SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
      อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
ปริมาณของสารในหนึ่งหน่วยเวลาของการเกิดปฏิกิริยานั้น ๆ
          อัตราการเกิดปฏิกิริยา = มาณสารตั้งต้นที่
                                ปริ
                                       ลดลง
                                ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่
          อัตราการเกิดปฏิกิริยา =      เวลาขึ้น
                                         เพิ่ม
                                          เวลา
                                  ปริมาณสารที่
          อัตราการเกิดปฏิกิริยา =
                                    เปลี่ยนไป
                                      เวลา
          อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มี 2 ชนิด คือ
      1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่
คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารทังหมดในหนึ่งหน่วยเวลา
                                    ้
      2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง เป็นการ
เปลียนแปลงปริมาณสารในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
    ่

       ข้อสรุปเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
         1. ในปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ มีขั้นตอนในการเกิดปฏิกิริยาหลาย
ขั้นตอน บางขั้นเกิดเร็ว บางขั้นเกิดช้า ขั้นควบคุมปฏิกิริยาหรือขั้น
กำาหนดอัตรา (rate detemining step) คือ ขั้นที่ดำาเนินไปช้าที่สุด
         2. ในขณะทีปฏิกิริยาดำาเนินไปเริ่มต้นปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว
                      ่
เพราะปริมาณสารตั้งต้นยังมีมาก แต่ช่วงหลังอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาจะช้าลง เพราะปริมาณสารตั้งต้นลดลง เช่น การเกิด
ปฏิกิริยาของลวดแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
                        Mg + 2HCI
    (ถ้า Mg มีมาก           MgCl2 + H2
     เกินพอ)                            H2
    Mg                HCI



        3. สารแต่ละตัวในสมการจะมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน เช่น
               เวลา           เวลา                 เวลา
ปฏิกิริยา
A+         2B         3C + 4D ในที่นี้สาร B เกิดปฏิกิริยาได้
เร็วกว่าสาร A เขียนเป็นกราฟแสดงการเกิดปฏิกิริยาได้ดังนี้
       อัตรา
       การเกิด
                            A
       ปฏิกิริยา        B                    เวล
                                              า

        4. การหาอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา หาจากสารตัวใด
ก็ได้ เช่น
           - ถ้าเป็นของแข็งหาโดยการชั่งนำ้าหนัก
           - ถ้าเป็นของเหลวหาโดยชั่งนำ้าหนักหรือวัดปริมาณ
           - ถ้าเป็นสารละลายหาความเข้มข้น
           - ถ้าเป็นก๊าซจะต้องหาโดยวัดปริมาตรหรือวัดความดัน
        5. การหาอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา หาจากสารตัวใด
ก็ได้ ผลลัพธ์จะเท่ากัน โดยใช้สูตรดังนี้
                        A + 3B
                        2C + 4D

                                                  ∆A                  ∆B                  ∆C
อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร                     -   ∆t              -   ∆t              +   ∆t
          ∆D
      +   ∆t


                                        ∆A                 1 ∆B                1 ∆C
อัตราการเกิดปฏิกิริยา               -   ∆t             -   3 ∆t            +   2 ∆t
          1 ∆D
      +   4 ∆t



      หมายเหตุ          1.      = ผลต่าง
                                ∆

                        t      = เวลา
                        +       = การเพิ่มขึ้น
                        -       = การลดลง
                   2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเท่ากับอัตราการ
                      เปลี่ ย นแปลงปริ ม าณเป็ น โมลของสารแต่ ล ะ
ชนิดหารด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำา นวนโมลของ
                   ส า ร นั้ น ใ น ส ม ก า ร ที่ ดุ ล แ ล้ ว
                              แบบ
1. ในปฏิกิริยา Mg(s)         ฝึกหัด
                             + 2HCl (aq)         MgCl2(aq) + H2
(g) พบว่า เมื่อปฏิกิริยาใกล้จะสิ้นสุดนั้น อัตราการเกิดก๊าช
ไฮโดรเจนจะลดลง ทั้งนี้เพราะเหตุใด
        ก. ผลิตภัณฑ์รวมตัวกลับไปเป็นสารตั้งต้นมากขึ้น
        ข. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง
        ค. อุณหภูมิของผสมจะลดลง เนื่องจากพลังงานถูกใช้ไป
        ง. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทำาหน้าที่เป็นตัวขัดขวางปฏิกิริยา
2. สำาหรับปฏิกิริยา         2H2O2(aq)           2H2O(1) + O2(g)
ซึ่งเกิดขึ้นในระบบปิด อัตราการสลายตัวของ H2O2 (วัดจากปริ
มาตราของก๊าซ O2 ทีเกิดขึ้น) เปลี่ยนไปตามเวลาดังรูปใด
                       ่
(ENT’25)
        ก.                         ข.
   ปริมาณ                    ปริมาณ
     O2                        O2
                  เวลา                       เวลา

