SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
โรคทีมีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
     ่
        โรคหอบหืด

                           ถัดไป
จัดทาโดย
                               ่     ่
             น.ส.เมวิกา จิตรชืน เลขที35 ม.4/3
                                       ่
           น.ส.วศินี ทวีปัญญายศ เลขที36 ม.4/3
                             เสนอ
                  คุณครูฉวีวรรณ นาคบุตร
                                  ่
                โรงเรียนบ้านสวน(จันอนุสรณ์)


ย้อนกลับ                  หน้าหลัก              ถัดไป
แนะนาเนื้อหา

    นิยามของโรคหอบหืด
    สาเหตุของโรคหอบหืด
             ่
     ปั จจัยทีทาให้เกิดการตีบตันของหลอดลม
    ลักษณะหลอดลมเมื่อเป็ นโรคหอบหืด
    อาการของโรค
               ่
     อาการทีควรไปพบแพทย์
    วิธีการรักษา
    การป้ องกันเมื่ออาการกาเริบ
    ยาหลักที่ใช้ในการรักษา
                    ่
     ผลการรักษาทีควรเกิดขึ้น
    แหล่งอ้างอิง

ย้อนกลับ                                    หน้าหลัก   ถัดไป
นิยามของโรคหอบหืด

         โรคหอบหืดเป็ นโรคของหลอดลมที่มีการอักเสบเรื้ อรัง [Chronic inflammatory]
   เป็ นผลให้มี cell ต่างๆ เช่น mast cell,eosinophils,T-lymphocyte,macrophage,neutrophil มา
   สะสมที่เยือบุผนังหลอดลม ทาให้เยือบุผนังหลอดลมมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารภูมิแพ้
             ่                          ่
   และสิ่ งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ[bronchial hyper-reactivity] ผลจากการอักเสบจึงทาให้เยือ    ่
   บุผนังหลอดลมมีการหนาตัว กล้ามเนื้อหลอดลมมีการหดเกร็งตัว ทาให้ผป่วยมีอาการไอ
                                                                          ู้
   แน่นหน้าอก หายใจมีเสี ยงหวีด และหอบเหนื่อย อาการหอบเหนื่อยจะเกิดขึ้นทันทีที่ได้รับ
   สารภูมิแพ้




ย้อนกลับ                                  หน้าแนะนา                                   ถัดไป
สาเหตุของโรคหอบหืด
     โรคหอบหืดสามารถเกิดขึ้นได้กบทุกวัย ทุกช่วงอายุเราไม่มนใจมากที่จะยืนยันแน่ชดว่า
                                      ั                         ั่                   ั
      อะไรคือสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคหอบหื ด แต่ที่แน่ๆ เราพอทราบว่า
     โรคหอบหืดสามารถถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรมได้
     เป็ นเพราะแนวทางการใช้ชีวตในยุคใหม่ เช่นการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่อยูอาศัย อาหาร
                                    ิ                                         ่
      การกินและสภาพแวดล้อม ที่สะอาดปลอดสารพิษมากขึ้น
     มารดาที่สูบบุหรี่ ระหว่างตั้งครรภ์น้ นเป็ นการเพิมโอกาสของลูกในครรภ์ที่จะเติบโตมา
                                           ั           ่
      กับโรคหอบหืดได้
     คนที่เพิงมีอาการหอบหืดในตอนหลัง หรื อในวัยเด็กไม่เคยมีประวัติเป็ นโรคหอบหืด
              ่
      (Late-onset asthma) อาจเกิดขึ้นได้หลังจากการติดเชื้อไวรัส
     สิ่ งรบกวนต่างๆในที่ทางาน อาจนาไปสู่อาการต่างๆของโรคหอบหืดได้เช่นกัน

