน
   ปจจุบัน (ตอ)
    กระบวนการนิติบัญญัติลาชาทําใหไมสามารถแกไข
                                                  ปรับปรุง
     กฎหมายที่ลาสมัยหรือตรากฎหมายขึ้นใหมใหทันตอการ
     เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมได
    นักกฎหมายของฝายบริหารสวนใหญยังมีความสับสนใน
     แนวความคิดทางกฎหมายและขาดความเชี่ยวชาญในกฎหมายที่
     ตนเองตองรับผิดชอบ
นโยบายพัฒนาขาราชการ เพื่อประโยชนสุข
ของประชาชน
   นโยบายพัฒนาขาราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชนเกิดขึ้น
     พรอมการปฏิรูปราชการครั้งสําคัญในป 2545 เปนแกนหลัก
     ในการติดตามและขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการสูยุคใหม
     เนนการทํางานเชิงรุก การมีสวนรวมของประชาชน เครือขาย
     การพัฒนา ระบบวัดผลและประเมนผลงาน ความรวดเร็วในการ
     บริการ โดยเนนประโยชนสุขของประชาชนเปนสําคัญตาม
     จุดประสงคตอไปนี้
รายชื่อสมาชิกกลุม
นางสาวชลธิชา      พรประสิทธิ์   533280017-0
นางสาวณัฐธิชา     หมื่นสอาด     533280020-1
นางสาวทัศนีย     ศรีคุม       533280024-3
นางสาวนันทิพร     ชัยมงคล       533280033-2
นางสาวบุษบง        สิงหชมภู    533280034-0
นางสาวพัชราภรณ    จีบจอหอ      533280043-9
นายเพชร             คําทอง       533280033-2

                  สาขาการปกครองทองถิ่น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการSaiiew
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 

Mais procurados (20)

Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 

Semelhante a ทฤษฎีระบบราชการ

บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์krunrita
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการtechno UCH
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551pthaiwong
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะmarena06008
 

Semelhante a ทฤษฎีระบบราชการ (20)

บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Abb3
Abb3Abb3
Abb3
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
Ba.453 ch5
Ba.453 ch5Ba.453 ch5
Ba.453 ch5
 
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 

Mais de wiraja

เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)wiraja
 
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)wiraja
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบwiraja
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายwiraja
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาwiraja
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์wiraja
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นwiraja
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
Population and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in ChinaPopulation and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in Chinawiraja
 
Introduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese NamingIntroduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese Namingwiraja
 

Mais de wiraja (10)

เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
Population and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in ChinaPopulation and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in China
 
Introduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese NamingIntroduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese Naming
 

