SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
฿
“ทุกอย่างรวมอยู่ที่ความประพฤติ
คือฤกษ์ดี ฤกษ์ร้าย โชคดี
โชคร้าย เรื่องเคราะห์กรรม
บาป บุญ อะไรทั้งหมดนี้
ล้วนออกไปจากความประพฤติ
ของมนุษย์ทั้งนั้น”
มีผู้เรียนถามหลวงปู่ ว่า
“ ท่านยังมีโกรธอยู่ไหม”
หลวงปู่ ตอบว่า
“ มี แต่ไม่เอา”
มีคาถามเกี่ยวกับการละกิเลส
“ หลวงปู่ ครับ ทาอย่างไรจึงจะตัด
ความโกรธให้ขาดได้”
หลวงปู่ ตอบว่า
“ ไม่มีใครตัดให้ขาดได้หรอก
มีแต่รู้ทัน เมื่อรู้ทันมันก็ดับไปเอง”
ฌ
“พระพุทธเจ้า พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพาน
ในฌานสมาบัติอะไรที่ไหนหรอก เมื่อ
พระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว
จิตขันธ์หรือนามขันธ์ก็ดับพร้อม
ไม่มีอะไรเหลือ นั่นคือ พระองค์ดับ
เวทนาขันธ์ ในภาวะจิตตื่นหรือ
วิถีจิตอันปรกติของมนุษย์
ครบพร้อมทั้งสติและสัมปชัญญะ
ไม่ถูกภาวะ อื่นใดมาครอบงาอาพราง
ให้หลงใดๆทั้งสิ้น เป็ นภาวะแห่งตนเอง
อย่างบริบูรณ์ ภาวะอันนั้นจะเรียกว่า
มหาสุญญตาหรือจักรวาฬเดิม
หรือเรียกว่าพระนิพพาน อย่างใด
อย่างหนึ่งก็ได้ เราปฏิบัติมาก็เพื่อ
เข้าถึงภาวะอันนั้นเอง ”
“ จิตที่ส่งออกนอก เป็ นสมุหทัย
ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก เป็ นทุกข์
จิตเห็นจิต เป็ นมรรค
ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็ นนิโรธ ”
“ จิตปรุงกิเลส คือ การที่จิต
บังคับให้กาย วาจา ใจ
กระทาสิ่งภายนอกให้มี
ให้เป็ น ให้เลว ให้เกิดวิบากได้
แล้วยึดติดอยู่ว่า
นั่นเป็ นตัว นั่นเป็ นตน ของเรา
ของเขา
กิเลสปรุงจิต คือการที่สิ่ง
ภายนอกเข้ามาทาให้จิตเป็ น
ไปตามอานาจของมัน
แล้วยึดว่ามีตัว มีตนอยู่
สาคัญผิด
จากความเป็ นจริงอยู่ร่าไป”
“ภิกษุเรา ถ้าปลูกความยินดีในเพศ
ภาวะของตนได้แล้ว ก็จะมีแต่ความ
สุข เยือกเย็น ถ้าตัวเองอยู่ในเพศ
ภิกษุ แต่กลับไปยินดีในเพศอื่น
ความทุกข์ก็จะทับถมอยู่ร่าไป
หยุดกระหาย หยุดแสวงหาได้
นั่นคือ ภิกษุภาวะโดยแท้ ความ
เป็ นพระนั้น ยิ่งจน ยิ่งมีความสุข”
“ สิ่งเหล่านั้นไม่จาเป็ นเท่าไรหรอก
เรามีหน้าที่ปฏิบัติกิจวัตรเท่านั้นเอง
บิณฑบาต ฉัน แล้วก็นั่งภาวนา
เดินจงกรม ทาความสะอาดลานวัด
เคร่งครัดตามธรรมวินัย แค่นี้ก็พอ
แล้ว การก่อสร้างอะไรๆมันแล้วแต่
ญาติโยม เขาจะทาหรือไม่ทาก็แล้ว
แต่เขา”
“ การไปหลายสานักหลายอาจารย์
การปฏิบัติจะไม่ได้ผล
เพราะการเดินหลายสานักนี้
คล้ายกับการเริ่มต้นปฏิบัติใหม่ไปเรื่อย
เราก็ไม่ได้หลักธรรมที่แน่นอน
บางทีก็เกิดความลังเล งวยงง
จิตก็ไม่มั่นคง
การปฏิบัติก็เสื่อม ไม่เจริญคืบหน้าต่อไป”
เ
“เรียนอะไรก็ให้ มันรู้อันนั้น เดี๋ยวก็เก่งเองแหละ ที่ใจไม่สงบก็ให้รู้ว่ามันไม่สงบ
เพราะอยากสงบ มันจึงไม่สงบ ขอให้พยายามภาวนาเรื่อยๆไปเถอะ สักวันหนึ่ง
ก็จะได้สงบตามต้องการ”
“การศึกษาธรรมด้วยการอ่านการฟัง สิ่งที่ได้ก็คือ สัญญา(ความจาได้)
