SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Baixar para ler offline
สร้างโมเดลสามมิติพร้อมถอดปริมาณวัสดุและคิดราคาแบบ Real Time
ด้วย SketchUp และ Profile Builder
01
คํานํา
การสร้างโมเดลสามมิติด้วยโปรแกรม SketchUp แม้จะได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย แต่คนส่วนใหญ่
ยังไม่ทราบว่าโปรแรกม SketchUp สามารถนํามาช่วยงานถอดปริมาณวัสดุและคิดราคางานก่อสร้างได้อย่าง
แม่นยํา บนพืนฐานทีเรียบง่าย สนุก และมีประสิทธิภาพทีสูง โดยการช่วยเหลือของ Extension หรือ Plugin
ทีใช้ง่ายและราคาไม่แพง ทีมีชือว่า Profile Builder 2
ดังนัน เพือทีจะเผยแพร่ความรู้ใหม่ๆ ในการสร้างโมเดลสามมิติไปพร้อมกับการถอดปริมาณวัสดุและคิดราคางาน
ก่อสร้างแบบ Real Time ทีมงานวิชาการของบริษัท บ้านสเกตช์อัพ จํากัด ทีมีประสบการณ์การใช้งานโปรแกรม
SketchUp ในงานก่อสร้างแบบ Design-Build มามากกว่า ปี จึงได้จัดทําหนังสือคู่มือฉบับนีขึนมาเพือให้คนไทย
ทุกคนทีอยู่ในวงการก่อสร้าง ได้เรียนรู้วิธีการและเทคนิคในการทํางานรูปแบบใหม่นี
เรามันใจมากๆ ว่าเมือผู้อ่านได้เรียนรู้และเข้าใจหลักการทังหมดทีเราได้สอนไว้ในหนังสือเล่มนีแล้ว จะสามารถ
ทํางานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยความสนุกและไม่น่าเบืออีกต่อไป
ขอบคุณครับ
สุธิพงษ์ สงกรานต์
02
ทําความรู้จักกับผู้แต่งหนังสือกันหน่อยครับ
ในช่วงเด็ก ผมใช้ชีวิตอยู่ทีอําเภอปัว จังหวัดน่านซึงในตอนนันถือว่าเป็นจังหวัดทีคนมีรายได้ตําติดอันดับประเทศ
คุณพ่อของผมสอนผมอยู่เสมอว่าถ้าเราเกิดมาแล้วก็ต้องช่วยเหลือผู้อืนตามแนวทางพ่อของแผ่นดินผมจึงเกิดความ
ฝันแรกของตัวเองขึนมา ความฝันทีอยากจะมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยให้มีความเจริญมากขึน
ยิงกว่านันเนืองจากผมเป็นคนขีเกียจโดยกําเนิดและชอบ
เล่นเกมส์มากๆ มากเสียจนถือว่าเป็นเด็กติดเกมส์เลยทีเดียว
ผมเลยมีความฝันทีสอง คือผมอยากจะสร้างเกมส์สามมิติที
เราสามารถจะเดินไปคุยกับใครก็ได้อย่างสนุกสนาน เมือผม
โตขึนและทํางานในวงการก่อสร้าง ผมก็พบกับโปรแกรม
SketchUp โดยบังเอิญ มันช่วยให้ผมทํางานวิศวกรรมและ
ก่อสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยิงกว่านันมันยังสนุกเหมือน
เล่นเกมส์อีกด้วยครับ
วันนีผมได้เริมต้นเดินหน้าตามความฝันทังสองอย่างมา
เกือบ ปีแล้วครับ ความฝันทีผมอยากจะช่วยคนในวงการ
ก่อสร้าง โดยการเปลียนงานออกแบบและก่อสร้างทียุ่งยาก
ซับซ้อนให้กลายเป็นสิงทีง่ายและสนุก แต่ยังคงความเป็น
มืออาชีพและการทํางานทีมีประสิทธิภาพสูงไว้ โดยผมเรียก
กระบวนการทํางานแบบใหม่นีว่า EASY BIM หรือ EASY
BULDING INFORMATION MODELING
เพือส่งผ่านความรู้การทํางานแบบใหม่ทีผมได้ค้นพบให้กับประเทศไทย ผมจึงสร้างแฟนเพจใน Facebook ทีชือว่า
บ้าน Sketchup ขึนมา (ปัจจุบันมีสมาชิกแฟนเพจมากกว่า , คน) และเวปไซด์สอน SketchUp ฟรีทีชือว่า
www.3DeeD.com (ปัจจุบันเป็นเวปไซด์สอน SketchUp อันดับหนึงของไทยบน Google) โดยหวังว่าความรู้
กระบวนการ และวิธีการใหม่ๆ นีจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยืนแก่วงการก่อสร้างของประเทศไทยต่อไป
ขอบคุณครับ
สุธิพงษ์ สงกรานต์
นักวิชาการอิสระเกียวกับ EASY BIM
03
สารบัญ
บทที เรียนรู้พืนฐานคําสัง Quantifier 04
บทที การสร้าง Report ปริมาตรคอนกรีต, พืนทีของผนัง+พืน และจํานวนประตูและหน้าต่าง 11
บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report ปริมาตร (Volume) 18
บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report พืนที (Area) 25
บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report ประตูและหน้าต่าง หรือชินงานทีนับเป็นชิน 33
บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report งานไม้แบบ (Formwork) และเหล็กเสริมคอนกรีต 37
บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report ความยาวและชินส่วนอืนๆ 41
บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report สําหรับค่าใช้จ่ายอืนๆ ทีไม่ได้อยู่ในโมเดล 49
บทที สรุปการคิดปริมาณวัสดุและราคาด้วยคําสัง Quantifier 52
บทที พืนฐานการสร้าง Profile Member 57
บทที การโมเดลบ้านสามมิติด้วย Profile Builder 63
บทที การใช้เครืองมือปรับแก้ Profile Member 84
บทที การใช้เครืองมือ Extend Tool 105
บทที การใช้เครืองมือ Trim to Solid 110
บทที งานคอนกรีตเสริมเหล็กและการใช้เครืองมือ Edit Path of Active Profile Member 116
บทที Profile Member Path Inferencing (PMPI) และ Assign Mark Numbers 126
บทที Build Along Patch และ Smart Path Select 129
บทที เครืองมือในการช่วยเพิมประสิทธิภาพในการทํางาน 134
บทที Profile Assembler 138
04
เรียนรู้พืนฐานคําสัง Quantifier
บทที 1
05
1) เปิดโปรแกรม SketchUp จากนันคลิกที File
2) จากนันคลิกทีคําสัง Import เพือนําไฟล์สามมมิติทีใช้
