SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 42
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม
การวินิจฉัยโรค
         ปัจจุบันมีการนาเอาเทคโนโลยีของDNAมาใช้ในการวินิจฉัยโรคที่เกิด
จากการติดเชื้อต่างๆ เช่น เชื้อไวรัส โดยการใช้เทคนิคPCR เพื่อตรวจสอบ
ว่ามีจีโมนของไวรัสอยู่ในสิ่งมีชีวิตนั้นหรือไม่ ซึ่งเป็นเทคนิคที่มีความไวสูง
และสามารถตรวจพบได้โดยมีตัวอย่างเพียงเล็กน้อย เทคนิคนี้ได้นามาใช้ใน
การตรวจวิเคราะห์การติดเชื้อ HIVเป็นต้น
         จากความรู้ทางพันธุศาสตร์ การค้นพบเครื่องหมายทางพันธุกรรม
เชื่อมโยงกับแอลลีลที่ก่อโรค และลาดับนิวคลีโอไทด์ จึงสามารถนาไปใช้ใน
การตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมก่อนจะมีอาการของโรคหรือเป็นเพียง
พาหะ ซึ่งทาให้สามารถป้องกันการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวได้อย่างถูกต้อง
การบาบัดด้วยยีน

     จากความรู้เกี่ยวกับความผิดปกติต่างๆในคนที่เกิดความบกพร่อง
ของยีน หากสามารถใส่ยีนที่ปกติเข้าไปในเซลล์ร่างกาย หรือ
เนื้อเยื่อที่แสดงอาการผิดปกติ แล้วทาให้ยีนนั้นแสดงออกเมื่อมีสาร
โปรตีนที่ปกติในบริเวณดังกล่าว จึงอาจเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วย
ทาให้บาบัดอาการบกพร่องที่เกิดขึ้นได้
ในปัจจุบันเทคนิคหนึ่งที่ใช้ในการถ่ายยีนปกติ เพื่อใช้ในการ
ทายีนบาบัด คือการใช้ไวรัสชนิดหนึ่งเป็นตัวนายีนที่ต้องการถ่าย
เข้าสู่เซลล์คน ซึ่งยีนของไวรัสที่เป็นอันตรายต่อคนจะถูกตัดทิ้ง แล้ว
ใส่ยีนของคนที่ต้องการเข้าไปแทนที่ ไวรัสที่สร้างขึ้นใหม่นี้จะมียีนที่
ต้องการแทรกอยู่ และจะมีความสามารถในการแทรกจีโนมของตัว
มันเข้าสู่โครโมโซมคนได้ แต่ไม่สามารถจาลองตัวเองเองเพิ่มจานวน
ได้ เนื่องจากยีนที่ทาหน้าที่ดังกล่าวที่มีอยู่เดิมในไวรัสได้ถูกตัดทิ้งไป
แล้ว
อย่างไรก็ดีการบาบัดด้วยยีนยังไม่ที่แพร่หลาย และต้องใช้ด้วยความ
ระมัดระวังอย่างยิ่ง เนื่องจากยังมีปัญหาทางด้านเทคนิคในการ
ใช้ ตัวอย่างเช่น
- การควบคุมกิจกรรมของยีนที่ใส่ให้กับเซลล์ให้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ที่
ต้องการอย่างเหมาะสมได้อย่างไร
- การแทรกตัวของยีนเข้าสูจีโนมของคนทาอย่างไร
                            ่
- เมื่อแทรกแล้วจึงจะไม่ไปทาให้เกิดมิวเทชันในยีนอื่นที่ปกติอยู่แต่เดิม
- และไวรัสที่ใช้เป็นพาหะในการนายีนเข้าสู่จีโนมคนนั้นสามารถบรรจุยีน
ได้อย่างจากัด ไม่สามารถใส่ยีนที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษา
วิธีการหรือเทคนิคในมีความเหมาะสมต่อการใช้ยีนบาบัดให้มากขึ้น
นอกจากนี้ในการทายีนบาบัด ยังมีข้อโต้แย้งเชิงจริยธรรมเกิดขึ้น
ในสังคม ว่าหากเราทราบความผิดปกติของยีนต่างๆแล้ว เราควร
