SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 55
Baixar para ler offline
นัยน์ตากับการมองเห็น



  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี
จุดประสงค์การเรียนรู้

   1. บอกหน้าที่โครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของนัยน์ตา
  2. อธิบายการปรับภาพทีเลนส์ตา และความผิดปกติตาง ๆ ที่
                          ่                         ่
  เกี่ยวกับการปรับภาพ
  3. ระบุถึงอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดกับนัยน์ตาและวิธปองกันอันตราย
                                                   ี้
  นั้น ๆ
  4. อธิบายการทางานของนัยน์ตาในการแยกสีของวัตถุและความ
  ผิดปกติตาง ๆ ของนัยน์ตา
           ่
โครงสร้างของนัยน์ตา
มีความเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
โครงสร้างและส่วนประกอบของนัยน์ตา
ตาเป็นอวัยวะรับแสง (PHOTORECEPTOR)


                 ผนังลูกตา มี 3 ชั้น
  1. สเคลอรา ( sclera )

สเคลอรา ( sclera ) : ชั้นนอกสุด เหนียวแต่ไม่ยืดหยุน
                                                  ่
  มีสีขาวช่วยรักษารูปร่างและป้องกันโครงสร้างภายใน
  ส่วนใหญ่ทบแสงเรียก ตาขาว ข้างหน้าโปร่งใส เรียกว่า
             ึ
  กระจกตา(cornea) ช่วยหักเหแสง สามารถเปลี่ยนถ่ายได้
2. โครอยด์ ( Choroid )

 เป็นชันที่หลอดเลือดมาเลี้ยง
        ้                    และมีสารสีแผ่กระจายเป็นจานวนมาก เพือ่
  ป้องกันไม่ให้แสงสว่างทะลุผานชัน Retina ไปยังด้านหลังของนัยน์ตาได้
                             ่ ้
  โดยตรง ประกอบด้วยเลนส์ตา ( Lens ) ถูกยึดด้วย Suspensory
  Ligament ด้านหน้าเลนส์มมานตา ( Iris ) ยืนลงมาจากด้านบนและ
                            ี่               ่
  ด้านล่างของผนัง Choroid คล้ายเป็นผนังกันบางส่วน ควบคุมปริมาณ
                                           ้
  แสงทีผ่านเข้าตา ส่วนช่องตรงกลางมีลกษณะกลม สามารถให้แสงเข้า
        ่                            ั
  ผ่านได้ เรียกว่า รูมานตา ( Pupil )
                      ่
ม่านตา ( IRIS) : เป็นแผ่นกล้ามเนื้อบางๆ มีสี และมีลวดลายเฉพาะ
ช่วยควบคุมขนาดรูม่านตา
RETINA
เป็นบริเวณที่มีเซลล์รับแสง  แบ่งได้เป็นสองชนิด
 ตามลักษณะรูปร่างของเซลล์ คือ
 เซลล์รูปแท่ง ( Rod Cell ) มีประมาณ 125
 ล้านเซลล์ ไวต่อการรับแสงสว่าง แม้ในที่มีแสง
 สว่างน้อย เซลล์ชนิดนี้ไม่สามารถแยกความ
 แตกต่างของสีได้
เซลล์รปกรวย
       ู          ( Cone Cell ) มีประมาณ 7
 ล้านเซลล์ เป็นเซลล์ที่แยกความแตกต่างของสี
 ต่างๆ ได้ แต่ตองการแสงสว่างมากจึงจะบอกสี
                ้
 ของวัตถุได้ Rod Cell และ Cone Cell จะ
 เชื่อมต่อกับ Bipolar Neuron อื่น และส่งต่อไปยัง
 เส้นประสาทคู่ที่สอง เพื่อส่งไปยังส่วนสมองส่วน
 Cerebrum แปลผลต่อไป
ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแสดงเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย
Fovea