       ค.
   ปริมาณ                        ง.
                             ปริมาณ
     O2                        O2
                  เวลา                       เวลา
3. กราฟในข้อใดที่จะแทนความสัมพันธ์ระหว่าง Y (ความเข้มข้น
ของ HI) กับ X (เวลาที่        ปฏิกิริยาดำาเนินไปของปฏิกิริยา
H2(g) + I2(g)       2HI (g) (ENT’26)
                   C
         Y                          1. A
                         B
                                    2. B
                         A
                    D               3. C
                    เวลา
                                    4. D
คำาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคำาถามข้อ 4-5
       จากผลการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง
โลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกได้ผลดังต่อไปนี้
          ปริมาตรของก๊าซ              เวลา(s)
         ไฮโดรเจน (cm3)
                 1                      20
                 2                      40
                 3                      70
                 4                      90
                 5                      110
4. อัตราการเกิดของก๊าซไฮโดรเจนที่ปริมาตรระหว่าง 4-5 cm3 มี
ค่ากี่ cm3/s
            1                         1         1                  5
      ก.   20                   ข.   90   ค.   110          ง.    320

                                                      1
5. อัตราเฉลี่ยการเกิด H มีค่าเท่ากับ            64 × 22 . 4 × 10 3   mol/s อัตรา
การใช้ HCI เป็นกี่ mol/s
                   1                                  1

      ก. 128 × 22 . 4 × 10 3              ข. 64 × 22 . 4 × 10 3

                   1                                 1

      ค.   32 × 22 . 4 × 10 3             ง. 16 × 22 .4 × 10 3
6. เมื่อนำา Mg มา 5 กรัม ใส่ลงในสารละลาย HCI 2.5mol/l
จำานวน 100 cm3 หลังจากเวลาผ่านไป 50 วินาที ปรากฏว่าเหลือ
Mg อยูจำานวนหนึ่ง ส่วนกรดใช้หมดไปพอดี จงคำานวณอัตราการ
        ่
เกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยเป็น mol/l
        ก. 0.0025                   ข. 0.005
        ค. 0.025                    ง. 0.05
7. จากสารละลาย Na2S2O3 0.3 mol/l 10 cm3 ทำาปฏิกิริยากับ
HCI 0.2 mol/l 10 cm3 ใช้เวลาทังสิ้น 20 วินาที ปฏิกิริยาจึงสิ้น
                                ้
สุด จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย เมื่อคิดจากมวลของ S
เป็นกรัม/วินาที กำาหนดสมการให้ดังนี้
              2−
       S2O 3 +                    2H+   H2O + SO2 + S
       ก. 0.0016                            ข. 0.0036
       ค. 0.0048                            ง. 0.0056

8. ก๊าซ NO2 สลายตัวตามสมการ
      2NO2        (g)       2NO(g) + O2 (g)
                     1                              1

       ก.   128 × 22 . 4 × 10 3         ข. 64 × 22 . 4 × 10 3
                    1                              1