บาบัดข้อบกพร่องในเซลล์ตั้งต้นที่จะสร้างเซลล์ไข่และตัวอสุจิหรือไม่
หากอนุญาตให้มีการบาบัดในลักษณะดังกล่าว จะมีผลต่อ
วิวัฒนาการของมนุษย์หรือไม่ในอนาคต
การสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม
   การประยุกต์เทคโนโลยีเกี่ยวกับ DNA มาใช้ในเชิงเภสัชกรรมเป็นการ
ประยุกต์ใช้ที่มีมาเป็นเวลาหลายสิบปี โดยมีการสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม
เป็นจานวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผลิตโปรตีน
      การผลิตฮอร์โมนอินซูลิน เป็นตัวอย่างแรกที่นาเทคนิคทาง DNA มาใช้
  ในการผลิตสารที่ใช้ในเชิงเภสัชกรรมเพื่อรักษาโรคเบาหวาน ผู้ป่วย
  โรคเบาหวานจาเป็นต้องได้รับอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับน้าตาล จากการตัด
  และต่อ DNA ให้มียีนที่สร้างอินซูลิน แล้วใส่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย
  เพื่อให้เกิดการแสดงออกและสร้างพอลิเพปไทด์ที่ต้องการ จากนั้นจึงนาเซลล์
  ไปเพื่อเพิ่มจานวนยีนที่สร้างสายพอลิเพปไทด์ดังกล่าว และผลิตอินซูลินที่
  ทางานได้
การผลิตฮอร์โมนอินซูลิน
การใช้พันธุวิศวกรรมเพื่อผลิตโปรตีน หรือฮอร์โมนที่บกพร่องใน
มนุษย์ นอกจากอินซูลินแล้วยังใช้พันธุวิศวกรรมในการผลิตโกรท
ฮอร์โมน เพื่อที่รักษาเด็กที่เจริญเติบโตเป็นคนแคระ เนื่องจากได้รับ
โกรทฮอร์โมนไม่เพียงพอ เป็นต้น
นอกจากการผลิตฮอร์โมนเพื่อใช้ทดแทนในคนที่มีความบกพร่องของ
ฮอร์โมนดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีการประยุกต์ใช้ในการผลิตยาเพื่อรักษา
โรคบางชนิดอีกด้วย เช่น ใช้ในการผลิตยาที่จะยับยั้งไวรัส HIV
โดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในการสร้างโมเลกุลของโปรตีนที่จะ
ป้องกันหรือเลียนแบบตัวรับที่ HIV ใช้ในการเข้าสู่เซลล์ ซึ่งตัวรับเหล่านี้
จะอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของคน หากมีโมเลกุลที่เลียนแบบตัวรับเหล่านี้อยู่ใน
กระแสเลือด HIV จะเข้าเกาะกับโมเลกุลเหล่านี้แทนที่จะเกาะที่ตัวรับที่
เซลล์เม็ดเลือดขาว แล้วเข้าทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ตัวยาเหล่านี้จึงสามารถ
ยับยั้งการทางานของ HIV ได้
การใช้พันธุวิศวกรรมยังสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการผลิต
วัคซีน แต่เดิมนั้นใช้วัคซีนเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคที่เกิดจากไวรัส
โดยใช้ไวรัสที่ไม่สามารถก่อโรค เพราะได้รับสารเคมี หรือวิธีทาง
กายภาพบางอย่าง หรือเป็นไวรัสในสายพันธุ์ที่ไม่นาโรค มาฉีด
ให้กับคน เพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน แต่เมื่อการศึกษาในระดับ
โมเลกุลเกี่ยวกับไวรัสมีความชัดเจนขึ้น จนทราบว่าโปรตีนชนิดใดที่