ในการถอดปริมาณวัสดุและคิดราคาเข้ามา
3) เลือกไฟล์ SketchUp
4) เปิดไฟล์ SketchUp ทีชือว่า QUANTIFIER
ซึงอยู่ในโฟเดอร์ทีเราแจกไว้ในแผ่น CD (แนะนํา
ให้ Copy มาวางไว้ในคอมพิวเตอร์ของเราก่อน)
5) เมือเลือกได้แล้ว คลิก Import
6) เมือทําถูกต้องจะเห็นโมเดลสามิติ
ขึนมาดังรูป
7) คลิกขวาทีโมเดลจากนันคลิก
ที Explode เพือแยกชินส่วนของ
บ้านทังหมดออกจากกัน
8) ไปทีคําสัง Layer ใน Default Tray จะเห็น Layer
อยู่หลายตัว ซึงแต่ละ Layer ทําหน้าทีในการแบ่งหมวดงาน
ต่างๆ ของบ้านออกจากกัน
โดยปกติเราจะใช้ Layer แบ่งหมวดงานต่างๆ ของโมเดลแยก
ออกจากัน ซึงเป็นพืนฐานทัวไปของการใช้งานโปรแกรม SketchUp
06
10) โมเดลสามมิติจะเหลือแต่ส่วน
ทีเป็นงานโครงสร้างคอนกรีต
11) เราสามารถตรวจสอบชือของชินงานทังหมด
ได้อย่างรวดเร็วโดยการคลิกทีเครืองมือ Text
จากนันคลิกทีไปชินส่วนทีต้องการทราบชือ
12) ถ้าทําถูกต้องเราจะเห็นชือของ
ชินงานต่างๆ แสดงขึนมา
14) ภายในหน้าต่าง Entity Info เราจะเห็นชือของ Layer
และชือของชินงาน (Instance) รวมถึงปริมาตรของชินงานนันด้วย
โดยในตัวอย่างนี ชินงานชือว่า F2 อยู่ใน Layer คอนกรีต ksc
และมีปริมาตรทังหมดเท่ากับ . ลบ.ม.
9) ปิด Layer ทุกตัวให้หมดยกเว้น Layer ทีชือว่า คอนกรีต ksc
(Layer 0 ไม่สามารถปิดได้)
13) คลิกขวา ครังทีฐานรากตัวใด
ก็ได้จากนันคลิกที Entity Info
07
15) คลิกทีเครืองมือ Quanitfier
16) เมือทําถูกต้องเราจะเห็นหน้าต่างทีชือว่า PB Quantifier
เปิดขึนมาดังรูป ในตอนนีต้องมันใจว่าเราได้คลิกเลือก
ฐานราก F2 อยู่
17) สังเกตค่า Attribute ที PB Quantifier อ่านได้
18) สังเกตค่าความกว้าง ความยาว ความสูง
และพืนทีในส่วนต่างๆ ของ F2
19) จากนันลองเปรียบเทียบค่าทีเราเห็น
กับค่าทีอ่านได้จากตารางของ PB Quantifier
Length (m) คือ ค่าความยาวทีวัดจากส่วนทียาวทีสุดของชินงาน ในทีนีคือ . เมตร
Area (m2) คือ ค่าพืนทีผิวของด้านทีมีพืนทีมากทีสุดของชินงาน ในทีนีคือ . ตร.ม.
Volume (m3) คือ ค่าปริมาตรทังหมดของชินงาน ในทีนีคือ . ลบ.ม.
Weight (kg) คือ นําหนักทังหมดของชินงาน ในทีนียังอ่านค่าไม่ได้ เพราะยังไม่กําหนดนําหนักต่อหน่วย
Surface Area (m2) คือ พืนทีผิวทังหมดของชินงาน โดยในทีนีคือ . ตร.ม.
สรุปค่า Attribute ทีสามารถอ่านได้จาก PB Quantifier
08
หลักการพืนฐานในการอ่านค่า Area
Area จะอ่านพืนทีผิวของด้านทีมีขอบยาวทีสุดและจะคิดเต็มพืนทีเสมอแม้ว่าในด้านนันจะมีระดับของผิวไม่เท่ากัน
อ่านค่า Area ได้เท่ากับ . ตร.ม. อ่านค่า Area ได้เท่ากับ . ตร.ม.
อ่าน Area ได้เท่ากัน
อ่าน Area ได้เท่ากัน
2. Area จะไม่รวมพืนทีกลวง หรือช่องวางทีหายไป
ค่าพืนทีผิวทังหมด ค่าพืนทีผิวทังหมด
ค่าพืนทีผิวทังหมด ค่าพืนทีผิวทังหมด
09
ในกรณีนี Area = 0.81 m2 โดยสังเกตว่าจะอ่านค่าในด้านทีมีค่าความกว้าง x ความยาวทีมากทีสุด
ดังนัน ถ้าต้องการนํา Profile Builder ไปใช้ในการหาพืนทีผนัง จะต้องแยกผนังออกเป็นกล่องสีเหลียมเล็กๆ
หลายๆ ชินมาประกอบกันจากนันเลือกชินส่วนทังหมดรวมกันแล้วคลิก Quantifier
ในกรณีนี Area = 12.3 m2 โดยสังเกตว่าจะอ่านค่าในด้านทีมีค่าความกว้าง x ความยาวทีมากทีสุดเช่นกัน
10
หลักการพืนฐานในการอ่านค่าความยาว (Length)
ความยาวของชินงานจะอ่านจากระยะทางจากมุมของสองด้านทีห่างกันทีสุดเสมอ
ระวังอย่าใช้ Profile Builder ไปวัดค่าความยาวของท่อหรือสายไฟทีโค้งงอ
อ่านค่าความยาวเท่ากับความยาวแผ่นไม้
อ่านค่า Area เท่ากับ Area ของแผ่นไม้
ค่าความยาวทีไม่ตรงกับค่าความยาวของสายไฟ
อ่านค่า Area เท่ากับ Area ของแผ่นไม้
ท่อยาว เมตร
11
การสร้าง Report ปริมาตรคอนกรีต, พืนทีของผนัง+พืน และจํานวนประตูและหน้าต่าง
บทที 2
12
1) เลือกชินงานทีอยู่ใน Layer คอนกรีต ksc ทังหมด
2) คลิก Quantifier
3) จากนันเลือก Component Report
4) คลิกเครืองหมายถูกเพือสร้าง Report
5) เมือทําถูกต้องเราจะเห็นตาราง Report
ทีแสดงค่าต่างๆ จํานวนมากขึนมา โดย
ส่วนใหญ่เป็นค่าทีเราไม่ต้องการทีจะรู้
ดังนันเราจําเป็นทีจะต้องเลือกค่าทีจะต้อง
แสดงใน Component Report ก่อนเพือ
ให้ตารางดูง่ายและใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึน
6) คลิกปิดตารางทีสร้างขึนมา
13
7) คลิก Report Setup
8) คลิกเครืองหมายบวกเพือเพิม
Template ใหม่สําหรับใช้ในการ
Report
9) พิมพ์ชือ Template ใหม่ว่า ปริมาตรคอนกรีต
10) คลิก Ok
11) คลิกที Fields เพือเลือกค่าทีต้องการ
Report ซึงในทีนีก็คือปริมาตรคอนกรีต
12) คลิก Uncheck all เพือ
ยกเลิกค่าทีเลือกไว้ทังหมดก่อน
13) คลิกเครืองหมายถูกหน้าหัวข้อดังต่อไปนี
13.1 Name
13.2 Count
13.3 Volume
13.4 Total Volume
14) คลิก OK
14
15) คลิก Report Setup อีกครัง
16) Component Report ทีแสดงปริมาตรคอนกรีตทังหมด
ดูคําอธิบาย
ส่งค่าทังหมดไปที Excel (ยังไม่รองรับภาษาไทย)
คําสังสําหรับการพิมพ์ Report
คําสังสําหรับการ Copy ข้อมูลทีรายงานทังหมด
