SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์
ภาษาในระดับต่างๆ
1. การศึกษาระดับเสียง
สัทศาสตร์
(phonetics)
2. การศึกษาระดับระบบเสียง
สัทวิทยา/ สรวิทยา
(Phonology)
3. การศึกษาระดับคา
วิทยาหน่วยคา
(Morphology)
4. การศึกษาระดับประโยค
วากยสัมพันธ์
(Syntax)
การศึกษารูปภาษา
5. การศึกษาระดับข้อความ
สัมพันธสารหรือปริจเฉทวิเคราะห์
(Discourse or Discourse Analysis)
6. การศึกษาความหมายของรูปภาษาระดับคาและประโยค
อรรถศาสตร์
(Semantics)
7. การศึกษาความหมายของรูปภาษาระดับข้อความ
วัจนปฏิบัติศาสตร์
(Pragmatics)
การศึกษาความหมายของ
ภาษา
สัทศาสตร์ คือ วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาอวัยวะที่ใช้ในการออก
เสียง ธรรมชาติของการออกเสียง การเปล่งเสียงพูด และลักษณะ
ทางกายภาพของเสียงพูด ลักษณะทางกายภาพของเสียงพูดสามารถ
ทาได้หลายวิธีทั้งการฟังด้วยหูแล้วจาแนกด้วยกายวิภาค ไปจนถึง
การวิเคราะห์ด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ สัทศาสตร์จาแนกออกเป็ น
3 สาขา คือ สรีรสัทศาสตร์ กลสัทศาสตร์ โสตสัทศาสตร์
สรีรสัทศาสตร์
Articulatoryphonetics
สัทศาสตร์ประเภทหนึ่งที่ศึกษา
เกี่ยวกับเรื่องการออกเสียง การเปล่ง
เสียงพูด และการทางานของอวัยวะ
ต่างๆ ที่ใช้ในการออกเสียง เริ่ม
ตั้งแต่กระบังลมบังลมออกจากปอด
จนกระทั่งเสียงออกจากปาก
กลสัทศาสตร์/สวนสัทศาสตร์
AcousticPhonetics สัทศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาลักษณะ
ทางกายภาพของเสียงพูด เริ่มตั้งแต่สี
ยงออกจากปากของผู้พูดผ่านอากาศ
มาถึงหูผู้ฟัง การศึกษากลสัทศาสตร์ทา
ได้โดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์
วิเคราะห์ดูความถี่ของเสียงและ
ลักษณะของคลื่นเสียง เช่น เครื่อง
วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ลื่ น เ สี ย ง (sound
spectrograph) เครื่องวัดระดับเสียง
(pitch meter) นอกจากนี้ยังมีการนา
เครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ร่วมกับ
เครื่องมือทางกลสัทศาสตร์อีกด้วย
เช่น CSL (Computerized Speech
Lap)
โสตสัทศาสตร์
Auditoryphonetics
สัทศาสตร์ที่ศึกษากระบวนการของการได้ยิน โดยเริ่มศึกษาเมื่อเสียง
ผ่านเข้ามาในหูของผู้ฟัง กล่าวคือศึกษาส่วนประกอบของหู การทางาน
ของหูในการรับเสียง และศึกษาส่วนที่เกี่ยวกับการรับรู้ในสมอง
สัทวิทยา คือ ศาสตร์ที่ว่าด่วยการอธิบายเสียงในภาษาใดภาษา
หนึ่งอย่างละเอียดและเป็ นระบบ ตามธรรมดาการออกเสียงของ
มนุษย์แม้พูดภาษาเดียวกันก็ออกเสียงต่างกันได้เนื่องจากแต่ละ
บุคคลอาจจะมีอวัยวะในการออกเสียงต่างกัน หรือมีประสบการณ์
ทางภาษาต่างกัน สัทวิทยาจะปล่อยให้การพิจารณาความแตกต่างใน
การออกเสียงดังว่านี้เป็ นเรื่องของสัทศาสตร์ มีข้อสังเกตอยู่ว่าแม้คน
ในสังคมภาษาจะออกเสียงต่างไปบ้างก็สื่อสารกันเข้าใจ ทั้งนี้เป็ น
เพราะเจ้าของภาษาทุกคนมีความรู้ในระบบภาษาเดียวกันนั่นเอง
วิทยาหน่วยคา คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ “หน่วยคา” กล่าววคือ
ศึกษาโครงสร้างและรูปแบบของคาในภาษาใดภาษาหนึ่ง การ
ประกอบขึ้นเป็ นคา และการสร้างคาโดยการเติมวิภัตติ-ปัจจัย
วากยสัมพันธ์ คือ เป็ นการศึกษาโครงสร้างของประโยค (คา/
วลี/อนุพากย์ ฯลฯ) ที่มีการเรียงร้อยต่อเนื่องกันด้วยเกณฑ์ทาง