ผิวของไวรัสที่เป็นตัวกระตุ้นภูมิคุ้มกันในคนได้ ก็สามารถใช้วิธีทาง
พันธุวิศวกรรมตัดต่อ เฉพาะยีนที่เป็นต้นแบบในการสร้างโปรตีน
ชนิดนั้น แล้วใช้โปรตีนดังกล่าวเป็นแอนติเจนในการกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันแทนการใช้ไวรัสซึ่งทาให้มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น
การประยุกต์ใช้ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์
•     DNA เป็นสารพันธุกรรม ซึ่ง DNA ของคนๆเดียวกันไม่ว่าจะมาจาก
    เซลล์ส่วนใดของร่างกายจะมีรูปแบบที่เหมือนกัน ดังนั้น DNA จึงเป็น
    เหมือนสิ่งที่บอกให้รู้ว่าคนๆนั้นเป็นใครและแตกต่างจากคนอื่นอย่างไร
โดยทั่วไปแล้วการที่จะบอกได้ว่าคนๆนั้นเป็นใคร
  จะพิจารณาจากรูปร่างหน้าตา วัน เดือน ปีเกิด ตามข้อมูลในบัตรประชาชน หรือ หนังสือ
 เดินทาง และถ้าจะให้ชัดเจนยิ่งขึ้นอาจดูจากรอยแผลเป็นหรือลายพิมพ์นิ้วมือ อย่างไรก็ตามลักษณะ
 อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามอายุ หรือจากอุบัติเหตุ หรือจากสารเคมี แม้ว่าลายพิมพ์นิ้วมือจะไม่
 สามารถบอกความสัมพันธ์ทางสายเลือดได้ว่าลายพิมพ์ นิ้วมือของลูกนั้นส่วนใดได้มาจากพ่อหรือ
 แม่ แต่ลายพิมพ์ DNA สร้างมาจาก DNA ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่อย่างละครึ่งและ
 เปลี่ยนแปลงไม่ได้ จึงมีลักษณะเฉพาะบุคคล ซึ่งทาให้สามารถบอกความแตกต่างของบุคคล
 ได้ ความแตกต่างที่มีความจาเพาะของแต่ละบุคคลนี้เอง เราจึงนามาใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน เช่น
 การพิสูจน์ตัวบุคคล การพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายเลือด การตรวจทางนิติเวชศาสตร์เพื่อหา
 ผู้กระทาความผิด เป็นต้น และจากความแตกต่างที่มีเฉพาะบุคคล จึงทาให้บุคคลมีรูปแบบ
 ของ DNA ที่แตกต่างกัน เมื่อใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การใช้ RFLP marker ตรวจสอบ จะเกิด
 เป็นแถบ DNA รูปแบบของแถบ DNA (DNA band) ที่เป็นความแตกต่างของขนาด
 ชิ้น DNA ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล เรียกว่า ลายพิมพ์ DNA (DNA fingerprint) เพราะ
 โอกาสที่คนสองคน(ที่ไม่ใช่ฝาแฝดแท้) จะมีรูปแบบของลายพิมพ์ DNA เหมือนกันมีน้อยมาก
(ลายพิมพ์ DNA (DNA fingerprint)
นอกจากนี้ได้มีการใช้ลายพิมพ์ DNA เพื่อพิสูจน์ความเกี่ยวพันในคดีอาญา
ที่รุนแรง เช่น ฆาตกรรม ทาร้ายร่างกาย ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานสาคัญ
อย่างหนึ่งประกอบการพิจารณาคดีศาล ตัวอย่างเช่น ในคดีฆาตกรรมคดี
หนึ่ง ได้นาคราบเลือดของฆาตกรที่พบในสถานที่เกิดเหตุและเลือดของผู้ต้อง
สงสัยจานวน 7 คน มาทาลายพิมพ์ DNA และนามาเปรียบเทียบกัน
       เมื่อนาลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้องสงสัยมาเปรียบเทียบกับลาย