เลือกจํานวนแถวของข้อมูลทีต้องการแสดง
คําสัง Search สําหรับการเลือกดูข้อมูล
บางอย่างทีต้องการ
คลิกเพือเรียงลําดับก่อนหลัง
ทําได้ทุกๆ Column ร่วมกับคําสัง Shift
15
17) ปิด Layer อืนๆ ให้หมดให้เหลือแต่
Layer ทีชือว่า ผนังก่ออิฐฉาบปูน และแผ่นพืนสําเร็จ
19) คลิกเครืองหมายบวกเพือเพิม Template ใหม่
22) คลิกที Fields เพือเลือกข้อมูลใหม่
23) คลิก Uncheck all เพือยกเลิกข้อมูลเดิม
24) คลิกเครืองหมายถูกหน้าคําว่า Name, Count
, Area และ Total Area รวม ค่า
25) เสร็จแล้วกด OK
18) คลิก Report Setup
21) จากนันคลิก OK
20) ตังชือ Template ใหม่ว่า พืนที
16
26) คลิก Create Report อีกครัง
27) Component Report แสดงพืนทีผนัง, แผ่นพืนสําเร็จ
และงานเทพืนคอนกรีตรอบอาคารทังหมด
28) ปิด Layer อืนๆ ให้หมด เหลือแต่
Layer ทีชือว่า ประตูและหน้าต่าง
29) คลิกเลือกประตูใดๆ ก็ได้ ตัว
30) คลิก Object
17
34) คลิกที Fields เพือเลือกข้อมูล
ทีต้องการสร้าง Report
35) คลิก Uncheck all เพือลบข้อมูล
เดิมทีถูกเลือกไว้ทังหมด
36) คลิกเครืองหมายถูกหน้าคําว่า
Component Name และ Count
38) คลิก Report Setup อีกครัง
33) คลิก OK
31) คลิกเครืองหมายบวกเพือสร้าง
Template ใหม่
32) ตังชือ Template ใหม่ว่า ประตูและหน้าต่าง
37) คลิก OK
39) Component Report แสดงชือและจํานวน
ของหน้าต่างและประตูทังหมด
18
การคิดราคาด้วย Cost Detail Report
ปริมาตร (Volume)
บทที
19
2) ตรวจสอบ Layer ทีติดมา
กับไฟล์ตัวอย่างโดยจะเห็นว่า
มีการแบ่งแยกหมวดงานบางส่วนไว้
3) ปิด Layer ทังหมดยกเว้น
Layer คอนกรีต ksc
4) ถ้าทําถูกต้องโมเดลบางส่วนจะหายไป
เหลือไว้แต่ชินส่วนทีอยู่ใน Layer คอนกรีต
240 ksc เท่านันดังภาพ
5) คลิกทีเครืองมือ Quanitfier
7) คลิกบริเวณนีเพือเลือก Layer คอนกรีต ksc
8) คลิกเลือก Layer คอนกรีต ksc
1) เปิดไฟล์ทีชือว่า QUANTIFIER ทีเราแจกไว้ขึนมา
6) จากนันคลิกที Layer เพือกําหนด
ราคาและข้อมูลอืนๆ ให้กับชินส่วนทังหมด
ทีอยู่ใน Layer คอนกรีต ksc
20
9) พิมพ์ค่าความหนาแน่นของเหล็ก = , กก./ลบ.ม. 10) คลิก Add cost item
เพือกําหนดข้อมูลเพิมเติม
) ตังชือ Code ว่า หมวดงาน-คอนกรีต
โดยชือในช่องนีจะเป็นหัวข้อทีแสดงใน
Cost detail report
12) ช่อง Description จะแสดงรายละเอียด
เหมือนกับชือของ Layer โดยในทีนียังไม่ต้อง
ทําการเปลียนแปลงใดๆ
13) ถ้าต้องการให้ชินงานทีอยู่ใน Layer
คอนกรีต ksc แสดงค่าออกมาในหน่วย
ลบ.ม. ให้เลือกหน่วย m3
14) กําหนดค่า
ตัวคูณเพิมเท่ากับ
15) พิมพ์หน่วย ลบ.ม.
16) พิมพ์ราคาคอนกรีต
เท่ากับ , บาท/ลบ.ม.
) กําหนดค่าสูญเสียระหว่างทํางาน % ***สําหรับเพิมคําอธิบาย
18) กําหนดค่าภาษีเท่ากับ .
19) คลิก Add cost item เพือกําหนด
ค่าแรงสําหรับงานเทคอนกรีตเพิมเติม
20) ถ้าทําถูกต้องจะได้แถวใหม่ขึนมาดังภาพ
21) Code = หมวดงาน-คอนกรีต, Description = ค่าแรงเทคอนกรีต, Input = m3, Factor = 1
Unit = ลบ.ม., Waste% = 10% และ Tag% = 0.0
22) คลิกบริเวณคําพูดเพือเพิมเติมคําอธิบายหรือหมายเหตุ
***สําหรับลบข้อมูล
21
23) พิมพ์คําว่า รับผิดชอบโดย SKH
24) คลิก OK
25) คลิก OK ทีด้านล่างสุดอีกครัง
ก็เป็นอันแล้วเสร็จสําหรับการกําหนดข้อมูล
26) คลิก Report setup
31) จากนันเลือกชินงานทีอยู่ใน
Layer คอนกรีต ksc ทังหมด
27) เลือก Active Template ทีชือ
ว่า ปริมาตรคอนกรีต (ทําไว้ในบททีแล้ว)
28) คลิก Fields เพือเพิมค่า
Attribute ราคาเข้าไปเพิมเติม
29) คลิกเครืองหมายถูกด้านหน้าของ Total Cost
30) คลิก OK
22
32) คลิกทีเครืองมือ Quantifier
33) ถ้าทําถูกต้องเราจะเห็นราคา (Cost) ของชินงาน
ทีอยู่ใน Layer คอนกรีตทังหมด
35) แก้ Currency Symbol ให้กลายเป็น บาท
36) แก้ Currency Precision ให้กลายเป็น
เพือให้รายงานแสดงค่าเงินออกมาเป็นจํานวนเต็ม
37) คลิก OK
34) คลิก Report setup เพือ
ทําการปรับแก้สกุลของเงินจาก
USD ให้กลายเป็น บาท
38) ถ้าทําถูกต้อง เราจะเห็น
ราคางานคอนกรีตทังหมด
23
39) คลิกเลือกที Component Report
40) จากนันเลือก Create Report
41) สังเกตค่า Total Cost
จะแสดงผลขึนมาในตาราง
โดยแยกราคาตามชนิดของ
ชินส่วนทังหมด
ใช้สําหรับค้นหาข้อมูลทีต้องการ
42) จากนันเลือก Report อีกครัง แต่คราวนีเลือก
Cost Detail Report
43) คลิก Create Report
24
45) เราสามารถคลิกดูรายการคํานวณของ
แต่ละชินงานได้โดยการคลิกทีคําสัง Cost Inspector
46) จากนันคลิกทีเสา ตัว
47) ถ้าทําถูกต้องเราจะได้ตาราง
แสดงรายการคํานวณขึนมาดังรูป
ชินส่วนใดก็ตามทียังไม่มีการบันทึกข้อมูลราคา จะกลายเป็นสีแดง ซึงจะมองเห็นชัดเจน ดังนันทุกๆ ครังที
จะทําการ Report ควรจะต้องทําการตรวจสอบข้อมูลทังหมดผ่านคําสัง Cost Inspector
44) เมือทําถูกต้องเราจะเห็นรายงานวัสดุและราคาทัง
หมดแบ่งตามหมวดงานหรือ Code ทีเรากําหนดไว้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
Kru ChaTree
 
การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcad
guest0ca794
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
พัน พัน
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
Piyaboon Nilkaew
 

Mais procurados (20)

หนังสือคู่มือ SketchUp เล่ม 1
หนังสือคู่มือ SketchUp เล่ม 1หนังสือคู่มือ SketchUp เล่ม 1
หนังสือคู่มือ SketchUp เล่ม 1
 
SketchUp กับงานไฟฟ้า
SketchUp กับงานไฟฟ้าSketchUp กับงานไฟฟ้า
SketchUp กับงานไฟฟ้า
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUpคู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
 
Slide sketchup
Slide sketchupSlide sketchup
Slide sketchup
 
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยการพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
 
การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcad
 
GIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
GIS : การสร้าง Label และการทำ AnnotationGIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
GIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
 
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 20151.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
บทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintบทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paint
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 

Semelhante a ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะเรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
Tsheej Thoj
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
Kriangx Ch
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
Aungkana Na Na
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Aeew Autaporn
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
Teraphat Aroonpairoj
 
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressการนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
Teemtaro Chaiwongkhot
 

Semelhante a ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย (20)

Sketch up 8
Sketch up 8 Sketch up 8
Sketch up 8
 
DIA - Diagram
DIA - DiagramDIA - Diagram
DIA - Diagram
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะเรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 
Docflash8
Docflash8Docflash8
Docflash8
 
Handbook flash8
Handbook flash8Handbook flash8
Handbook flash8
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
 
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressการนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
 

Mais de SKETCHUP HOME

Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUpDesign+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
SKETCHUP HOME
 
PIECE BASED ASSEMBLY MODELING
PIECE BASED ASSEMBLY MODELINGPIECE BASED ASSEMBLY MODELING
PIECE BASED ASSEMBLY MODELING
SKETCHUP HOME
 