ทฤษฎีระบบราชการ

  • 1. ความเปนมาของระบบราชการ  สมัยอียิปตความเปนมาอาจสืบไดในสมัยโบราณที่มีฟาโรห และขาราชการซึ้งทํางานรับ ใชฟาโรห  เอเชียสมัยจีนโบราณมีหลักฐานคือมีการสอบเขาทํางานตามระบบคุณธรรม หรือที่รี ยกกันวาการสอบจอหงวน
  • 2. ความเปนมา ในปลายศตวรรษที19 Max Weber ไดสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะการบริหารงานในองคการตางๆ ่ วามีรูปแบบที่แตกตางจากการดําเนินกิจการในอดีต ที่มีลักษณะแบบครอบครัว - รูปแบบการบริหารแบบใหมมีลักษณะที่สําคัญคือ 1) มีการกําหนดตําแหนงงานและจัดลําดับขั้นของตําแหงไว 2) มีการกําหนดโครงสรางอํานาจอยางมีเหตุผล 3) มีการแยกเจาของและผูบริหารออกจากกัน 4)มีกําหนด ขั้นตอน กฎเกณฑ การทํางานที่ชัดเจนมาใช
  • 3. เจาของทฤษฎี ประวัติโดยยอของ MAX WEBER เวเบอรเปนลูกคนโตในบรรดาลูกๆทั้งหมด 7 คน พอเขาชื่อเดียวกัน คือ แมกซ เวเบอร (Max Weber) สวนแม ของเขา ชื่อ ฮีลีน เวเบอร (Helence Weber) เวเบอรเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 1864 เวเบอรถือวาเปนคนที่มีปญหาทาง ครอบครัวเพราะวาพอและแมของเขาเริ่มเหินหางกันตั้งแตตอนตนของชีวิตการแตงงานทําใหเกิดปมในจิตใจซึ่งไดสงผล กระทบตอเขาในภายหลัง เวเบอรไดรับการศึกษาจากมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิรก (Heidelberg)และมหาวิทยาลัยเบอรลิน จนได ปริญญาเอกและไดเขารวมกับกลุมทางการเมืองโปรแตสแตนทตอตานการขยายตัวทางอุตสาหกรรมของเยอรมันและกลุมทาง  วิชาการเกี่ยวกับปญหาสังคมซึ่งตอมามีผลงานออกมาชื่อ The Situation of farm workers in Germany East of the Elbe River เขาจึงกลายเปนคนที่มีชื่อเสียงตั้งแตยงหนุม เวเบอรดําเนินชีวิตอยางคนเครงศาสนา และโหมงานหนักประกอบกับ ั ปญหาภายในใจ ทําใหเวเบอรปวยเปนโรคทางประสาท ตองพักรักษาตัวอยูเปนระยะเวลาหลายป กระทั่งจนป ค.ศ. 1903 เว เบอรเริ่มกลับมาขียนหนังสือได ในชวงค.ศ.1906-1914เขาไดเขียนงานออกมาอยางตอเนื่อง แตหนึ่งในผลงานหลายชิ้นที่โดด เดน คือ เรื่องเกี่ยวกับรูปแบบในอุดมคติของเขา ซึ่งตีพิมพเรื่อยมาตั้งแต ค.ศ. 1911-1920 และเขียนเรื่อง “The Essentials of Bureaucratic Organization” อยูในหนังสือที่ชื่อวา “The Theory of Social and Economic Organization” ค.ศ.1920 เว เบอรเสียชีวิตดวยโรคปอดบวม
  • 4. ทฤษฎีระบบราชการ (BUREAUCRATICTHEORY)  Max Weber 1. ลําดับชั้นการบังคับบัญชา (Hierarchy) 2. การแบงงาน (Division of Labor) 3. ไมยึดความเปนสวนบุคคล (Impersonality) 4. ยึดกฎระเบียบขอบังคับ (Rules and Regulations) 5. การทํางานเปนอาชีพ (Career Service) 6. แบงแยกเรื่องสวนตัวและทรัพยสินของบุคคลออกจากองคการ (Separation of property and affairs)