พิมพ์ DNA ของคราบเลือดฆาตกรพบว่าเป็นดังนี้
การเปรียบเทียบลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้องสงสัยกับคราบเลือดฆาตกร
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

• การทาฟาร์มสัตว์เพื่อสุขภาพของมนุษย์
• ในการใช้เทคโนโลยี DNA เพื่อปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในมีลักษณะที่ดีขึ้น
  เช่นเดียวกับเป้าหมายหนึ่งคือการในการปรับปรุงพันธุ์สตว์ที่อาศัยการผสม
                                                           ั
  พันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์ดั้งเดิม แต่ด้วยเทคโนโลยี DNA ทาให้
  นักวิทยาศาสตร์สามารถหาได้ว่ายีนที่จะทาให้สัตว์ลักษณะตามต้องการ เช่น
  หมูมีไขมันต่า วัวให้นมเร็วขึ้นและมากขึ้น เมื่อทราบว่ายีนควบคุมลักษณะ
  นั้นคือยีนใดแล้วจึงย้ายยีนดังกล่าวเข้าสู่สัตว์ที่ต้องการ
• อีกรูปแบบหนึ่งของการทาฟาร์มในอนาคต คือการสร้างฟาร์ม
  สัตว์ที่เสมือนเป็นโรงงานผลิตยาเพื่อสกัดนาไปใช้ในการแพทย์
  ตัวอย่างเช่น การสร้างแกะที่ได้รับการถ่ายยีน เพื่อให้สร้างโปรตีนที่
  มีอยู่ในเลือดของคน และให้แกะผลิตน้านมที่มีโปรตีนนี้ โปรตีน
  ชนิดนี้จะยับยั้งเอนไซม์ที่ก่อให้เกิดการทาลายเซลล์ปอดในผู้ป่วยที่
  เป็นโรคซิสติกไฟโปรซิส (cystic fibrosis)และโรคระบบทางเดิน
  หายใจที่เรื้อรังชนิดอื่นๆ
• ในการสร้างสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม (transgenic animal) จะ
  เริ่มจากการแยกเซลล์ไข่ออกจากเพศเมีย และฉีดยีนที่ต้องการเข้าไป
  ในนิวเคลียสของเซลล์ไข่ (microinjection) ซึ่งจะมีเซลล์ไข่บาง
  เซลล์ยอมให้ยีนดังกล่าวแทรกเข้าในจีโนมของนิวเคลียสและ
  แสดงออกได้ จากนั้นทาการผสมพันธุ์ในหลอดทดลอง
  (in vitro fertilization)และถ่ายฝากเข้าในตัวแม่ผู้รับ เพื่อให้เจริญ
  เป็นตัวใหม่ ซึ่งจะมียีนที่ต้องการอยู่โดยไม่จาเป็นต้องมาจากสปีชีส์
  เดียวกัน
แอนดี (ANDi) ลิงดัดแปลงพันธุกรรมเรืองแสงตัวแรกของโลก
การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (trensgenic plant)
• การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม เพื่อให้มียีนของลักษณะตามที่ต้องการ
  เช่น การชะลอการสุกของผลไม้ หรือเพื่อยืดเวลาการเก็บรักษาผลผลิต
  มีความต้านทานโรคและแมลง มีความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงมีคุณค่า
  ด้านอาหารมากขึ้น เป็นต้น ในพืชสามารถทาได้ง่ายกว่าในสัตว์ เนื่องจาก
  มีการศึกษาเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในหลอดทดลอง ซึ่ง
  สามารถสร้างต้นพืชขึ้นใหม่จากเซลล์เนื้อเยื่อ หรือส่วนต่างๆ ของพืชได้
  เป็นเวลาหลายสิบปีมาแล้ว ดังนั้นถ้าสามารถถ่ายยีนเข้าสู่เซลล์พืชได้