ปกติแล้วRod Cell จะมีความหนาแน่นมากกว่า
 Cone Cell แต่บริเวณที่เรียกว่า Fovea จะมี
 Cone Cell หนาแน่นกว่าบริเวณอื่น ดังนั้นแสงที่
 ตกบริเวณนี้จะเกิดภาพได้ชดเจน
                         ั
BLIND SPOT

ส่วนบริเวณของเรตินาทีมีแต่
                      ่      Axon ของ
 เส้นประสาทสมองคูที่ 2 ออกจากนัยน์ตา จะไม่มี Rod
                     ่
 Cell หรือ Cone Cell อยู่เลย ดังนันแสงที่ตกบริเวณ
                                   ้
 ดังกล่าว จึงไม่เกิดภาพ เรียกจุดดังกล่าวว่า จุดบอด
  ( Blind Spot )
เลนส์ตา ( LENS )
เป็นเลนส์นูนอยู่ค่อนมาทางด้านหน้าของนัยน์ตา ถัดจาก
 กระจกตาเข้าไปเล็กน้อย เลนส์ตามีลกษณะใส และกัน
                                  ั              ้
 นัยน์ตาออกเป็นสองส่วน คือช่องหน้าเลนส์และช่องหลัง
 เลนส์ ภายในช่องทังสองมีของเหลวอยู่ ของเหลวที่อยู่
                   ้
 ด้านหน้า เรียกว่า Aqueous Humor ซึงผลิตมาจาก
                                      ่
 Ciliary Body ของเหลวที่อยู่ดานหลัง เรียกว่า
                             ้
 Vitreous Humor ของเหลวดังกล่าวทาให้ลูกตาเต่ง
 และช่วยในการหักเหของแสงทีผ่านเข้ามา
                               ่
การเกิดภาพ
ในการเกิดภาพ    แสงจากวัตถุผ่านเข้าสู่กระจกตา โดยมีเลนส์ตา
 ทาหน้าที่รวมแสง ดังนั้นการหักเหของแสงจึงขึ้นอยู่กับความโค้ง
 ของกระจกตาและเลนส์ตา ปกติความโค้งของกระจกตาคงที่เสมอ
 ส่วนความโค้งของเลนส์ตาสามารถปรับเปลี่ยนได้ เนื่องจากเลนส์
 ตาถูกยึดด้วย Suspensory Ligament ซึ่งเอ็นดังกล่าวอยู่ติดกับ
 กล้ามเนื้อยึดเลนส์ ( Ciliary Muscle) ดังนั้นการหดตัวและการ
 คลายตัวของกล้ามเนื้อยึดเลนส์จึงมีผลทาให้เอ็นที่ยึดเลนส์หย่อน
 หรือตึงได้
เลนส์
   ม่านตา   เรตินา
กระจกตา
  แสง       เส้นประสาท
            สมองคู่ที่2
ภาพทีอยูใกล้
     ่ ่
C ILIARY MUSCLE หด >> SUSPENSORY L IGAMENT คลาย >>
LENS โป่งออก >> FOCUS ใกล้เลนส์
ภาพทีอยู่ไกล
     ่
C ILIARY MUSCLE คลาย >> SUSPENSORY L IGAMENT หด >>
LENS แบนราบ >> FOCUS ไกลเลนส์
ภาวะสายตาผิดปกติ
(REFRACTIVE ERRORS หรือ AMETROPIA)
1. สายตาสั้น (NEAR-SIGHTEDNESS หรือ MYOPIA)
 สายตาสันเกิดจากกาลังการรวมแสงของตา
            ้
 มากเกินไป เมือเทียบกับความยาวของลูกตา
              ่
 อาจเกิดจากการทีกระจกตาโค้งมากเกินไป
                    ่
 หรือ
 ขนาดลูกตายาวเกินไป เมือมองวัตถุที่อยูไกล
                            ่             ่
 แสงรวมก่อนถึงจอประสาทตา ทาให้มองเห็น
 วัตถุทอยูไกลไม่ชัดเจน ในทางตรงกันข้าม
       ี่ ่
 แสงจากวัตถุที่อยู่ใกล้รวมใกล้จอประสาทตา
 ทาให้มองเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ได้ชดเจนกว่า ผู้ที่มี
                                   ั
 สายตาสันสามารถมองใกล้ได้ชดกว่ามองไกล
          ้                      ั
การแก้ไขปัญหา สายตาสั้น สามารถทาได้โดยใช้เลนส์เว้าช่วย
ลดกาลังการรวมแสงทีมีมากเกินไปเพือให้สามารถมองไกลได้ดี
                  ่             ่
2. สายตายาว (FAR-SIGHTEDNESSหรือ HYPEROPIA)
 เกิดจากกาลังการรวมแสงของตา
 น้อยเกินไป เมื่อเทียบกับความยาว
 ของลูกตา
อาจเกิดจากการที่กระจกตาแบน
 เกินไป หรือ
ขนาดลูกตาสั้นไป แสงถึงจอ
 ประสาทตาก่อนรวมเป็นจุด ภาพจะ
 ไม่ชัดทั้งใกล้และไกล
การแก้ไขภาวะสายตายาว สามารถทาได้โดยใช้เลนส์นูน
เพิ่มกาลังการรวมแสงเพื่อให้สามารถมองเห็นได้ดี
3. สายตาเอียง (ASTIGMATISM)
สายตาเอียงเกิดจากกาลังการรวมแสงของตาในแนวต่างๆ
 ไม่เท่ากัน
มักเกิดจากกระจกตาไม่กลม เปรียบได้กับผิวความโค้ง
 ด้านข้างของไข่ไก่ หรือลูกฟุตบอล
ภาวะนี้มักเกิดร่วมกับภาวะสายตาสั้นหรือยาวโดยกาเนิด
ทาให้เห็นภาพซ้อน ผู้ที่มีสายตาสั้นร่วมกับสายตาเอียง จะ
 ยังคงมองใกล้ได้ดีกว่ามองไกล แต่ภาพที่เห็นจะไม่ชัดเจน
 แม้ว่าจะใกล้ก็ตาม
ตรวจสอบสายตาเอียง
สายตาปกติจะเห็นเส้นตรงสีขาวทุกเส้นชัดทุกแนว
สายตาเอียงจะเห็นเส้นตรงสีขาวบางแนวไม่ชัด
การแก้ไขสายตาเอียงโดยการใช้แว่นสายตา จะต้องใช้เลนส์ชนิด
พิเศษเรียกว่า CYLINDRICAL LENS เพือใช้ปรับกาลังการรวม
                                  ่
แสงที่แตกต่างกันในระยะใกล้และไกล
4. สายตายาวตามอายุ (PRESBYOPIA)