3 d sketchup version 03
3 d sketchup version 033 d sketchup version 03
3 d sketchup version 03
SKETCHUP HOME
 
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIMกระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
SKETCHUP HOME
 
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
SKETCHUP HOME
 
กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup
กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup
กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup
SKETCHUP HOME
 

Mais de SKETCHUP HOME (12)

Fm model by SketchUp
Fm model by SketchUpFm model by SketchUp
Fm model by SketchUp
 
Profile builder 2.1 (คู่มือการใช้งาน)
Profile builder 2.1 (คู่มือการใช้งาน)Profile builder 2.1 (คู่มือการใช้งาน)
Profile builder 2.1 (คู่มือการใช้งาน)
 
การทำงานแบบใหม่ที่เรียกว่า DBO หรือ DESIGN-BUILD-OPERATE
การทำงานแบบใหม่ที่เรียกว่า DBO หรือ DESIGN-BUILD-OPERATEการทำงานแบบใหม่ที่เรียกว่า DBO หรือ DESIGN-BUILD-OPERATE
การทำงานแบบใหม่ที่เรียกว่า DBO หรือ DESIGN-BUILD-OPERATE
 
3SKENG FOR ENGINEERING
3SKENG FOR ENGINEERING3SKENG FOR ENGINEERING
3SKENG FOR ENGINEERING
 
Sketchup for construction
Sketchup for constructionSketchup for construction
Sketchup for construction
 
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUpDesign+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
 
PIECE BASED ASSEMBLY MODELING
PIECE BASED ASSEMBLY MODELINGPIECE BASED ASSEMBLY MODELING
PIECE BASED ASSEMBLY MODELING
 
3 d sketchup version 03
3 d sketchup version 033 d sketchup version 03
3 d sketchup version 03
 
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIMกระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
 
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
 
กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup
กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup
กระบวนการทำงานแบบ PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING ด้วยโปรแกรม Sketchup
 
PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING
PIECE-BASED ASSEMBLY MODELINGPIECE-BASED ASSEMBLY MODELING
PIECE-BASED ASSEMBLY MODELING
 

ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย

  • 2. 01 คํานํา การสร้างโมเดลสามมิติด้วยโปรแกรม SketchUp แม้จะได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย แต่คนส่วนใหญ่ ยังไม่ทราบว่าโปรแรกม SketchUp สามารถนํามาช่วยงานถอดปริมาณวัสดุและคิดราคางานก่อสร้างได้อย่าง แม่นยํา บนพืนฐานทีเรียบง่าย สนุก และมีประสิทธิภาพทีสูง โดยการช่วยเหลือของ Extension หรือ Plugin ทีใช้ง่ายและราคาไม่แพง ทีมีชือว่า Profile Builder 2 ดังนัน เพือทีจะเผยแพร่ความรู้ใหม่ๆ ในการสร้างโมเดลสามมิติไปพร้อมกับการถอดปริมาณวัสดุและคิดราคางาน ก่อสร้างแบบ Real Time ทีมงานวิชาการของบริษัท บ้านสเกตช์อัพ จํากัด ทีมีประสบการณ์การใช้งานโปรแกรม SketchUp ในงานก่อสร้างแบบ Design-Build มามากกว่า ปี จึงได้จัดทําหนังสือคู่มือฉบับนีขึนมาเพือให้คนไทย ทุกคนทีอยู่ในวงการก่อสร้าง ได้เรียนรู้วิธีการและเทคนิคในการทํางานรูปแบบใหม่นี เรามันใจมากๆ ว่าเมือผู้อ่านได้เรียนรู้และเข้าใจหลักการทังหมดทีเราได้สอนไว้ในหนังสือเล่มนีแล้ว จะสามารถ ทํางานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยความสนุกและไม่น่าเบืออีกต่อไป ขอบคุณครับ สุธิพงษ์ สงกรานต์
  • 3. 02 ทําความรู้จักกับผู้แต่งหนังสือกันหน่อยครับ ในช่วงเด็ก ผมใช้ชีวิตอยู่ทีอําเภอปัว จังหวัดน่านซึงในตอนนันถือว่าเป็นจังหวัดทีคนมีรายได้ตําติดอันดับประเทศ คุณพ่อของผมสอนผมอยู่เสมอว่าถ้าเราเกิดมาแล้วก็ต้องช่วยเหลือผู้อืนตามแนวทางพ่อของแผ่นดินผมจึงเกิดความ ฝันแรกของตัวเองขึนมา ความฝันทีอยากจะมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยให้มีความเจริญมากขึน ยิงกว่านันเนืองจากผมเป็นคนขีเกียจโดยกําเนิดและชอบ เล่นเกมส์มากๆ มากเสียจนถือว่าเป็นเด็กติดเกมส์เลยทีเดียว ผมเลยมีความฝันทีสอง คือผมอยากจะสร้างเกมส์สามมิติที เราสามารถจะเดินไปคุยกับใครก็ได้อย่างสนุกสนาน เมือผม โตขึนและทํางานในวงการก่อสร้าง ผมก็พบกับโปรแกรม SketchUp โดยบังเอิญ มันช่วยให้ผมทํางานวิศวกรรมและ ก่อสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยิงกว่านันมันยังสนุกเหมือน เล่นเกมส์อีกด้วยครับ วันนีผมได้เริมต้นเดินหน้าตามความฝันทังสองอย่างมา เกือบ ปีแล้วครับ ความฝันทีผมอยากจะช่วยคนในวงการ ก่อสร้าง โดยการเปลียนงานออกแบบและก่อสร้างทียุ่งยาก ซับซ้อนให้กลายเป็นสิงทีง่ายและสนุก แต่ยังคงความเป็น มืออาชีพและการทํางานทีมีประสิทธิภาพสูงไว้ โดยผมเรียก กระบวนการทํางานแบบใหม่นีว่า EASY BIM หรือ EASY BULDING INFORMATION MODELING เพือส่งผ่านความรู้การทํางานแบบใหม่ทีผมได้ค้นพบให้กับประเทศไทย ผมจึงสร้างแฟนเพจใน Facebook ทีชือว่า บ้าน Sketchup ขึนมา (ปัจจุบันมีสมาชิกแฟนเพจมากกว่า , คน) และเวปไซด์สอน SketchUp ฟรีทีชือว่า www.3DeeD.com (ปัจจุบันเป็นเวปไซด์สอน SketchUp อันดับหนึงของไทยบน Google) โดยหวังว่าความรู้ กระบวนการ และวิธีการใหม่ๆ นีจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยืนแก่วงการก่อสร้างของประเทศไทยต่อไป ขอบคุณครับ สุธิพงษ์ สงกรานต์ นักวิชาการอิสระเกียวกับ EASY BIM
  • 4. 03 สารบัญ บทที เรียนรู้พืนฐานคําสัง Quantifier 04 บทที การสร้าง Report ปริมาตรคอนกรีต, พืนทีของผนัง+พืน และจํานวนประตูและหน้าต่าง 11 บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report ปริมาตร (Volume) 18 บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report พืนที (Area) 25 บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report ประตูและหน้าต่าง หรือชินงานทีนับเป็นชิน 33 บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report งานไม้แบบ (Formwork) และเหล็กเสริมคอนกรีต 37 บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report ความยาวและชินส่วนอืนๆ 41 บทที การคิดราคาด้วย Cost Detail Report สําหรับค่าใช้จ่ายอืนๆ ทีไม่ได้อยู่ในโมเดล 49 บทที สรุปการคิดปริมาณวัสดุและราคาด้วยคําสัง Quantifier 52 บทที พืนฐานการสร้าง Profile Member 57 บทที การโมเดลบ้านสามมิติด้วย Profile Builder 63 บทที การใช้เครืองมือปรับแก้ Profile Member 84 บทที การใช้เครืองมือ Extend Tool 105 บทที การใช้เครืองมือ Trim to Solid 110 บทที งานคอนกรีตเสริมเหล็กและการใช้เครืองมือ Edit Path of Active Profile Member 116 บทที Profile Member Path Inferencing (PMPI) และ Assign Mark Numbers 126 บทที Build Along Patch และ Smart Path Select 129 บทที เครืองมือในการช่วยเพิมประสิทธิภาพในการทํางาน 134 บทที Profile Assembler 138