  และพืชนั้นมีเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชรองรับอยู่แล้ว ก็สามารถ
  สร้างพืชดัดแปลงทางพันธุกรรมได้
ตัวอย่างการสร้างพืชดัดแปลงทางพันธุกรรม

• พืชดัดแปลงทางพันธุกรรมที่มีความสามารถในการต้านทาน
  แมลง โดยการถ่ายยีนบีทีที่สร้างสารพิษจากแบคทีเรีย(Bacillua
  Thuringiensis ; BT) สารพิษนี้สามารถทาลายตัวอ่อนของแมลง
  บางประเภทอย่างเฉพาะเจาะจง โดยไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิด
  อื่น เมื่อนายีนที่สร้างสารพิษไปใส่ในเซลล์ของพืช เช่น ฝ้าย
  ข้าวโพด มันฝรั่ง ยาสูบ มะเขือเทศ พืชเหล่านี้สามารถผลิตสาร
  ทาลายตัวหนอนที่มากัดกิน ทาให้ผลผลิตของพืชเหล่านี้
  เพิ่มขึ้น ลดการใช้สารเคมีหรือไม่ต้องใช้เลย
การเปรียบเทียบระหว่างฝ้ายที่มียีนบีที (ซ้าย)
และ ฝ้ายธรรมดา (ขวา)




                                      สมอฝ้ายจากต้นฝ้ายบีที
• พืชต้านทานต่อโรค นักวิจัยไทยสามารถดัดแปลงพันธุกรรมของมะละกอ
  ให้ต้านทานต่อโรคใบด่างจุดวงแหวน ซึ่งเกิดจากไวรัสชนิดหนึ่ง โดยนายีนที่
  สร้างโปรตีนเปลือกไวรัส (coat protein gene) ถ่ายฝากเข้าไปในเซลล์
  มะละกอ แล้วชักนาให้เป็นมะละกอสร้างโปรตีนดังกล่าว ทาให้สามารถ
  ต้านทานต่อเชื้อไวรัสได้ นอกจากนี้ยังมีการดัดแปลงพันธุกรรมของมันฝรั่ง
  ยาสูบ ให้มีความต้านทานต่อไวรัสที่มาทาลายได้
• พืชดัดแปลงทางพันธุกรรมทีสามารถต้านสารปราบวัชพืช เช่น นาเอา
                            ่
  ยีนที่ต้านทานสารปราบวัชพืชใส่เข้าไปในพืช เช่น ถั่วเหลือง ข้าวโพด
  ฝ้าย ทาให้สามารถต้านทานสารปราบวัชพืช ทาให้สารเคมีที่ปราบวัชพืช
  ไม่มีผลต่อพืชดังกล่าวและสามารถใช้ประโยชน์จากดินและปุ๋ยอย่างมี
  ประสิทธิภาพ การปลูกพืชหมุนเวียนยังทาได้ง่ายขึ้น ผลผลิตก็เพิ่มมากขึ้น
  ด้วย
พืชดัดแปลงทางพันธุกรรมที่มีคณค่าทางอาหาร
                             ุ
เพิ่มขึ้น เช่น ในกรณีของข้าวที่เป็นธัญพืชที่เป็น
อาหารหลักของโลก ได้มีนักวิทยาศาสตร์ นายีน
จากแดฟโฟดิล(Daffodils)และยีนจากแบคทีเรีย
Erwinia bretaria ถ่ายฝากให้ข้าว ทาให้ข้าว
สร้างวิตามินเอ ในเมล็ดได้ เรียกว่า ข้าวสีทอง
(golden rice)โดยหวังว่าการสร้างข้าวสีทอง
จะมีส่วนช่วยในการลดภาวะ
การขาดวิตามินในประเทศที่
ขาดแคลนอาหารในโลกได้
ข้าวทองหรือโกลเดนไรซ์ พัฒนาจากข้าวพันธุ์ญี่ปุ่น ข้าวทองหรือ
โกลเดนไรซ์2 พัฒนาจากข้าวสายพันธุ์อินดิคา
ที่มา www.biotec.or.th/biotechnology-th/Unit-
Halabala.asp
• ใน ส่วนของไม้ดอกไม้ประดับซึ่งมีมูลค่าสูง มีการศึกษาวิถีและกลไกของการ
   เปลี่ยนสีดอกในพืชหลายชนิด พืชต้นแบบที่ใช้ในการศึกษา คือ พิทเู นีย
   และสแนปดรากอน โดยมีบริษัทฟลอริยีน และบริษัท ซันทอรีของญี่ปุ่น