ย้อนกลับ                               หน้าแนะนา                                 ถัดไป
่
                    ปั จจัยทีทาให้เกิดการตีบตันของหลอดลม
 อาการแพ้ : อาการแพ้เป็ นสาเหตุหลักที่ทาให้เกิดโรคภูมิแพ้ กว่า 80 % ของผูเ้ ป็ นโรคหอบหื ดแพ้สารเคมีหรื อละ
             ่
  ลองที่มีอยูในอากาศซึ่ งอาจมาจาก หญ้า, ต้นไม้, เชื้อรา, ละอองเกสร, ไรฝุ่ น
 อาหารและเครื่องดืม : อาหารและเครื่ องดื่มสามารถทาให้เกิดอาการหอบหื ดได้กบบางคน แม้อาการหอบหื ดที่เกิด
                      ่                                                           ั
  จากการแพ้อาหารและเครื่ องดื่มจะไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก แต่มกจะมีความรุ นแรงมากกว่าจนบางครั้งเป็ นอันตรายถึง
                                                           ั
  ชีวติ
 การออกกาลังกายแบบหักโหม : การออกกาลังกายอย่างหักโหมสามารถทาให้ระบบทางเดินหายใจตีบลงได้
 กรดไหลย้ อน : กรดไหลย้อนและโรคหอบหื ดอาจเกิดขึ้นคู่กนได้ รายงานทางการแพทย์ช้ ีวา กว่า 89 % ของผูป่วยที่
                                                               ั                          ่                 ้
  มีอาการหอบหื ด มักจะมีอาการของกรดไหลย้อนควบคู่ไปด้วย
 การสู บบุหรี่ : คนที่สูบบุหรี่ มีโอกาสเกิดโรคหอบหื ดได้มากกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่ และควันบุหรี่ ยงทาให้อาการไอ
                                                                                                 ั
  และอาการหอบหื ดรุ นแรงยิงขึ้น  ่
 การติดเชื้อ : ไข้หวัดและอาการปอดบวมเป็ นสาเหตุกระตุนให้เกิดอาการหอบหื ด การติดเชื้อแบคทีเรี ยหรื อไวรัส
                                                             ้
  เป็ นสาเหตุกระตุนให้เกิดอาการหอบหื ดที่พบได้ทวไปโดยเฉพาะในเด็กเล็กที่มีอายุนอยกว่า 10 ขวบ
                    ้                             ั่                                 ้


    ย้อนกลับ                                        หน้าแนะนา                                       ถัดไป
ลักษณะหลอดลมเมื่อเป็ นโรคหอบหืด
   Acute bronchoconstriction มีการหดเกร็ งของกล้ามเนื้อหลอดลม[Airway muscle]
    หลังจากได้รับสารภูมิแพ้ทาให้ลมผ่านหลอดลมลาบาก
   Air way edemaเนื่องจากมีการหลังของน้ าทาให้ผนังหลอดลมบวมผูป่วยจะหอบเพิ่มขึ้น
                                   ่                             ้
   Chronic mucous plug formation มีเสมหะอุดหลอดลมทาให้ลมผ่านหลอดลมลาบาก
   Air way remodeling มีการหนาตัวของผนังหลอดลมทาให้หลอดลมตีบเรื้ อรัง




ย้อนกลับ                              หน้าแนะนา                              ถัดไป
อาการของโรค


      PEF ลดลง
      ไอและหอบกลางคืน หายใจหอบ
      แน่นหน้าอก เหนื่อยง่ายกว่าปกติ
      อ่อนเพลีย นามูกไหล ไอ จาม
                    ้
      ปวดศีรษะ มีไข้ ตาลาย
      สีใบหน้าเปลี่ยนไป
      ขอบตาดา หมองคลา   ้

ย้อนกลับ                                หน้าแนะนา   ถัดไป
่
                         อาการทีควรไปพบแพทย์