  • 5. แนวคิดของ MAX WEBER : ทฤษฎีระบบราชการของ Weber (Weber’s Theory of Bureaucracy) ระบบราชการ เปนรูปแบบองคกรที่ใชเหตุผล (Logic) และประสิทธิภาพ (Efficient) โดยมีอํานาจหนาที่ตามระเบียบ (Order) และตามกฎหมาย (Legitimate Authority) ซึ่งมีลักษณะ 5 ประการ คือ -การแบงงานกันทํา (Division of Labor) -มีสายบังคับบัญชาเปนลําดับหนาที่ (Hierarchy of Authority) -มีกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติอยางเปนทางการ (Formal Rules and procedure) -ความไมเปนสวนตัว (Impersonality) -ความกาวหนาในงานอาชีพตามหลักคุณภาพ (Careers based on Merit)
  • 6. แนวคิดและหลักการของ “ระบบราชการ”  มีการแบงงานกันทําตามแนวราบ ( Horizontal Delegation) ทําใหกระบวนการทํางานในองคการทั้งระบบมี ผูรับผิดชอบ และมีการแบงงานกันทําเพื่อใหเกิดความชํานาญเฉพาะอยาง  องคการนั้นๆตองมีสายบังคับบัญชาตามลําดับชั้น ( Authority Hierarchy ) : โดยสํานักงานและตําแหนงงานที่อยู ใตหนวยงาน หรือ ตําแหนงงานนั้นอยูใตการดูแลในระดับสูงขึ้นไป  ระบบคัดเลือกคนงาน ( Formal Selection ) : ผูที่เขารวมในหนวยงานจะถูกคัดเลือกตามความสามารถและ คุณสมบัติ ที่มีระบบการคัดเลือกและการสอบคัดเลือกอยางเปนทางการ  มีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร ( Evidence and Reference )  องคการตองมีระเบียบ และกฎเกณฑ ( Formal Rules and Regulations ) : ทั้งนี้เพื่อใหสามารถประกันความเปน เอกภาพในการดําเนินการ และกํากับการทํางานของพนักงาน  ความไมเลือกที่รักมักที่ชัง ( Impersonality ) : ไมมีการถือเอาสายสัมพันธในครอบครัวเปนใหญ ไมมีการใหสิทธิ พิเศษแกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ถาจะทําอะไรตองเปนไปตามเกณฑ  การแยกระบบการทํางานออกเปนสายอาชีพ ( Career Orientation ) : คนทํางานจะเขาสูตําแหนงตาม ความสามารถของแตละคน มีเลื่อนขั้น และการเติบโตในหนวยงานไดตามลําดับ
  • 7. จุดเดนของ “ระบบราชการ”  ลําดับขั้นการบังคับบัญชาเปนเครื่องมือควบคุมสมาชิกและความสัมพันธที่มี ตอกัน  ไมสับสนในบทบาท เพราะแตละคนรูวาจะทําอะไรและสามารถตรวจสอบได  การมีกฎระเบียบทําใหรูบทบาท ชวยลดตนทุนในการกํากับดูแล  การทํางานขององคการมีความแนนอน มีลักษณะเปนหลักฐานอางอิงได  มีการแบงแยกงานถือหลักความชํานาญเฉพาะดาน  กระบวนการทํางานในองคการทั้งระบบมีผ ูรับผิดชอบ  ไมมีการใหสิทธิพิเศษแกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทุกคนตองทําตามกฎเกณฑที่ วางไว
  • 8. จุดดอยของ “ระบบราชการ”  มีองคการปฏิบัติงานกระจายอยูทั่วประเทศ ซึ่งเปนเครือขายที่กวางขวางซับซอน จนไมอาจจัดระบบ ควบคุมตรวจสอบดุลพินิจในการใชอํานาจของขาราชการทุกคนเปนการเฉพาะรายได  ระเบียบขอบังคับจํานวนมากนี้ไดสรางความเคยชินกับ ขาราชการวาตองเนนความถูกตองตามระเบียบ มากกวาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน  มีมาตรฐานการจางงานเพียงมาตรฐานเดียว ซึ่งทําใหไมสามารถจายคาตอบแทนไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับราคา  เปนระบบที่ยากที่จะทําลายได การไมกลาเปลี่ยนแปลงนี้สืบเนื่องมาจากคนไมกลาทําลายกฎระเบียบที่ มีอยู เพราะอาจทําใหองคกรแตกสลาย หรือนําไปสูการเลนพรรคเลนพวก  มีแนวโนมที่จะผูกขาดขอมูลขาวสาร ตอตานการเปลี่ยนแปลงและทําตัวเปนเผด็จการ