การศึกษาธรรมด้วยการลงมือปฏิบัติ สิ่งที่เป็ นผลของการปฏิบัติ คือ ภูมิธรรม”
“การปฏิบัติ ให้มุ่งปฏิบัติเพื่อสารวม
เพื่อความละ
เพื่อคลายความกาหนัดยินดี
เพื่อความดับทุกข์
ไม่ใช่เพื่อเห็นสวรรค์วิมาน
หรือแม้พระนิพพาน
ก็ไม่ต้องตั้งเป้ าหมายเพื่อจะเห็นทั้งนั้น
ให้ปฏิบัติไปเรื่อยๆ
ไม่ต้องอยากเห็นอะไร
เพราะนิพพานมันเป็ นของว่าง
ไม่มีตัวมีตน หาที่ตั้งไม่มี
หาที่เปรียบไม่ได้
ปฏิบัติไปจึงจะรู้เอง”
“ ในทางปฏิบัติที่ว่า ปฏิบัติจิต
ปฏิบัติใจ โดยให้ใจอยู่กับใจนี้
ก็คือให้มีสติกากับใจ
ให้เป็ นสติถาวร
ไม่ใช่เป็ นสติคล้ายๆกับ
หลอดไฟที่จวนจะขาด
เดี๋ยวก็สว่างวาบ
เดี๋ยวก็ดับ
เดี๋ยวก็สว่าง
แต่ให้มันสว่างติดต่อกันไป
ตลอดเวลา
เมื่อสติมันติดต่อกันไปอย่างนี้แล้ว
ใจมันก็มีสติควบคุมตลอดเวลา
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
อยู่กับตัวรู้ตลอดเวลา
ตัวรู้ก็คือสตินั่นเอง
หรือจะเรียกว่าพุทโธก็ได้
พุทโธที่ว่ารู้ ตื่น เบิกบาน
ก็คือตัวสตินั้นแหละ”
ถึง
“การสารวมสาเหนียกในพระวินัยอย่างเคร่งครัด และสมาทานถือธุดงค์นั้น เป็ นปฏิปทา
ที่ดีงามอย่างยิ่ง น่าเลื่อมใส แต่ถ้าเจริญจิตไม่ถึงอธิจิต อธิปัญญาแล้ว ย่อมเสื่อมลง
ได้เสมอ เพราะยังไม่ถึงโลกุตตรภูมิ ที่จริงพระอรหันต์ทั้งหลายท่านไม่ได้รู้อะไรมากมาย
เลย เพียงแต่เจริญจิตให้รู้แจ้งในขันธ์ห้า แทงตลอดในปฏิจจสมุปบาท หยุดการปรุง
แต่ง หยุดการแสวงหา หยุดกิริยาจิต มันก็จบแค่นี้ เหลือแต่บริสุทธิ์ สะอาด สว่าง
มหาสุญตา ว่างมหาศาล”
ส
“ ถึงจิตไม่สงบก็ไม่ควรให้มันออกไปไกล ใช้สติระลึกไปแต่ในกายนี้ ดูให้เห็น
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อสุภสัญญา หาสาระแก่นสารไม่ได้ เมื่อจิตมองเห็น
ชัดแล้ว จิตก็เกิดความสลดสังเวช เกิดนิพพิทา ความหน่าย คลายกาหนัด
ย่อมตัดอุปาทานขันธ์ได้เช่นเดียวกัน”
ซ
“ หลักธรรมที่แท้จริงนั้น คือ จิต ให้กาหนดดูจิต ให้เข้าใจจิตตัวเอง ให้ลึกซึ้ง
เมื่อเข้าใจจิตตัวเองได้ลึกซึ้งแล้ว นั่นแหละได้แล้วซึ่งหลักธรรม”
“ แท้จริงแล้วความทุกข์ร้อนวุ่นวายใจ มักเกิดจากสิ่งภายในใจเราทั้งสิ้น
คือกิเลส ตัณหา อุปาทาน มันก่อขึ้นภายในใจ
จนต้องดิ้นรนอย่างน่าเวทนายิ่ง”
“ เรื่องพิธีกรรมหรือบุญกริยาวัตถุต่างๆทั้งหลาย
ก็ถือว่าเป็ นเรื่องที่ยังให้เกิดกุศลได้อยู่ หากแต่ว่าสาหรับนักปฏิบัติแล้ว
อาจถือได้ว่าเป็ นไปเพื่อกุศลเพียงนิดหน่อยเท่านั้นเอง”
“ เมื่อจิตกระทบเข้ากับอารมณ์ภายนอกอย่างไร ก็ให้หยุดอยู่แค่นั้น อย่าไปทะเลาะ
วิวาทโต้แย้ง อย่าไปเอออวยเห็นดีเห็นงาม ให้จิตได้โอกาสก่อรูปก่อร่างเป็ นตุเป็ นตะ
เป็ นเรื่องเป็ นราวยืดยาวออกไป อย่าไปวิพากษ์วิจารณ์ต่อไป อย่าไปใส่ใจอีกต่อไป
พอกันเพียงรู้อารมณ์เท่านี้เอง หยุดกันเพียงนี้”
“ เมื่อตาเห็นรูปแล้ว รู้ว่าสวยงาม
หรือน่ารังเกียจอย่างไรแล้ว
ก็หยุดเพียงเท่านี้
เมื่อหูได้ยินเสียง รู้ว่าไพเราะ
หรือน่าราคาญอย่างไรแล้ว
ก็หยุดเพียงเท่านี้
เมื่อลิ้นได้ลิ้มรส รู้ว่าอร่อย