        ค.  32 × 22 . 4 × 10 3   ง. 16 × 22 .4 × 10 3
9. จากสมการ                 2N2O5(g)               4NO2 (g) + O2(g)
   การสลายตัวของ N2O5 มีการเปลียนแปลงความเข้มข้นดังนี้
                                    ่
                 เวลา (s)          ความเข้มข้นของ N2O5
                                             (mol/dm3)
                     0                                X
                    500                             3.5
                   1000                             2.5
                   1500                             1.8
                   2000                             1.2
   ถ้าอัตราการสลายตังของ N2O5 เป็น 1.9x10-3 mol/dm3.s ข้อ
   ใดเป็นค่าของ X (mol/dm3) และอัตราการเกิดของ O2 (mol/
   dm3.s) ในช่วงเวลา 0 – 500 วินาที (ENT’38)
   1. 5.0 , 1.2 x10-3
   2. 5.0 , 1.5 x 10-3
   3. 6.0 , 2.5 x 10-3
   4. 8.8 , 3.5 x 10-3
10. ข้อมูลดังต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคำาถาม (ENT’28)
        สาร A และ B ทำาปฏิกิริยากันดัง                   สมการ
A(aq) + B(aq)               2C(aq) เมื่อใช้สารละลาย A เข้มข้น
0.2 mol/l จำานวน 3 cm ผสมกับสารละลาย B เข้มข้น 0.2 mol/l
                        3

จำานวน 3 cm3 แล้วจับเวลาทันทีที่สารละลายผสมกันหลังจาก
เวลาผ่านไป 10 วินาที นำาสารละลายไปวิเคราะห์หาจำานวนโมล
ของสาร C ทันที ปรากฏว่ามีสาร C เกิดขึ้น 2.3x10-4 mol อัตรา
การเกิดนี้มีปฏิกิริยานีมีค่าเท่าใด
                       ้
       1. ระยะทางที่ระดับสารละลายลดลงใน 1 วินาที
       2. ความเข้มข้นของสาร C ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยา / เวลา =
          0.23 x10-4 mol/l.s
       3. ความเข้มข้นของสาร A ทีลดลง เนื่องจากปฏิกิริยา/
                                   ่
          เวลา =0.38x10-4 mol/l.s
       4. อัตราการลดลงของสาร A ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.19x10-2
          mol/l.s

                  เฉลยแบบ
                    ฝึกหัด
1.ข
2.ก
3.ข
4.ก
5.ค
6.ก
7.ก
8.ข
9.ข
10.ง


                    จัดทำาโดย
          นางสาวผกาพันธุ์ สุกระ                  เลขที่ 18
          นางสาวญาเรศ พรหมดวง                    เลขที่ 22
ชั้น ม.5/9

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 

Mais procurados (20)

ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 

Semelhante a Rate012

1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2yaowaluk
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 25609GATPAT1
 

Semelhante a Rate012 (20)

1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
Som
SomSom
Som
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 

Mais de weerabong

วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31weerabong
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีweerabong
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551weerabong
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าweerabong
 

Mais de weerabong (9)

วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31
 
Globalworming
GlobalwormingGlobalworming
Globalworming
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 