  • 9. การปรับใชในการบริหารรัฐกิจ - ตองการใหการดําเนินงานขององคการทั้งหมดอยูภายใตการควบคุมของ หลักการบริหาร ผูมีอํานาจระดับสูง ตามลําดับขั้นมี - ผูบริหารระดับสูงสามารถตัดสินใจ สั่งการควบคุมผูใตบังคับบัญชาได เปาหมาย เต็มที่ความเชื่อ - จะทําใหระบบการสั่งการและการควบคุมงานเปนไปอยางรัดกุม ทําใหการทํางานดําเนินไปอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด - สามารถประสานการทํางานระหวางหนวยงานตางๆที่มีภารกิจแตกตางกันใหทํางานรวมกันไดเนื่องจากมี ผูบังคับบัญชาคนเดียวกัน
  • 11. ความเปนมาของระบบราชการไทย  สมัยกรุงศรีอยุธยา  (พ.ศ.1991-2031) ในรัชสมัยนี้ เริ่มมีการจัดระบบการบริหารงานแผนดินอยางเปนระบบแบบแผน เพราะไดรับ อิทธิพลจากขาราชสํานักเขมร  มีการตั้ง กฎมณเฑียรบาลอันเปนบทบัญญัติสําคัญเกี่ยวกับสถาบันกษัตริยกําหนดระบบศักดินาตําแหนง ขาราชการทั้งฝายพลเรือนและทหาร กําหนดสิทธิและหนาที่ความรับผิดชอบ รวมทั้งสิทธิพิเศษตางๆของ ขาราชการ  สวนกลาง ใชระบบจตุสดมภแบงกรมหลักเปน 4 กรม คือ เมือง (หรือเวียง) วัง คลัง นา  ดานการปกครอง อาณาเขต ไดมีความพยายามรวมอํานาจเขาสูสวนกลางและแผอํานาจบารมีครอบคลุมทั่ว ราชอาณาจักร
  • 13. พระมหากษัตริย สมุหนายก สมุหพระกลาโหม (พลเรือน) (ทหาร) นครบาล ธรรมธิกรณ โกษาธิบดี เกษตรธิบดี
  • 14. ความเปนมาของระบบราชการไทย  สมัยรัตนโกสินทร  สรางเอกภาพและเสถียรภาพของประเทศใหรอดพนจากการคุกคามของลัทธิลาอาณานิคม   กษัตริยทรงคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมมารวมงานไมวาจะเปนพระ เจานองยาเธอตางๆ และที่ปรึกษาชาวตางประเทศ  สมัย ร.5 มีการจัดตั้งคณะที่ปรึกษาราชการแผนดินและคณะที่ปรึกษาราชการสวนพระองครัชกาลที่ 5 จึงทรง ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒนขึ้นเพื่อจัดเก็บภาษีอากรและการคลัง  ยกเลิกจตุสดมภและการปฏิรูปโครงสรา งระบบบริหารราชการแผนดิน  ปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ประกอบ ดวยมณฑล เมือง (ในสมัยรัชกาลที่ 6 เรียก จังหวัด) และอําเภอ โดย ใหหัวเมืองทั้งหมดขึ้นกับกรมมหาดไทย และใหมีการรวบรวมหัวเมืองขึ้นเปนมณฑล สวนกลางสงเจาหนาที่ไปเปน ขาหลวงใหญตามหัวเมืองในมณฑล ตางๆ
  • 15. ความเปนมาของระบบราชการไทย (ตอ)  สมัยรัตนโกสินทร  วางรากฐานการปกครองทองถิ่นภายหลังจากการปฏิรูปการปกครองในสวนกลางและปรับปรุงการ ปกครองในสวนภูมิภาคภายใตระบบเทศาภิบาล  เรงรัดใหมีการปฏิรูปการศาลและระบบกฎหมายเพื่อใหประเทศตะวันตกยอมรับประเทศไทยมากขึ้น  เลิกระบบทาสและระบบไพรแบบคอยเปนคอยไปและตราพระราชบัญญัติลักษณะเกณฑทหาร  สมัย ร.7 มีการประกาศใชพระราชบั ญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2471 ซึ่งถือเปนกฎหมาย จัดระบบการบริหารงานบุคคลฉบับแรกของไทย  วางระเบียบในการคัดเลือกใหไดผูที่มีความรูความสามารถเขามารับราชการ นอกจากนี้ยังเปน การนําเอา ระบบคุณธรรมในทางการบริหารงานบุคคลภาครัฐเขามาใช