หรือไม่อร่อย
เปรี้ยวหวานมันเค็มอย่างไรแล้ว
ก็หยุดเพียงเท่านี้
เมื่อจมูกได้กลิ่น
หอมหรือเหม็นอย่างไรแล้ว
ก็หยุดเพียงเท่านี้
เมื่อกายสัมผัสโผฏฐ ัพพะ
รู้ว่าอ่อนแข็งเป็ นอย่างไรแล้ว
ก็หยุดเพียงเท่านี้”
คาถามจากแพทย์และนางพยาบาล มีว่า “ มีวิธีใดบ้างที่จะปฏิบัติได้ง่ายๆ
หรือโดยย่อที่สุด” หลวงปู่ ตอบว่า
“ มีเวลาเมื่อไร ให้ปฏิบัติเมื่อนั้น การฝึกจิต การพิจารณาจิต เป็ นวิธีลัดที่สุด”
“ คิดเท่าไรๆก็ไม่รู้
ต่อเมื่อหยุดคิดได้จึงรู้
แต่ต้องอาศัยความคิดนั่นแหละจึงรู้”
เกี่ยวกับนิมิต
“ ที่เห็นนั้น เขาเห็นจริง
แต่สิ่งที่ถูกเห็น ไม่จริง”
“ เวทนากับร่างกายนั้นมีอยู่ตามธรรมชาติของมัน แต่ไม่ได้เสวยเวทนานั้นเลย”
“ การฝึกจิต การพิจารณาจิต เป็ นวิธีลัดที่สุด”
มีผู้เรียนถามเรื่องการไว้ทุกข์ หลวงปู่ ตอบว่า
“ ทุกข์ต้องกาหนดรู้ เมื่อรู้แล้วให้ละเสีย ไปไว้มันทาไม “
“ ภิกษุเมื่อจะบริโภคปัจจัยสี่
ต้องพิจารณาเสียก่อน
ครั้นเมื่อพิจารณาแล้ว
เห็นว่าอาหารที่ตั้งอยู่เฉพาะหน้านี้
แม้จะมีผักบ้าง เนื้อบ้าง ปลาบ้าง ข้าวสุกบ้าง
แต่ก็เป็ นของบริสุทธิ์โดยส่วนสามคือ
ไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน
และเขาไม่ได้ฆ่าเพื่อเจาะจงเรา
และเราก็แสวงหามาโดยชอบธรรมแล้ว
ญาติโยมเขาก็ถวายด้วยศรัทธาเลื่อมใสแล้ว
ก็พึงบริโภคอาหารนั้นไป
ครูบาอาจารย์เราท่านก็ปฏิบัติอย่างนี้
มาแล้วเหมือนกัน”
“ อย่าปล่อยให้จิตปรุงแต่งมากนัก
ข้อสาคัญให้รู้จัก..จิต..ของเราเท่านั้นเอง
เพราะว่าจิตคือ “ตัวหลักธรรม”
นอกจากจิตแล้ว ไม่มีหลักธรรมใดๆเลย
ภาวนามากๆแล้วจะรู้ถึงความเป็ นจริง
เท่านั้นเอง..ไม่มีอะไรมากมาย..มีเท่านั้น”
“ จิตที่ส่งออกนอก เป็ นสมุทัย
ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก เป็ นทุกข์
จิตเห็นจิต เป็ นมรรค
ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็ นนิโรธ”
“ อย่าให้จิตแล่นไปสู่
อารมณ์ภายนอก
ถ้าเผลอ
เมื่อรู้ตัวให้รีบดึงกลับมา
อย่าปล่อยให้มัน
รู้อารมณ์ดีหรือชั่ว
สุขหรือทุกข์
ไม่คล้อยตาม
และไม่หักหาญ”
เมื่อไฟไหม้จังหวัดสุรินทร์ครั้งใหญ่
ผลคือความสูญเสียสิ้นเนื้อประดาตัว
ถึงขั้นเสียสติไปก็มีหลายราย บางคน
มาลาเลิกให้หลวงปู่ ฟังว่า อุตส่าห์ทา
บุญเข้าวัด ปฏิบัติธรรมมาตั้งแต่ปู่ ย่า
ตายาย ทาไมบุญกุศลไม่ช่วย ทาไม
ธรรมะจึงไม่ช่วยคุ้มครอง ไฟไหม้
บ้านวอดวายหมด แล้วเขาเหล่านั้นก็
เลิกเข้าวัดทาบุญไปหลายราย เพราะ
ธรรมะไม่ช่วยให้พ้นจากไฟไหม้บ้าน
หลวงปู่ ว่า
“ ไฟมันทาตามหน้าที่ของมัน
ธรรมะไม่ได้ช่วยใครในลักษณะนั้น
หมายความว่า ความอันตรธาน ความวิบัติ
ความเสื่อมคลาย ความพลัดพรากจากกัน
สิ่งเหล่านี้ มันมีประจาโลกอยู่แล้ว
ทีนี้ผู้มีธรรมะ ผู้ปฏิบัติธรรมะ
เมื่อประสบกับภาวะเช่นนั้นแล้ว
จะวางใจอย่างไรจึงไม่เป็ นทุกข์อย่างนี้ต่างหาก
ไม่ใช่ธรรมะช่วยไม่ให้แก่ ไม่ให้ตาย
ไม่ให้หิว ไม่ให้ไฟไหม้ ไม่ใช่อย่างนั้น”