   เป็นผู้นาในการวิจัยด้านนี้ และประสบความสาเร็จในการทาคาร์เนชั่นและ
   ดอกกุหลาบให้เป็นสีน้าเงิน




ดอกคาร์เนชั่นดัดแปลงพันธุกรรมให้เป็นสีม่วง ของ บ.Florigene Flower ดอก
กุหลาบดัดแปลงพันธุกรรมให้เป็นสีม่วงของ บ.Suntory
ที่มา www.biotec.or.th/biotechnology-th/newsdetail.asp?id=3624
พืชดัดแปลงทางพันธุกรรม           พืชดัดแปลงพันธุกรรมอืนๆ เช่น ทาให้พืช
                                                        ่
เพื่อให้ยืดอายุของผลผลิตได้      ต้านทานความแห้งแล้ง ต้านทานดิน
ยาวนานขึน โดยนายีนที่มี
           ้                     เค็ม ดัดแปลงพืชให้แปลกและแตกต่างไป
ผลต่อเอนไซม์ที่สังเคราะห์เอ      จากเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับตลาดและความ
ทิลีนใส่เข้าไปในผลไม้ เช่น       ต้องการของมนุษย์มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม
มะเขือเทศ ทาให้มะเขือเทศสุก      พืชดัดแปลงพันธุกรรม
ช้าลง เนื่องจากไม่มีการสร้างเอ   (Genetically Modified Organism :
ทิลีน ลดความเน่าเสียของ          GMOs) ถึงจะมีประโยชน์มากมายแต่ก็ยังมีข้อ
มะเขือเทศ สามารถเก็บรักษา        โต้แย้งทางสังคมเป็นอย่างมากว่าอาจจะไม่
ได้นานขึ้นและขนส่งได้เป็น        ปลอดภัยกับผู้บริโภคและอาจก่อให้เกิดปัญหา
ระยะทางไกลขึ้น                   ทางด้านพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ความ
                                 หลากหลายทางชีวภาพ การมิวเทชันและอาจ
                                 เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมในอนาคตได้
• วิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้าในปัจจุบัน ทาให้เราสามารถเลือกซื้อผักผลไม้จาก
  การตัดแต่งพันธุกรรม หรือที่เรียกกันติดปากว่า จีเอ็มโอ (GMOs) ที่
  สามารถคัดเลือกพันธุ์ที่ดี และเติบโตขึ้นโดยปราศจากยาฆ่าแมลง ที่สาคัญ
  ยังสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นภายในบ้าน หรือตู้แช่ภายในห้างสรรพสินค้าได้
  นานถึง 15 วัน
• การตัดแต่งพันธุกรรมเพื่อให้เก็บความสดไว้ได้นานนี้ ยังสามารถใช้ได้กับผัก
  ผลไม้ประเภทอื่น ๆ เช่น มะละกอ กล้วย มะม่วง เป็นต้น
• ที่สาคัญ ผู้บริโภค คิดอย่างไรกับการบริโภค ผักและผลไม้ที่มาจากการตัด
  แต่งพันธุกรรมเหล่านี้
• พันธุ วิศวกรรมเพื่อผลิตพืชเวชกรรมกาลังมาแรง และมีแนวโน้มจะได้รับการ
  ยอมรับมากกว่าพืชอาหารพืชดัดแปลง
• พันธุ กรรมมีข้อได้เปรียบหลายประการที่ทาให้เป็นที่นิยมในปัจจุบัน เช่น ราคา
  ถูกกว่าการผลิตในยีสต์หรือแบคทีเรีย ราว 10–100 เท่า ขยายขนาดได้ง่าย
  ปลอดภัย ง่ายต่อการสกัดและการนาสารมาใช้
• ใน ปี พ.ศ. 2548 มีการผลิตยาสูบที่มีตัวยาสาหรับรักษาโรคมะเร็ง นอกจากนี้