        เกิดอาการหอบอย่างรุ นแรงมีอาการแสดงดังต่อไปนี้
       เกิดอาการหอบหืดขณะพัก พูดไม่เป็ นประโยค สับสน ซึม หายใจมากกว่า 30 ครั้ง
       หายใจหวีดดังมากหรื อไม่ได้ยน ิ
       ชีพขจรมากกว่า 120 ครั้ง ในเด็กมากกว่า 160 ครั้ง
       PEF< 60%
       ไม่ตอบสนองต่อยาขยายหลอดลมทันที หรื ออาการเป็ นอีกหลังการรักษา3ชัวโมง
                                                                        ่
       หลังให้ steroid 2-6 ชัวโมง อาการยังไม่ดีข้ ึน
                              ่
       ผูป่วยอาการแย่ลง
          ้



ย้อนกลับ                               หน้าแนะนา                              ถัดไป
วิธีการรักษา
  โชคไม่ดีที่โรคหอบหื ดไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ อย่างไรก็ตามวิธีการบาบัดต่างๆจะช่วยลด
   ปริ มาณความถี่ ความรุ นแรง และระยะเวลาที่อาการกาเริ บได้ ทั้งนี้กเ็ พราะปั จจัยหลากหลายที่เกี่ยวข้อง
  Inhaler (เครื่ องมือสูบอากาศหรื อยาเข้าปอด) Inhaler มีอยูดวยกัน 2 ชนิด คือ
                                                            ่ ้
   - Reliever ลดอาการ ซึ่ งจะช่วยลดและบรรเทาเมื่อเกิดอาการขึ้น
   - Preventer ป้ องกันไม่ให้เกิดอาการซึ่งคุณสามารถใช้ได้ทุกวันเพื่อป้ องกันอาการต่างๆไม่ให้กาเริ บ
  Spacer Spacer มีหน้าที่ช่วยเหลือคุณให้ใช้ Inhaler ได้อย่างถูกต้องมีลกษณะเป็ นท่อยาวเชื่อมต่อกับ
                                                                        ั
   Inhaler โดยที่ปลายท่อออกแบบมาให้ใช้ง่ายคู่กบปากเวลาสู ดหายใจเข้าและออก
                                                  ั
  Nebuliser Nebuliser มีหน้าที่ทาให้น้ าและตัวยาหอบหื ดเป็ นละอองให้คุณหายใจเข้าไป ซึ่ งโดยส่ วน
   ใหญ่มกมีใช้แค่ในโรงพยาบาล แต่บางครั้งคนก็ซ้ื อไว้ใช้ที่บานเหมือนกัน
          ั                                                   ้
  ยาอืนๆ ถ้าคุณมีอาการหอบหื ดขั้นรุ นแรง คุณอาจจะต้องบาบัดด้วยการรับประทานยาเม็ดสเตอรอยด์
        ่
                                                                                              ่
   เช่น prednisolone และตัวยาอื่นๆ อีกหลายตัวในกรณี ที่การรักษาขั้นพื้นฐานไม่ได้ผล ตัวยาที่วานั้นก็
   ได้แก่ montelukast (Singulair) หรื อ theophylline


ย้อนกลับ                                      หน้าแนะนา                                       ถัดไป
การป้ องกันเมื่ออาการกาเริบ

   รับประทานยาเสริ ม
   เทคนิคช่วยในการหายใจและผ่อนคลาย เช่นการเล่นโยคะ
   การฝึ กหรื อรักษาปัญหาเรื่ องการนอนหลับ
   การฝังเข็มบาบัด
   การบาบัดแบบโฮมีโอพาธี (Homeopathy)
   การหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด และการรับประทานอาหารเสริ ม



ย้อนกลับ                        หน้าแนะนา                  ถัดไป
่
                       ยาหลักทีใช้ในการรักษาโรค