เมื่อมีอายุ  38 ปี คนทั่วไปซึ่งเคยมองเห็นได้ดทั้งใกล้และ
                                              ี
  ไกล โดยไม่ต้องใช้แว่น จะเริ่มสังเกตว่าการมองใกล้เริ่ม
  เป็นปัญหา สายตายาวตามอายุ เกิดจากความเสื่อมของ
  กล้ามเนื้อตาที่ใช้ในการมองใกล้ ซึ่งต่างจากสายตายาว
  โดยกาเนิดตรงที่ สายตายาวตามอายุจะมีปัญหาในการมอง
  ใกล้เท่านั้น ส่วนสายตายาวโดยกาเนิดจะมีปัญหาทั้งการ
  มองใกล้และมองไกล เพราะฉะนั้นผู้ที่มีทั้งสายตายาวโดย
  กาเนิดและสายตายาวตามอายุจาเป็นต้องใช้แว่นเพือใช้  ่
  มองทั้งใกล้และไกล
การผ่าตัดรักษาภาวะสายตาผิดปกติ (REFRACTIVE SURGERY)
  ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาให้แก่ผู้ที่ไม่สามารถ (หรือไม่
 ต้องการ) ใส่แว่นหรือคอนแทคเลนส์ จากเหตุผลต่างๆ ข้างต้น
 และได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลาหลายสิบปี จากวิธี
 กรีดกระจกตา (RK หรือ Radial Keratotomy) มาจนถึงการ
 ใช้เอ็กไซเมอร์เลเซอร์ (Excimer Laser) ขัดผิวกระจกตา
 โดยตรงที่เรียกว่า Photorefractive Keratectomy
 (PRK) จนถึงปัจจุบันนี้วิธีที่ปลอดภัย แม่นยาและทันสมัยที่สุด
 คือ เลสิค (LASIK)
PRK (PHOTOREFRACTIVE KERATECTOMY)