  • 6. 05 1) เปิดโปรแกรม SketchUp จากนันคลิกที File 2) จากนันคลิกทีคําสัง Import เพือนําไฟล์สามมมิติทีใช้ ในการถอดปริมาณวัสดุและคิดราคาเข้ามา 3) เลือกไฟล์ SketchUp 4) เปิดไฟล์ SketchUp ทีชือว่า QUANTIFIER ซึงอยู่ในโฟเดอร์ทีเราแจกไว้ในแผ่น CD (แนะนํา ให้ Copy มาวางไว้ในคอมพิวเตอร์ของเราก่อน) 5) เมือเลือกได้แล้ว คลิก Import 6) เมือทําถูกต้องจะเห็นโมเดลสามิติ ขึนมาดังรูป 7) คลิกขวาทีโมเดลจากนันคลิก ที Explode เพือแยกชินส่วนของ บ้านทังหมดออกจากกัน 8) ไปทีคําสัง Layer ใน Default Tray จะเห็น Layer อยู่หลายตัว ซึงแต่ละ Layer ทําหน้าทีในการแบ่งหมวดงาน ต่างๆ ของบ้านออกจากกัน โดยปกติเราจะใช้ Layer แบ่งหมวดงานต่างๆ ของโมเดลแยก ออกจากัน ซึงเป็นพืนฐานทัวไปของการใช้งานโปรแกรม SketchUp
  • 7. 06 10) โมเดลสามมิติจะเหลือแต่ส่วน ทีเป็นงานโครงสร้างคอนกรีต 11) เราสามารถตรวจสอบชือของชินงานทังหมด ได้อย่างรวดเร็วโดยการคลิกทีเครืองมือ Text จากนันคลิกทีไปชินส่วนทีต้องการทราบชือ 12) ถ้าทําถูกต้องเราจะเห็นชือของ ชินงานต่างๆ แสดงขึนมา 14) ภายในหน้าต่าง Entity Info เราจะเห็นชือของ Layer และชือของชินงาน (Instance) รวมถึงปริมาตรของชินงานนันด้วย โดยในตัวอย่างนี ชินงานชือว่า F2 อยู่ใน Layer คอนกรีต ksc และมีปริมาตรทังหมดเท่ากับ . ลบ.ม. 9) ปิด Layer ทุกตัวให้หมดยกเว้น Layer ทีชือว่า คอนกรีต ksc (Layer 0 ไม่สามารถปิดได้) 13) คลิกขวา ครังทีฐานรากตัวใด ก็ได้จากนันคลิกที Entity Info
  • 8. 07 15) คลิกทีเครืองมือ Quanitfier 16) เมือทําถูกต้องเราจะเห็นหน้าต่างทีชือว่า PB Quantifier เปิดขึนมาดังรูป ในตอนนีต้องมันใจว่าเราได้คลิกเลือก ฐานราก F2 อยู่ 17) สังเกตค่า Attribute ที PB Quantifier อ่านได้ 18) สังเกตค่าความกว้าง ความยาว ความสูง และพืนทีในส่วนต่างๆ ของ F2 19) จากนันลองเปรียบเทียบค่าทีเราเห็น กับค่าทีอ่านได้จากตารางของ PB Quantifier Length (m) คือ ค่าความยาวทีวัดจากส่วนทียาวทีสุดของชินงาน ในทีนีคือ . เมตร Area (m2) คือ ค่าพืนทีผิวของด้านทีมีพืนทีมากทีสุดของชินงาน ในทีนีคือ . ตร.ม. Volume (m3) คือ ค่าปริมาตรทังหมดของชินงาน ในทีนีคือ . ลบ.ม. Weight (kg) คือ นําหนักทังหมดของชินงาน ในทีนียังอ่านค่าไม่ได้ เพราะยังไม่กําหนดนําหนักต่อหน่วย Surface Area (m2) คือ พืนทีผิวทังหมดของชินงาน โดยในทีนีคือ . ตร.ม. สรุปค่า Attribute ทีสามารถอ่านได้จาก PB Quantifier
  • 9. 08 หลักการพืนฐานในการอ่านค่า Area Area จะอ่านพืนทีผิวของด้านทีมีขอบยาวทีสุดและจะคิดเต็มพืนทีเสมอแม้ว่าในด้านนันจะมีระดับของผิวไม่เท่ากัน อ่านค่า Area ได้เท่ากับ . ตร.ม. อ่านค่า Area ได้เท่ากับ . ตร.ม. อ่าน Area ได้เท่ากัน อ่าน Area ได้เท่ากัน 2. Area จะไม่รวมพืนทีกลวง หรือช่องวางทีหายไป ค่าพืนทีผิวทังหมด ค่าพืนทีผิวทังหมด ค่าพืนทีผิวทังหมด ค่าพืนทีผิวทังหมด
  • 10. 09 ในกรณีนี Area = 0.81 m2 โดยสังเกตว่าจะอ่านค่าในด้านทีมีค่าความกว้าง x ความยาวทีมากทีสุด ดังนัน ถ้าต้องการนํา Profile Builder ไปใช้ในการหาพืนทีผนัง จะต้องแยกผนังออกเป็นกล่องสีเหลียมเล็กๆ หลายๆ ชินมาประกอบกันจากนันเลือกชินส่วนทังหมดรวมกันแล้วคลิก Quantifier ในกรณีนี Area = 12.3 m2 โดยสังเกตว่าจะอ่านค่าในด้านทีมีค่าความกว้าง x ความยาวทีมากทีสุดเช่นกัน
  • 11. 10 หลักการพืนฐานในการอ่านค่าความยาว (Length) ความยาวของชินงานจะอ่านจากระยะทางจากมุมของสองด้านทีห่างกันทีสุดเสมอ ระวังอย่าใช้ Profile Builder ไปวัดค่าความยาวของท่อหรือสายไฟทีโค้งงอ อ่านค่าความยาวเท่ากับความยาวแผ่นไม้ อ่านค่า Area เท่ากับ Area ของแผ่นไม้ ค่าความยาวทีไม่ตรงกับค่าความยาวของสายไฟ อ่านค่า Area เท่ากับ Area ของแผ่นไม้ ท่อยาว เมตร
  • 12. 11 การสร้าง Report ปริมาตรคอนกรีต, พืนทีของผนัง+พืน และจํานวนประตูและหน้าต่าง บทที 2
  • 13. 12 1) เลือกชินงานทีอยู่ใน Layer คอนกรีต ksc ทังหมด 2) คลิก Quantifier 3) จากนันเลือก Component Report 4) คลิกเครืองหมายถูกเพือสร้าง Report 5) เมือทําถูกต้องเราจะเห็นตาราง Report ทีแสดงค่าต่างๆ จํานวนมากขึนมา โดย ส่วนใหญ่เป็นค่าทีเราไม่ต้องการทีจะรู้ ดังนันเราจําเป็นทีจะต้องเลือกค่าทีจะต้อง แสดงใน Component Report ก่อนเพือ ให้ตารางดูง่ายและใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึน 6) คลิกปิดตารางทีสร้างขึนมา
  • 14. 13 7) คลิก Report Setup 8) คลิกเครืองหมายบวกเพือเพิม Template ใหม่สําหรับใช้ในการ Report 9) พิมพ์ชือ Template ใหม่ว่า ปริมาตรคอนกรีต 10) คลิก Ok 11) คลิกที Fields เพือเลือกค่าทีต้องการ Report ซึงในทีนีก็คือปริมาตรคอนกรีต 12) คลิก Uncheck all เพือ ยกเลิกค่าทีเลือกไว้ทังหมดก่อน 13) คลิกเครืองหมายถูกหน้าหัวข้อดังต่อไปนี 13.1 Name 13.2 Count 13.3 Volume 13.4 Total Volume 14) คลิก OK
  • 15. 14 15) คลิก Report Setup อีกครัง 16) Component Report ทีแสดงปริมาตรคอนกรีตทังหมด ดูคําอธิบาย ส่งค่าทังหมดไปที Excel (ยังไม่รองรับภาษาไทย) คําสังสําหรับการพิมพ์ Report คําสังสําหรับการ Copy ข้อมูลทีรายงานทังหมด เลือกจํานวนแถวของข้อมูลทีต้องการแสดง คําสัง Search สําหรับการเลือกดูข้อมูล บางอย่างทีต้องการ คลิกเพือเรียงลําดับก่อนหลัง ทําได้ทุกๆ Column ร่วมกับคําสัง Shift