Rate012

  • 1. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ปริมาณของสารในหนึ่งหน่วยเวลาของการเกิดปฏิกิริยานั้น ๆ อัตราการเกิดปฏิกิริยา = มาณสารตั้งต้นที่ ปริ ลดลง ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่ อัตราการเกิดปฏิกิริยา = เวลาขึ้น เพิ่ม เวลา ปริมาณสารที่ อัตราการเกิดปฏิกิริยา = เปลี่ยนไป เวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มี 2 ชนิด คือ 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารทังหมดในหนึ่งหน่วยเวลา ้ 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง เป็นการ เปลียนแปลงปริมาณสารในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ่ ข้อสรุปเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ในปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ มีขั้นตอนในการเกิดปฏิกิริยาหลาย ขั้นตอน บางขั้นเกิดเร็ว บางขั้นเกิดช้า ขั้นควบคุมปฏิกิริยาหรือขั้น กำาหนดอัตรา (rate detemining step) คือ ขั้นที่ดำาเนินไปช้าที่สุด 2. ในขณะทีปฏิกิริยาดำาเนินไปเริ่มต้นปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว ่ เพราะปริมาณสารตั้งต้นยังมีมาก แต่ช่วงหลังอัตราการเกิด ปฏิกิริยาจะช้าลง เพราะปริมาณสารตั้งต้นลดลง เช่น การเกิด ปฏิกิริยาของลวดแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก Mg + 2HCI (ถ้า Mg มีมาก MgCl2 + H2 เกินพอ) H2 Mg HCI 3. สารแต่ละตัวในสมการจะมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน เช่น เวลา เวลา เวลา ปฏิกิริยา
  • 2. A+ 2B 3C + 4D ในที่นี้สาร B เกิดปฏิกิริยาได้ เร็วกว่าสาร A เขียนเป็นกราฟแสดงการเกิดปฏิกิริยาได้ดังนี้ อัตรา การเกิด A ปฏิกิริยา B เวล า 4. การหาอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา หาจากสารตัวใด ก็ได้ เช่น - ถ้าเป็นของแข็งหาโดยการชั่งนำ้าหนัก - ถ้าเป็นของเหลวหาโดยชั่งนำ้าหนักหรือวัดปริมาณ - ถ้าเป็นสารละลายหาความเข้มข้น - ถ้าเป็นก๊าซจะต้องหาโดยวัดปริมาตรหรือวัดความดัน 5. การหาอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา หาจากสารตัวใด ก็ได้ ผลลัพธ์จะเท่ากัน โดยใช้สูตรดังนี้ A + 3B 2C + 4D ∆A ∆B ∆C อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร - ∆t - ∆t + ∆t ∆D + ∆t ∆A 1 ∆B 1 ∆C อัตราการเกิดปฏิกิริยา - ∆t - 3 ∆t + 2 ∆t 1 ∆D + 4 ∆t หมายเหตุ 1. = ผลต่าง ∆ t = เวลา + = การเพิ่มขึ้น - = การลดลง 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเท่ากับอัตราการ เปลี่ ย นแปลงปริ ม าณเป็ น โมลของสารแต่ ล ะ
  • 3. ชนิดหารด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำา นวนโมลของ ส า ร นั้ น ใ น ส ม ก า ร ที่ ดุ ล แ ล้ ว แบบ 1. ในปฏิกิริยา Mg(s) ฝึกหัด + 2HCl (aq) MgCl2(aq) + H2 (g) พบว่า เมื่อปฏิกิริยาใกล้จะสิ้นสุดนั้น อัตราการเกิดก๊าช ไฮโดรเจนจะลดลง ทั้งนี้เพราะเหตุใด ก. ผลิตภัณฑ์รวมตัวกลับไปเป็นสารตั้งต้นมากขึ้น ข. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง ค. อุณหภูมิของผสมจะลดลง เนื่องจากพลังงานถูกใช้ไป ง. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทำาหน้าที่เป็นตัวขัดขวางปฏิกิริยา 2. สำาหรับปฏิกิริยา 2H2O2(aq) 2H2O(1) + O2(g) ซึ่งเกิดขึ้นในระบบปิด อัตราการสลายตัวของ H2O2 (วัดจากปริ มาตราของก๊าซ O2 ทีเกิดขึ้น) เปลี่ยนไปตามเวลาดังรูปใด ่ (ENT’25) ก. ข. ปริมาณ ปริมาณ O2 O2 เวลา เวลา ค. ปริมาณ ง. ปริมาณ O2 O2 เวลา เวลา 3. กราฟในข้อใดที่จะแทนความสัมพันธ์ระหว่าง Y (ความเข้มข้น ของ HI) กับ X (เวลาที่ ปฏิกิริยาดำาเนินไปของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2HI (g) (ENT’26) C Y 1. A B 2. B A D 3. C เวลา 4. D