  ยากลุ่มสเตียรอยด์ เป็ นยาที่มีประสิ ทธิภาพสูงสุ ดในการรักษา โรคหอบหืด สาหรับผูป่วย้
   เด็ก และผูใหญ่ ยานี้มีท้งรู ปแบบยาเม็ดสาหรับรับประทาน และรู ปแบบพ่นเข้าสู่ หลอ
              ้            ั
  โครโมลิน และนิโดโครมิล เป็ นยาพ่นที่มีประสิ ทธิภาพในการป้ องกัน และลดการอักเสบที่
   จะเกิดขึ้นจากการออกกาลังกาย หรื ออากาศเปลี่ยน
   ดลมโดยตรง
  ยากลุ่มเบต้ าอะโกนิส ที่ใช้แพร่ หลายคือยาพ่นแบบน้ า และแบบผง อีกทั้งยังมียาเม็ด และยา
   น้ าในรู ปแบบรับประทาน รวมทั้งรู ปแบบที่ใช้กบเครื่ องปั๊ม ยากลุ่มนี้มีประสิ ทธิภาพใน
                                                   ั
   การขยายหลอดลมสูง
  ยากลุ่มแซนทีน ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์ตานการอักเสบ และขยายหลอดลม สาหรับใช้ใน
                                     ้
   คนไข้ โรคหอบหืด เรื้ อรัง ในปั จจุบนจะพบได้ท้งยาฉี ดยาน้ า และยาเม็ด
                                       ั             ั


ย้อนกลับ                                หน้าแนะนา                                 ถัดไป
่
                   ผลการรักษาทีควรเกิดขึ้น

     สมรรถภาพปอดดีข้ ึน
     คนไข้สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ตามปกติ หรื อเกือบปกติ
      รวมทั้งการออกกาลังกาย
     อาการเรื้ อรังที่น่าเบื่อหน่วยสาหรับคนไข้สิ้นสลายไปอาการ เช่น
      ไอ หายใจขัด แน่นหน้าอก
     ป้ องกันการกาเริ บของโรคได้
     ผลข้างเคียงจากยาควรจะไม่มี หรื อมีนอยที่สุด
                                            ้

ย้อนกลับ                       หน้าแนะนา                       ถัดไป
แหล่งอ้างอิง
    http://health.kapook.com/view400.html
    http://siamhealth.net/public_html/Disease/Respiratory/asthma1/Asthma.htm
    http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/Respiratory/asthma1/Enviro
     nment_control.htm
    http://www.sukapapdeedee.com/disease/respiratory-disease/asthma/2.html
    http://www.msd.bangkok.go.th/healthconner_asthma.htm
    http://www.sukapapdeedee.com/disease/respiratory-disease/asthma/1.html
    http://www.srinagarind-
     hph.kku.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=165:2012-04-
     26-07-43-25&catid=50:2011-07-14-09-50-27&Itemid=74




ย้อนกลับ                            หน้าแนะนา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 

Mais procurados (20)

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 

Destaque

โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศWan Ngamwongwan
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันหลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันWan Ngamwongwan
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียวWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

Destaque (18)

โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบ
 
หลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันหลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตัน
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียว
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Semelhante a โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่

งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดWan Ngamwongwan
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจkruwai
 

Semelhante a โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่ (20)

งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืด
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
Sinusitis
SinusitisSinusitis
Sinusitis
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 

Mais de Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 

Mais de Wan Ngamwongwan (14)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
 

โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่

  • 2. จัดทาโดย ่ ่ น.ส.เมวิกา จิตรชืน เลขที35 ม.4/3 ่ น.ส.วศินี ทวีปัญญายศ เลขที36 ม.4/3 เสนอ คุณครูฉวีวรรณ นาคบุตร ่ โรงเรียนบ้านสวน(จันอนุสรณ์) ย้อนกลับ หน้าหลัก ถัดไป
  • 3. แนะนาเนื้อหา  นิยามของโรคหอบหืด  สาเหตุของโรคหอบหืด  ่ ปั จจัยทีทาให้เกิดการตีบตันของหลอดลม  ลักษณะหลอดลมเมื่อเป็ นโรคหอบหืด  อาการของโรค  ่ อาการทีควรไปพบแพทย์  วิธีการรักษา  การป้ องกันเมื่ออาการกาเริบ  ยาหลักที่ใช้ในการรักษา  ่ ผลการรักษาทีควรเกิดขึ้น  แหล่งอ้างอิง ย้อนกลับ หน้าหลัก ถัดไป
  • 4. นิยามของโรคหอบหืด โรคหอบหืดเป็ นโรคของหลอดลมที่มีการอักเสบเรื้ อรัง [Chronic inflammatory] เป็ นผลให้มี cell ต่างๆ เช่น mast cell,eosinophils,T-lymphocyte,macrophage,neutrophil มา สะสมที่เยือบุผนังหลอดลม ทาให้เยือบุผนังหลอดลมมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารภูมิแพ้ ่ ่ และสิ่ งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ[bronchial hyper-reactivity] ผลจากการอักเสบจึงทาให้เยือ ่ บุผนังหลอดลมมีการหนาตัว กล้ามเนื้อหลอดลมมีการหดเกร็งตัว ทาให้ผป่วยมีอาการไอ ู้ แน่นหน้าอก หายใจมีเสี ยงหวีด และหอบเหนื่อย อาการหอบเหนื่อยจะเกิดขึ้นทันทีที่ได้รับ สารภูมิแพ้ ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 5. สาเหตุของโรคหอบหืด  โรคหอบหืดสามารถเกิดขึ้นได้กบทุกวัย ทุกช่วงอายุเราไม่มนใจมากที่จะยืนยันแน่ชดว่า ั ั่ ั อะไรคือสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคหอบหื ด แต่ที่แน่ๆ เราพอทราบว่า  โรคหอบหืดสามารถถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรมได้  เป็ นเพราะแนวทางการใช้ชีวตในยุคใหม่ เช่นการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่อยูอาศัย อาหาร ิ ่ การกินและสภาพแวดล้อม ที่สะอาดปลอดสารพิษมากขึ้น  มารดาที่สูบบุหรี่ ระหว่างตั้งครรภ์น้ นเป็ นการเพิมโอกาสของลูกในครรภ์ที่จะเติบโตมา ั ่ กับโรคหอบหืดได้  คนที่เพิงมีอาการหอบหืดในตอนหลัง หรื อในวัยเด็กไม่เคยมีประวัติเป็ นโรคหอบหืด ่ (Late-onset asthma) อาจเกิดขึ้นได้หลังจากการติดเชื้อไวรัส  สิ่ งรบกวนต่างๆในที่ทางาน อาจนาไปสู่อาการต่างๆของโรคหอบหืดได้เช่นกัน ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 6. ปั จจัยทีทาให้เกิดการตีบตันของหลอดลม  อาการแพ้ : อาการแพ้เป็ นสาเหตุหลักที่ทาให้เกิดโรคภูมิแพ้ กว่า 80 % ของผูเ้ ป็ นโรคหอบหื ดแพ้สารเคมีหรื อละ ่ ลองที่มีอยูในอากาศซึ่ งอาจมาจาก หญ้า, ต้นไม้, เชื้อรา, ละอองเกสร, ไรฝุ่ น  อาหารและเครื่องดืม : อาหารและเครื่ องดื่มสามารถทาให้เกิดอาการหอบหื ดได้กบบางคน แม้อาการหอบหื ดที่เกิด ่ ั จากการแพ้อาหารและเครื่ องดื่มจะไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก แต่มกจะมีความรุ นแรงมากกว่าจนบางครั้งเป็ นอันตรายถึง ั ชีวติ  