  • 16. 15 17) ปิด Layer อืนๆ ให้หมดให้เหลือแต่ Layer ทีชือว่า ผนังก่ออิฐฉาบปูน และแผ่นพืนสําเร็จ 19) คลิกเครืองหมายบวกเพือเพิม Template ใหม่ 22) คลิกที Fields เพือเลือกข้อมูลใหม่ 23) คลิก Uncheck all เพือยกเลิกข้อมูลเดิม 24) คลิกเครืองหมายถูกหน้าคําว่า Name, Count , Area และ Total Area รวม ค่า 25) เสร็จแล้วกด OK 18) คลิก Report Setup 21) จากนันคลิก OK 20) ตังชือ Template ใหม่ว่า พืนที
  • 17. 16 26) คลิก Create Report อีกครัง 27) Component Report แสดงพืนทีผนัง, แผ่นพืนสําเร็จ และงานเทพืนคอนกรีตรอบอาคารทังหมด 28) ปิด Layer อืนๆ ให้หมด เหลือแต่ Layer ทีชือว่า ประตูและหน้าต่าง 29) คลิกเลือกประตูใดๆ ก็ได้ ตัว 30) คลิก Object
  • 18. 17 34) คลิกที Fields เพือเลือกข้อมูล ทีต้องการสร้าง Report 35) คลิก Uncheck all เพือลบข้อมูล เดิมทีถูกเลือกไว้ทังหมด 36) คลิกเครืองหมายถูกหน้าคําว่า Component Name และ Count 38) คลิก Report Setup อีกครัง 33) คลิก OK 31) คลิกเครืองหมายบวกเพือสร้าง Template ใหม่ 32) ตังชือ Template ใหม่ว่า ประตูและหน้าต่าง 37) คลิก OK 39) Component Report แสดงชือและจํานวน ของหน้าต่างและประตูทังหมด
  • 19. 18 การคิดราคาด้วย Cost Detail Report ปริมาตร (Volume) บทที
  • 20. 19 2) ตรวจสอบ Layer ทีติดมา กับไฟล์ตัวอย่างโดยจะเห็นว่า มีการแบ่งแยกหมวดงานบางส่วนไว้ 3) ปิด Layer ทังหมดยกเว้น Layer คอนกรีต ksc 4) ถ้าทําถูกต้องโมเดลบางส่วนจะหายไป เหลือไว้แต่ชินส่วนทีอยู่ใน Layer คอนกรีต 240 ksc เท่านันดังภาพ 5) คลิกทีเครืองมือ Quanitfier 7) คลิกบริเวณนีเพือเลือก Layer คอนกรีต ksc 8) คลิกเลือก Layer คอนกรีต ksc 1) เปิดไฟล์ทีชือว่า QUANTIFIER ทีเราแจกไว้ขึนมา 6) จากนันคลิกที Layer เพือกําหนด ราคาและข้อมูลอืนๆ ให้กับชินส่วนทังหมด ทีอยู่ใน Layer คอนกรีต ksc
  • 21. 20 9) พิมพ์ค่าความหนาแน่นของเหล็ก = , กก./ลบ.ม. 10) คลิก Add cost item เพือกําหนดข้อมูลเพิมเติม ) ตังชือ Code ว่า หมวดงาน-คอนกรีต โดยชือในช่องนีจะเป็นหัวข้อทีแสดงใน Cost detail report 12) ช่อง Description จะแสดงรายละเอียด เหมือนกับชือของ Layer โดยในทีนียังไม่ต้อง ทําการเปลียนแปลงใดๆ 13) ถ้าต้องการให้ชินงานทีอยู่ใน Layer คอนกรีต ksc แสดงค่าออกมาในหน่วย ลบ.ม. ให้เลือกหน่วย m3 14) กําหนดค่า ตัวคูณเพิมเท่ากับ 15) พิมพ์หน่วย ลบ.ม. 16) พิมพ์ราคาคอนกรีต เท่ากับ , บาท/ลบ.ม. ) กําหนดค่าสูญเสียระหว่างทํางาน % ***สําหรับเพิมคําอธิบาย 18) กําหนดค่าภาษีเท่ากับ . 19) คลิก Add cost item เพือกําหนด ค่าแรงสําหรับงานเทคอนกรีตเพิมเติม 20) ถ้าทําถูกต้องจะได้แถวใหม่ขึนมาดังภาพ 21) Code = หมวดงาน-คอนกรีต, Description = ค่าแรงเทคอนกรีต, Input = m3, Factor = 1 Unit = ลบ.ม., Waste% = 10% และ Tag% = 0.0 22) คลิกบริเวณคําพูดเพือเพิมเติมคําอธิบายหรือหมายเหตุ ***สําหรับลบข้อมูล
  • 22. 21 23) พิมพ์คําว่า รับผิดชอบโดย SKH 24) คลิก OK 25) คลิก OK ทีด้านล่างสุดอีกครัง ก็เป็นอันแล้วเสร็จสําหรับการกําหนดข้อมูล 26) คลิก Report setup 31) จากนันเลือกชินงานทีอยู่ใน Layer คอนกรีต ksc ทังหมด 27) เลือก Active Template ทีชือ ว่า ปริมาตรคอนกรีต (ทําไว้ในบททีแล้ว) 28) คลิก Fields เพือเพิมค่า Attribute ราคาเข้าไปเพิมเติม 29) คลิกเครืองหมายถูกด้านหน้าของ Total Cost 30) คลิก OK
  • 23. 22 32) คลิกทีเครืองมือ Quantifier 33) ถ้าทําถูกต้องเราจะเห็นราคา (Cost) ของชินงาน ทีอยู่ใน Layer คอนกรีตทังหมด 35) แก้ Currency Symbol ให้กลายเป็น บาท 36) แก้ Currency Precision ให้กลายเป็น เพือให้รายงานแสดงค่าเงินออกมาเป็นจํานวนเต็ม 37) คลิก OK 34) คลิก Report setup เพือ ทําการปรับแก้สกุลของเงินจาก USD ให้กลายเป็น บาท 38) ถ้าทําถูกต้อง เราจะเห็น ราคางานคอนกรีตทังหมด
  • 24. 23 39) คลิกเลือกที Component Report 40) จากนันเลือก Create Report 41) สังเกตค่า Total Cost จะแสดงผลขึนมาในตาราง โดยแยกราคาตามชนิดของ ชินส่วนทังหมด ใช้สําหรับค้นหาข้อมูลทีต้องการ 42) จากนันเลือก Report อีกครัง แต่คราวนีเลือก Cost Detail Report 43) คลิก Create Report
  • 25. 24 45) เราสามารถคลิกดูรายการคํานวณของ แต่ละชินงานได้โดยการคลิกทีคําสัง Cost Inspector 46) จากนันคลิกทีเสา ตัว 47) ถ้าทําถูกต้องเราจะได้ตาราง แสดงรายการคํานวณขึนมาดังรูป ชินส่วนใดก็ตามทียังไม่มีการบันทึกข้อมูลราคา จะกลายเป็นสีแดง ซึงจะมองเห็นชัดเจน ดังนันทุกๆ ครังที จะทําการ Report ควรจะต้องทําการตรวจสอบข้อมูลทังหมดผ่านคําสัง Cost Inspector 44) เมือทําถูกต้องเราจะเห็นรายงานวัสดุและราคาทัง หมดแบ่งตามหมวดงานหรือ Code ทีเรากําหนดไว้