  • 4. คำาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคำาถามข้อ 4-5 จากผลการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง โลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกได้ผลดังต่อไปนี้ ปริมาตรของก๊าซ เวลา(s) ไฮโดรเจน (cm3) 1 20 2 40 3 70 4 90 5 110 4. อัตราการเกิดของก๊าซไฮโดรเจนที่ปริมาตรระหว่าง 4-5 cm3 มี ค่ากี่ cm3/s 1 1 1 5 ก. 20 ข. 90 ค. 110 ง. 320 1 5. อัตราเฉลี่ยการเกิด H มีค่าเท่ากับ 64 × 22 . 4 × 10 3 mol/s อัตรา การใช้ HCI เป็นกี่ mol/s 1 1 ก. 128 × 22 . 4 × 10 3 ข. 64 × 22 . 4 × 10 3 1 1 ค. 32 × 22 . 4 × 10 3 ง. 16 × 22 .4 × 10 3 6. เมื่อนำา Mg มา 5 กรัม ใส่ลงในสารละลาย HCI 2.5mol/l จำานวน 100 cm3 หลังจากเวลาผ่านไป 50 วินาที ปรากฏว่าเหลือ Mg อยูจำานวนหนึ่ง ส่วนกรดใช้หมดไปพอดี จงคำานวณอัตราการ ่ เกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยเป็น mol/l ก. 0.0025 ข. 0.005 ค. 0.025 ง. 0.05 7. จากสารละลาย Na2S2O3 0.3 mol/l 10 cm3 ทำาปฏิกิริยากับ HCI 0.2 mol/l 10 cm3 ใช้เวลาทังสิ้น 20 วินาที ปฏิกิริยาจึงสิ้น ้
  • 5. สุด จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย เมื่อคิดจากมวลของ S เป็นกรัม/วินาที กำาหนดสมการให้ดังนี้ 2− S2O 3 + 2H+ H2O + SO2 + S ก. 0.0016 ข. 0.0036 ค. 0.0048 ง. 0.0056 8. ก๊าซ NO2 สลายตัวตามสมการ 2NO2 (g) 2NO(g) + O2 (g) 1 1 ก. 128 × 22 . 4 × 10 3 ข. 64 × 22 . 4 × 10 3 1 1 ค. 32 × 22 . 4 × 10 3 ง. 16 × 22 .4 × 10 3 9. จากสมการ 2N2O5(g) 4NO2 (g) + O2(g) การสลายตัวของ N2O5 มีการเปลียนแปลงความเข้มข้นดังนี้ ่ เวลา (s) ความเข้มข้นของ N2O5 (mol/dm3) 0 X 500 3.5 1000 2.5 1500 1.8 2000 1.2 ถ้าอัตราการสลายตังของ N2O5 เป็น 1.9x10-3 mol/dm3.s ข้อ ใดเป็นค่าของ X (mol/dm3) และอัตราการเกิดของ O2 (mol/ dm3.s) ในช่วงเวลา 0 – 500 วินาที (ENT’38) 1. 5.0 , 1.2 x10-3 2. 5.0 , 1.5 x 10-3 3. 6.0 , 2.5 x 10-3 4. 8.8 , 3.5 x 10-3 10. ข้อมูลดังต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคำาถาม (ENT’28) สาร A และ B ทำาปฏิกิริยากันดัง สมการ A(aq) + B(aq) 2C(aq) เมื่อใช้สารละลาย A เข้มข้น 0.2 mol/l จำานวน 3 cm ผสมกับสารละลาย B เข้มข้น 0.2 mol/l 3 จำานวน 3 cm3 แล้วจับเวลาทันทีที่สารละลายผสมกันหลังจาก
  • 6. เวลาผ่านไป 10 วินาที นำาสารละลายไปวิเคราะห์หาจำานวนโมล ของสาร C ทันที ปรากฏว่ามีสาร C เกิดขึ้น 2.3x10-4 mol อัตรา การเกิดนี้มีปฏิกิริยานีมีค่าเท่าใด ้ 1. ระยะทางที่ระดับสารละลายลดลงใน 1 วินาที 2. ความเข้มข้นของสาร C ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยา / เวลา = 0.23 x10-4 mol/l.s 3. ความเข้มข้นของสาร A ทีลดลง เนื่องจากปฏิกิริยา/ ่ เวลา =0.38x10-4 mol/l.s 4. อัตราการลดลงของสาร A ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.19x10-2 mol/l.s เฉลยแบบ ฝึกหัด 1.ข 2.ก 3.ข 4.ก 5.ค 6.ก 7.ก 8.ข 9.ข 10.ง จัดทำาโดย นางสาวผกาพันธุ์ สุกระ เลขที่ 18 นางสาวญาเรศ พรหมดวง เลขที่ 22