  • 16. การบริหารราชการสมัยกรุง รัตนโกสินทร ร 5 การบริหารสวนกลาง เสนาบดี กระทรวง การบริหารราชการสวนภูมิภาค สมุหเทศาภิบาล มณฑล เมือง ผูวาราชการเมือง อําเภอ นายอําเภอ ตําบล กํานัน หมูบาน ผูใหญบาน สวนทองถิ่น สุขาภิบาลกรุงเทพ สุขาภิบาลทาฉลอง
  • 17. การแบงการบริหารราชการไทย  สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475– ปจจุบัน มีการแบงการบริหาร ราชการออกเปน  การบริหารราชการสวนกลาง (แบงออกเปนกระทรวง) เพื่อเปนที่รวมการ บริหาร  การบริหารราชการสวนภูมิภาค (แบงออกเปนมณฑล จังหวัด อําเภอ) เพื่อรับ สนองงานและปฏิบัติการแทนสวนกลางตามทีไ่ ดรับมอบหมาย  การบริหารราชการสวนทองถิ่น เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหาร
  • 18. แสดงสถาบันและองคการในระบบบริหาร พระมหากษัตริย รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง สวนราชการที่มีลักษณะเปนกรมและไมมี สังกัดกระทรวงหรือสํานักนายกฯ ราชการสวนทองถิ่น ราชการสวนภูมิภาค
  • 20. ปญหาดานนโยบาย  ปญหาดานสมรรถนะของหนวยงานที่นํานโยบายไปปฏิบัติ  ปญหาดานการควบคุม  ปญหาดานความรวมมือและการตอตานการเปลี่ยนแปลง  ปญหาดานอํานาจและความสัมพันธกับองคการอื่นที่เกี่ยวของ  ปญหาดานความสนับสนุนและความผูกพันขององคการหรือบุคคลสําคัญใน กระบวนการของการนํานโยบายไปปฏิบัติ
  • 21. ปญหาดานโครงสราง  รวมอํานาจเขาสูสวนกลาง  กระทรวง กรม และกอง ไมรูหนาที่หลักและรองของตน  มีระบบการประเมินผลแบบปด  มีกฎหมายและกฎระเบียบที่ลาหลัง  ระบบงบประมาณไมไดผล
  • 22. ปญหาดานการบริหารงานบุคคล  ระบบเลนพรรคเลนพวกเพื่อสรางเครือขายเกื้อหนุนซึ่งกันและกันเกิดอยางกวางขวางในระบบราชการทําใหไมสามารถดํารงไวซึ่งหลักการของ ระบบคุณธรรมอยางแทจริง  ตางคนตางทํา ขาราชการสวนภูมิภาคดําเนินงานตามนโยบายของ กระทรวง ทบวง กรม เปนหลักมากกวาตอบสนองปญหาและความ ตองการของคนในพื้นที่  การแกไขปญหา ขาดการประสานงานของเจาหนาที่  ขาราชการพึ่งพาการจัดสรรงบประมาณจากสวนกลางเปนหลัก ยากที่จะทํางานเชิงบูรณาการ  สายงานที่จําแนกไวมีเปนจํานวนมาก หลายสายงานมีลักษณะซับซอนใกลเคียงกันมาก ยึดคุณวุฒิทางการศึกษาของขาราชการจนทําใหไม คลองตัวในการสรรหา โยกยาย  มาตรฐานกําหนดตําแหนงที่กําหนดไวมีขอบเขตกวางหรือคลุมเครือ  มีมาตรฐานกลางเพียงมาตรฐานเดียว (Single Scale) ทําใหไมยืดหยุนในการบริหารกําลังคนที่มีหลากหลาย  การกําหนดทางกาวหนาของแตละสายงานยังมีความเหลื่อมล้ํา ไมเปนธรรม  ขาดแคลนและสูญเสียบุคลากรในตําแหนงทางวิชาการ  คาตอบแทนภาครัฐต่ํากวาการจางงานในตลาด  การแตงตั้ง โยกยาย เลื่อนขั้นเงินเดือนยังคงอิงระบบอาวุโส  ผูบริหารระดับตางๆ ไมสามารถบริหารกําลังคนและกํากับดูแลผลงานของบุคลากรเพื่อตอบสนองความตองการในการทํางานขององคกรใน แตละระดับไดอยางมีประสิทธิภาพ  ระบบบริหารงานบุคคลไมเอื้อตอหลักประกันดานคุณธรรม (Merit based system) ไดอยางจริงจัง ขาราชการที่มีความรูความสามารถ จํานวนมากไมไดรับความเปนธรรม