การออกกาลังกายแบบหักโหม : การออกกาลังกายอย่างหักโหมสามารถทาให้ระบบทางเดินหายใจตีบลงได้  กรดไหลย้ อน : กรดไหลย้อนและโรคหอบหื ดอาจเกิดขึ้นคู่กนได้ รายงานทางการแพทย์ช้ ีวา กว่า 89 % ของผูป่วยที่ ั ่ ้ มีอาการหอบหื ด มักจะมีอาการของกรดไหลย้อนควบคู่ไปด้วย  การสู บบุหรี่ : คนที่สูบบุหรี่ มีโอกาสเกิดโรคหอบหื ดได้มากกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่ และควันบุหรี่ ยงทาให้อาการไอ ั และอาการหอบหื ดรุ นแรงยิงขึ้น ่  การติดเชื้อ : ไข้หวัดและอาการปอดบวมเป็ นสาเหตุกระตุนให้เกิดอาการหอบหื ด การติดเชื้อแบคทีเรี ยหรื อไวรัส ้ เป็ นสาเหตุกระตุนให้เกิดอาการหอบหื ดที่พบได้ทวไปโดยเฉพาะในเด็กเล็กที่มีอายุนอยกว่า 10 ขวบ ้ ั่ ้ ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 7. ลักษณะหลอดลมเมื่อเป็ นโรคหอบหืด  Acute bronchoconstriction มีการหดเกร็ งของกล้ามเนื้อหลอดลม[Airway muscle] หลังจากได้รับสารภูมิแพ้ทาให้ลมผ่านหลอดลมลาบาก  Air way edemaเนื่องจากมีการหลังของน้ าทาให้ผนังหลอดลมบวมผูป่วยจะหอบเพิ่มขึ้น ่ ้  Chronic mucous plug formation มีเสมหะอุดหลอดลมทาให้ลมผ่านหลอดลมลาบาก  Air way remodeling มีการหนาตัวของผนังหลอดลมทาให้หลอดลมตีบเรื้ อรัง ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 8. อาการของโรค  PEF ลดลง  ไอและหอบกลางคืน หายใจหอบ  แน่นหน้าอก เหนื่อยง่ายกว่าปกติ  อ่อนเพลีย นามูกไหล ไอ จาม ้  ปวดศีรษะ มีไข้ ตาลาย  สีใบหน้าเปลี่ยนไป  ขอบตาดา หมองคลา ้ ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 9. อาการทีควรไปพบแพทย์  เกิดอาการหอบอย่างรุ นแรงมีอาการแสดงดังต่อไปนี้  เกิดอาการหอบหืดขณะพัก พูดไม่เป็ นประโยค สับสน ซึม หายใจมากกว่า 30 ครั้ง  หายใจหวีดดังมากหรื อไม่ได้ยน ิ  ชีพขจรมากกว่า 120 ครั้ง ในเด็กมากกว่า 160 ครั้ง  PEF< 60%  ไม่ตอบสนองต่อยาขยายหลอดลมทันที หรื ออาการเป็ นอีกหลังการรักษา3ชัวโมง ่  หลังให้ steroid 2-6 ชัวโมง อาการยังไม่ดีข้ ึน ่  ผูป่วยอาการแย่ลง ้ ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 10. วิธีการรักษา  โชคไม่ดีที่โรคหอบหื ดไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ อย่างไรก็ตามวิธีการบาบัดต่างๆจะช่วยลด ปริ มาณความถี่ ความรุ นแรง และระยะเวลาที่อาการกาเริ บได้ ทั้งนี้กเ็ พราะปั จจัยหลากหลายที่เกี่ยวข้อง  Inhaler (เครื่ องมือสูบอากาศหรื อยาเข้าปอด) Inhaler มีอยูดวยกัน 2 ชนิด คือ ่ ้ - Reliever ลดอาการ ซึ่ งจะช่วยลดและบรรเทาเมื่อเกิดอาการขึ้น - Preventer ป้ องกันไม่ให้เกิดอาการซึ่งคุณสามารถใช้ได้ทุกวันเพื่อป้ องกันอาการต่างๆไม่ให้กาเริ บ  Spacer Spacer มีหน้าที่ช่วยเหลือคุณให้ใช้ Inhaler ได้อย่างถูกต้องมีลกษณะเป็ นท่อยาวเชื่อมต่อกับ ั Inhaler โดยที่ปลายท่อออกแบบมาให้ใช้ง่ายคู่กบปากเวลาสู ดหายใจเข้าและออก ั  Nebuliser Nebuliser มีหน้าที่ทาให้น้ าและตัวยาหอบหื ดเป็ นละอองให้คุณหายใจเข้าไป ซึ่ งโดยส่ วน ใหญ่มกมีใช้แค่ในโรงพยาบาล แต่บางครั้งคนก็ซ้ื อไว้ใช้ที่บานเหมือนกัน ั ้  ยาอืนๆ ถ้าคุณมีอาการหอบหื ดขั้นรุ นแรง คุณอาจจะต้องบาบัดด้วยการรับประทานยาเม็ดสเตอรอยด์ ่ ่ เช่น prednisolone และตัวยาอื่นๆ อีกหลายตัวในกรณี ที่การรักษาขั้นพื้นฐานไม่ได้ผล ตัวยาที่วานั้นก็ ได้แก่ montelukast (Singulair) หรื อ theophylline ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 11. การป้ องกันเมื่ออาการกาเริบ  รับประทานยาเสริ ม  เทคนิคช่วยในการหายใจและผ่อนคลาย เช่นการเล่นโยคะ  การฝึ กหรื อรักษาปัญหาเรื่ องการนอนหลับ  การฝังเข็มบาบัด  การบาบัดแบบโฮมีโอพาธี (Homeopathy)  การหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด และการรับประทานอาหารเสริ ม ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 12. ยาหลักทีใช้ในการรักษาโรค  ยากลุ่มสเตียรอยด์ เป็ นยาที่มีประสิ ทธิภาพสูงสุ ดในการรักษา โรคหอบหืด สาหรับผูป่วย้ เด็ก และผูใหญ่ ยานี้มีท้งรู ปแบบยาเม็ดสาหรับรับประทาน และรู ปแบบพ่นเข้าสู่ หลอ ้ ั  โครโมลิน และนิโดโครมิล เป็ นยาพ่นที่มีประสิ ทธิภาพในการป้ องกัน และลดการอักเสบที่ จะเกิดขึ้นจากการออกกาลังกาย หรื ออากาศเปลี่ยน ดลมโดยตรง  ยากลุ่มเบต้ าอะโกนิส ที่ใช้แพร่ หลายคือยาพ่นแบบน้ า และแบบผง อีกทั้งยังมียาเม็ด และยา น้ าในรู ปแบบรับประทาน รวมทั้งรู ปแบบที่ใช้กบเครื่ องปั๊ม ยากลุ่มนี้มีประสิ ทธิภาพใน ั การขยายหลอดลมสูง  ยากลุ่มแซนทีน ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์ตานการอักเสบ และขยายหลอดลม สาหรับใช้ใน ้ คนไข้ โรคหอบหืด เรื้ อรัง ในปั จจุบนจะพบได้ท้งยาฉี ดยาน้ า และยาเม็ด ั ั ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 13. ผลการรักษาทีควรเกิดขึ้น  สมรรถภาพปอดดีข้ ึน  คนไข้สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ตามปกติ หรื อเกือบปกติ รวมทั้งการออกกาลังกาย  อาการเรื้ อรังที่น่าเบื่อหน่วยสาหรับคนไข้สิ้นสลายไปอาการ เช่น ไอ หายใจขัด แน่นหน้าอก  ป้ องกันการกาเริ บของโรคได้  ผลข้างเคียงจากยาควรจะไม่มี หรื อมีนอยที่สุด ้ ย้อนกลับ หน้าแนะนา ถัดไป
  • 14. แหล่งอ้างอิง  http://health.kapook.com/view400.html  http://siamhealth.net/public_html/Disease/Respiratory/asthma1/Asthma.htm  http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/Respiratory/asthma1/Enviro nment_control.htm  http://www.sukapapdeedee.com/disease/respiratory-disease/asthma/2.html  http://www.msd.bangkok.go.th/healthconner_asthma.htm  http://www.sukapapdeedee.com/disease/respiratory-disease/asthma/1.html  http://www.srinagarind- hph.kku.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=165:2012-04- 26-07-43-25&catid=50:2011-07-14-09-50-27&Itemid=74 ย้อนกลับ หน้าแนะนา