ไวยากรณ์ลักษณะต่างๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็ นระดับ “ไวยากรณ์”
เป็ นการศึกษาข้อความที่มนุษย์ใช้ปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันไม่ว่า
จะเป็ นการพูดหรือการเขียน ศึกษาภาษาในปริบทสถานการณ์ต่างๆ
และในวงการที่หลากหลาย เช่น บทสัมภาษณ์ บทวิทยุ บทความ ข่าว
กีฬา โดยพิจารณาความต่อเนื่องเชื่อมโยงของข้อความนั้น หากเป็ น
การพูดจะศึกษาโครงสร้างของการสนทนา การเปิ ดปิ ดการสนทนา
หากเป็ นการเขียนก็อาจศึกษาโครงสร้างข้อเค้าเรื่อง (plot) การ
เชื่อมโยงเนื้อความ เป็ นต้น
เป็ นการศึกษาความหมายประจารูปภาษาทั้งระดับคา วลี ประโยค
เช่นการอธิบายลักษณะแตกต่างทางความหมายของคาหลักหรืออรรถ
ลักษณ์ เช่น
เด็กผู้หญิง
+ มนุษย์
- ผู้ชาย
- ผู้ใหญ่
การอธิบายความหมายของประโยคที่สัมพันธ์กับความเป็ นจริง
เช่น คนตาบอดอ่านหนังสือ เป็ นประโยคที่แสดงความหมายขัดแย้ง
(contradiction) เป็ นต้น
เป็ นศาสตร์ที่คานึงถึงผู้ใช้ภาษาและบทบาทหน้าที่ของภาษาใน
ปริบท ศึกษาความระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารด้วยข้อความที่
ต่อเนื่องกัน เช่น การแสดงเจตนาในการกล่าวถ้อยคา (วัจนกรรม)
ศึกษาบทบาทหน้าที่ของภาษาในการสื่อความตามธรรมชาติ และ
ความหมายที่เกิดขึ้นในปริบทคู่สนทนา สถานการณ์ สังคมและ
วัฒนธรรม นับเป็ นการศึกษาความหมายที่กว้างขึ้นกว่าการอธิบาย
ทางอรรถศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์วัจนกรรม
ในสถานการณ์ที่มีผู้ร่วมสนทนา 3 คน คือสุดา ปัญญา และ
สนิท ขณะที่ปัญญาและสนิทกาลังสนทนาถึงเรื่องหนึ่งอยู่นั้น สุดาก็
เข้ามาบอกปัญญาว่า “ฉันมีอะไรจะคุยกับเธอหน่อย”
สนิทที่นั่งอยู่ตรงนั้นก็ผละออกไป
สถานการณ์ดังกล่าวนี้ประโยค “ฉันมีอะไรจะคุยกับเธอหน่อย”
สามารถตีความได้สองระดับ คือ การตีความระดับแรกเป็ นการบอก
(Asserttion) สุดาบอกปัญญาและคนอื่นๆ ในวงสนทนาว่าสุดามี
อะไรบางอย่างที่ต้องการคุยกับปัญญาโดยเฉพาะ
การตีความระดับที่สองคือการบอกของสุดาจะเป็ นการเตือนคน
อื่นๆ ด้วยว่ากรุณาออกไปจากวงนั้นเสีย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆGesso Hog'bk
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงWilawun Wisanuvekin
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศKSPNKK
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนManit Wongmool
 

Mais procurados (20)

หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียน
 

Semelhante a บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 

Semelhante a บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ (20)

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 

Mais de Wilawun Wisanuvekin

การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคมWilawun Wisanuvekin
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศWilawun Wisanuvekin
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนWilawun Wisanuvekin
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารWilawun Wisanuvekin
 

Mais de Wilawun Wisanuvekin (10)

การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคม
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 

บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