  • 23. ปญหาดานการบริหารงานบุคคล (ตอ)  ขาดแคลนและสูญเสียบุคลากรในตําแหนงทางวิชาการ  คาตอบแทนภาครัฐต่ํากวาการจางงานในตลาด  การแตงตั้ง โยกยาย เลื่อนขั้นเงินเดือนยังคงอิงระบบอาวุโส  ผูบริหารระดับตางๆ ไมสามารถบริหารกําลังคนและกํากับดูแลผลงานของบุคลากรเพื่อ ตอบสนองความตองการในการทํางานขององคกรในแตละระดับไดอยางมีประสิทธิภาพ  ระบบบริหารงานบุคคลไมเอื้อตอหลักประกันดานคุณธรรม (Merit based system) ได อยางจริงจัง ขาราชการที่มีความรูความสามารถจํานวนมากไมไดรับความเปนธรรม
  • 25. สาเหตุการปฏิรูประบบราชการไทย  สภาพปญหาทางการเมืองปจจุบัน  สภาพปญหาทางกฎหมายและการบริหารราชการแผนดินในปจจุบัน รัฐตรากฎออกมาควบคุมการประกอบกิจการหรือการประกอบอาชีพของ เอกชนโดยไมจําเปนและซ้ําซอนกันมาก รัฐเขามามีบทบาทในฐานะผูดําเนินการทางเศรษฐกิจและสังคมมากเกินไป ระบบราชการมีศูนยรวมอํานาจไวที่สวนกลางมากเกินไป มิไดมีการกระจาย อํานาจใหแกองคกรปกครองทองถิ่นเทาที่ควร
  • 26. สาเหตุการปฏิรูประบบราชการไทย (ตอ)  สภาพปญหาทางกฎหมายและการบริหารราชการแผนดินในปจจุบัน (ตอ) โครงสรางของการบริหารแบบดั้งเดิมไมสามารถตอบสนองตอความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการแขงขันทางการคาระหวางประเทศ ได กฎหมายใหอํานาจดุลยพินิจแกเจาหนาที่ของรัฐมากเกินไปโดยปราศจาก การควบคุมการใชดุลยพินิจที่ดี มีขั้นตอนตามกฎหมายและระเบียบ ขอบังคับมากเกินไป กฎหมายจํานวนมากลาสมัยและเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประเทศ
  • 27. สาเหตุการปฏิรูประบบราชการไทย (ตอ) สภาพปญหาทางกฎหมายและการบริหารราชการแผนดินใน ปจจุบัน (ตอ) กระบวนการนิติบัญญัติลาชาทําใหไมสามารถแกไข ปรับปรุง กฎหมายที่ลาสมัยหรือตรากฎหมายขึ้นใหมใหทันตอการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมได นักกฎหมายของฝายบริหารสวนใหญยังมีความสับสนใน แนวความคิดทางกฎหมายและขาดความเชี่ยวชาญในกฎหมายที่ ตนเองตองรับผิดชอบ
  • 28. นโยบายพัฒนาขาราชการ เพื่อประโยชนสุข ของประชาชน  นโยบายพัฒนาขาราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชนเกิดขึ้น พรอมการปฏิรูปราชการครั้งสําคัญในป 2545 เปนแกนหลัก ในการติดตามและขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการสูยุคใหม เนนการทํางานเชิงรุก การมีสวนรวมของประชาชน เครือขาย การพัฒนา ระบบวัดผลและประเมนผลงาน ความรวดเร็วในการ บริการ โดยเนนประโยชนสุขของประชาชนเปนสําคัญตาม จุดประสงคตอไปนี้
  • 29. รายชื่อสมาชิกกลุม นางสาวชลธิชา พรประสิทธิ์ 533280017-0 นางสาวณัฐธิชา หมื่นสอาด 533280020-1 นางสาวทัศนีย ศรีคุม 533280024-3 นางสาวนันทิพร ชัยมงคล 533280033-2 นางสาวบุษบง สิงหชมภู 533280034-0 นางสาวพัชราภรณ จีบจอหอ 533280043-9 นายเพชร คําทอง 533280033-2 สาขาการปกครองทองถิ่น