PRK   เป็นวิธการผ่าตัดรักษาสายตาผิดปกติ (สายตาสัน สายตา
              ี                                     ้
 ยาวโดยกาเนิด และสายตาเอียง) แบบถาวรวิธีหนึ่ง โดยการ
 ลอกผิวกระจกตาที่อยู่ด้านนอกสุด (ที่เรียกว่า
 Epithelium) ของกระจกตาออกก่อน ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายผิว
 ถลอก แล้วใช้ Excimer Laser ปรับแต่งความโค้งของผิว
 กระจกตาโดยตรง วิธีนี้เป็นวิธีที่มีมาก่อนเลสิค หลายสิบปี และ
 ยังใช้จนถึงปัจจุบัน
ขั้นตอนของวิธี PRK




 ลอกผิว        มีลักษณะ   ใช้ Excimer    ปิดกระจกตา
 กระจกตาที่    คล้ายผิว   Laser          ด้วย
 อยู่ด้านนอก                             คอนแทค
               ถลอก       ปรับแต่งความ   เสนส์
 สุดออก                   โค้งของผิว     แบบไม่มีค่า
                          กระจกตา        สายตา
                          โดยตรง
จะทา PRK ในกรณีใด
                           แพทย์จะพิจารณาทา PRK ในคนไข้ที่
สายตาสั้น และเอียงไม่เกิน 800 แต่กระจกตาบาง
- มีประวัติกระจกตาถลอกง่าย หรือมี Recurrent Erosion
- มีภาวะตาแห้งกว่าปกติและรักษายาก
- เหตุผลทางอาชีพ เช่น สอบเป็นนักบิน
- ผู้ที่เป็นโรคต้อหินในบางราย ซึ่งแพทย์เฉพาะทางต้อหินพิจารณา
  แล้วว่าสามารถรักษาสายตาผิดปกติได้
- ผู้ที่มีความโค้งกระจกตาผิดรูปไม่เหมาะที่จะแยกชั้นกระจกตา
ข้อดีของการรักษาด้วยวิธี PRK
- การรักษาภาวะสายตาผิดปกติอย่างถาวร
- มีโอกาสเกิดผลข้างเคียงน้อย
- สามารถมองเห็นได้ทันทีหลังการผ่าตัด แต่อาจจะยังไม่คมชัด
  เต็มที่ในวันแรก
- ไม่ต้องฉีดยาชา เพียงแต่ใช้ยาชาหยอดตา และไม่มีการเย็บ
  แผล
- กลับบ้านได้ทันทีหลังการผ่่าตัด
เรามองเห็นได้อย่างไร
กลไกการมองเห็น
เยื่อหุ้มเซลล์รปแท่งจะมีสารสีม่วงแดงชื่อ
                ู                      Rhodopsin ฝังตัวอยู่
 สารชนิดนี้ประกอบด้วยโปรตีน Opsin รวมกับสาร Retinal
 (วิตามิน A ) ซึ่งไวต่อแสง
ในที่ไม่มีแสง Opsin และ Retinal จะเกาะกัน เมื่อมีแสงมา
 กระตุ้น ทาให้โมเลกุลของ Retinal เปลี่ยนจากโครงสร้างจาก
 แบบ Cis เป็นแบบ Trans ทาให้ไม่สามารถเกาะกับ Opsin ได้
 การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทาให้เกิดกระแสประสาทผ่าน
 เส้นประสาทสมองคู่ที่สอง ส่งไปยังสมองเพื่อแปลข้อมูล ถ้าไม่มี
 แสง Retinal จะกลับมารวมกับ Opsin อีกครั้งหนึ่ง
กลไกการมองเห็น ( VISUAL MECHANISMS )