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo larMI
 
Luangpoo wan
Luangpoo wanLuangpoo wan
Luangpoo wanMI
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1MI
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
Luangpor INTAWAI8
Luangpor INTAWAI8Luangpor INTAWAI8
Luangpor INTAWAI8MI
 
Luangpoo fun
Luangpoo funLuangpoo fun
Luangpoo funMI
 
ตามรอยบูรพาจารย์8
ตามรอยบูรพาจารย์8ตามรอยบูรพาจารย์8
ตามรอยบูรพาจารย์8MI
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโทคำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโทMI
 
พระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรมพระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรมWachiraporn Kamnak
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรมaon04937
 

Mais procurados (12)

Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
Luangpoo wan
Luangpoo wanLuangpoo wan
Luangpoo wan
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
คำนำทำ 4
คำนำทำ 4คำนำทำ 4
คำนำทำ 4
 
Luangpor INTAWAI8
Luangpor INTAWAI8Luangpor INTAWAI8
Luangpor INTAWAI8
 
Luangpoo fun
Luangpoo funLuangpoo fun
Luangpoo fun
 
ตามรอยบูรพาจารย์8
ตามรอยบูรพาจารย์8ตามรอยบูรพาจารย์8
ตามรอยบูรพาจารย์8
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโทคำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
 
พระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรมพระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรม
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรม
 

Mais de MI

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตMI
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญMI
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำMI
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์MI
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙MI
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarmMI
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11MI
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotesMI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113MI
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112MI
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1MI
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3MI
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1MI
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19MI
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18MI
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17MI
 
Luangpor intawai16
Luangpor intawai16Luangpor intawai16
Luangpor intawai16MI
 

Mais de MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17
 
Luangpor intawai16
Luangpor intawai16Luangpor intawai16
Luangpor intawai16
 

ธรรมะจากหลวงปู่ดูลย์