                       การที่สมองสามารถแปลภาพวัตถุ
                       ออกมาเป็นสีต่างๆได้มากมาย
                       เพราะมีการกระตุ้นเซลล์รูปกรวย
                       ที่ไวต่อแสงสีต่างๆอาจจะพร้อม
                       หรือไม่พร้อมกัน
                       และด้วยปริมาณความเข้มของ
                       แสงสีที่ต่างกัน จึงเกิดการผสม
                       ของแสงสีต่างๆขึ้น
การผสมแสงสีที่เกิดจากแสงสีต่างๆ
หัวลูกศรเข้าหากัน = แสงสีนั้นมาผสมกัน
แสงสีที่อยู่ระหว่างหัวลูกศร = แสงสีใหม่ที่เกิดจากการผสมแสงสี
มองเห็นวัตถุสขาว : เซลล์รปกรวยทีไวต่อแสงสิแดง - แสงสินาเงิน -แสงสีขียว จะ
             ี             ู    ่                     ้
ถูกกระตุนพร้อมกันและปริมาณเท่าๆกัน เนืองจากแสงขาวเกิดจาก
        ้                             ่
แสงสีแสงสีแดง - แสงสีนาเงิน -แสงสีเขียวรวมกัน
                         ้
มองเห็นวัตถุสีม่วง : เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง - แสงสีน้าเงิน
ถูกกระตุ้นพร้อมกันและปริมาณเท่าๆกัน
มองเห็นวัตถุสีชมพู : เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง แสงสีน้าเงินและแสงสีขียว
ถูกกระตุ้นพร้อมกันโดยแสงสีแดงถูกกระตุ้นมากกว่าแสงสีน้าเงินและแสงสีขียว
วิตามินที่มผลต่อการมองเห็น
             ี

ถ้าขาดวิตามินเอ   จะทาให้เราเป็นโรคตาฟาง ( Night
 Blindness ) ในเวลากลางคืน หรือถ้าใช้สายตาใช้สายตา
 ในที่ที่มีแสงสว่างจ้ามากเกินไป จะทาให้ตาพร่ามัว เพราะ
 Retinal รวมตัวกับ Opsin ได้น้อย
น่าคิด !! ถ้าเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสี
ใดเกิดผิดปกติการมองเห็นสีของวัตถุจะ
ผิดปกติหรือไม่
โรคตาบอดสี

การบกพร่องของ    Cone Cell ทาให้เป็นโรคตาบอดสี
 ส่วนมากเป็นโรคตาบอดสีแดงและสีเขียว ความผิดปกติที่
 เกิดขึนส่วนใหญ่เกิดมาจากความผิดปกติทางพันธุกรรมบน
       ้
 โครโมโซม X
ภาพที่คนตาบอดสีมองเห็น   ภาพที่คนตาปกติมองเห็น
มาทดสอบตาบอดสีกันเถอะ
นักเรียนอ่านตัวเลขในวงกลม
มาดูกันหน่อย....ภาพอะไรเอ่ย
Eyepresent
Eyepresent
Eyepresent

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสารdnavaroj
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 

Mais procurados (20)

การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Semelhante a Eyepresent

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้องKru_sawang
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์parinya
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2karuehanon
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
ความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไข
ความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไขความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไข
ความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไขPinkk Putthathida
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1Cat Capturer
 

Semelhante a Eyepresent (20)

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
ความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไข
ความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไขความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไข
ความผิดปกติทางสายตาและวิธีแก้ไข
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 

Mais de Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Mais de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

Eyepresent