  ยังมีงานวิจัยอื่นๆ เช่น การผลิตยีนภูมิคุ้มกันในน้านมคนให้อยู่ในน้านมข้าว
  การใช้ยีนจากหญิงที่เป็น หมัน ซึ่งมีฤทธิ์ทาลายสเปิร์มมาผลิตในข้าวโพด เพื่อทา
  ยาคุมกาเนิดใส่ในถุงยางอนามัย หรือการพัฒนาให้ข้าวโพดผลิตวัคซีนไวรัสตับ
  อักเสบ
มันฝรั่งตัดต่อพันธุกรรมสายพันธุ์นี้มีชื่อว่า Am flora ที่ปรับปรุง
พันธุ์โดยบริษัท BASF ที่ได้ทาการดัดแปลงพันธุกรรมในการให้ผล
ผลิตแป้งจากหัวมันนั้นอยู่ในรูปของโครงสร้างที่เป็นกิ่งสาขา
(Amylopectin) เกือบทั้งหมด ซึ่งจะแตกต่างจากแป้งที่มีอยู่ใน
หัวมันฝรั่งทั่วๆไปที่มีโครงสร้างของแป้งแบบผสมทั้ง แบบสายโซ่ตรง
(Amylose) และแบบกิ่งสาขา โดยผลผิตผลมันฝรั่งพวกนี้
จะไม่ได้มีจุดมุ่งหมายในการนามาบริโภค แต่จะนาไปใช้ใน
อุตสาหกรรมการทากระดาษและผลิตภัณฑ์กาวยึดเกาะ
ซึ่งจากการเปิดเผยของ Thornston Storck นักวิชาการ
พืชศาสตร์ของบริษัท BASF กล่าวว่า ทางบริษัทได้
ทาการวิจัยและทดสอบปลูกมันฝรั่งที่ตัดต่อพันธุกรรมนี้
มาเป็นเวลา 10 ปีแล้ว และเฝ้าติดตามถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งความ
ปลอดภัยทางด้านสุขภาพและสภาพแวดล้อมแล้ว ไม่มีผลเสียหาย
ใดๆเกิดขึ้นทั้งสิ้น
ฉลาก Genetically Modified Organisms (GMOs)

-Conventional Fruit Labels - Four digits starting with 4
ฉลากผลไม้ทั่วไป - มีตัวเลขสี่หลัก ขึ้นต้นด้วย 4 เช่น 4 xxx

- Organic Fruit Labels -Five digits and starts with number 9
ฉลากผลไม้ Organic ( ผลไม้ที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี) - มีตัวเลขห้าหลัก
ขึ้นต้นด้วย 9 เช่น 9 xxxx

-Genetically Modified Fruits (GMOs) -Start with the digit 8
ฉลากผลไม้ GMOs ( ผลไม้ที่ปลูกโดยใช้พันธ์ที่ผ่านการดัดแปลงทางพันธุกรรม)
- มีตัวเลขห้าหลัก ขึ้นต้นด้วย 8 เช่น 8xxxx
แอปเปิ้ล ที่มีรหัส 4922 แปลว่า แอปเปิ้ลนี้เป็นแอปเปิลทั่วๆ ไป ที่ปลูกด้วยการใส่ปุ๋ยปกติ

ถ้าแอปเปิ้ลติดสติ๊กเกอร์ มีรหัส 99222 แสดงว่าเป็นแอปเปิลที่ปลูกโดยวิธีปลอดสารเคมี และ
ปลอดภัย

ถ้าแอปเปิลติดสติ๊กเกอร์ มีรหัส 89222 อย่าซื้อ!!!!!!
แสดงว่าเป็นแอปเปิลที่ผ่านการดัดแปลงทางพันธุกรรม ( GMO)
ศูนย์ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดตรัง ประสบความสาเร็จในการพัฒนา
    และปลูกข้าวโพดเหนียวพันธุแฟนซีสีม่วง 111 และพันธุสีขาวม่วง 212 พบคุณสมบัติ
                                  ์                  ์
    เยี่ยมด้านการต่อต้านอนุมูลอิสระ ลดโอกาสการเกิดโรคมะเร็ง เตรียมเก็บเมล็ดพันธุ์ที่
    ผลิตได้รุ่นแรก เพื่อแจกจ่ายแก่เกษตรกรที่สนใจ
 จากการพัฒนาสายพันธุ์มาจาก ข้าวโพดสีม่วง
ผสมกับข้าวโพดเหนียว ทาให้ได้ข้าวโพดเหนียวสี
ม่วง ที่มีฝักใหญ่ รสชาตินุ่มลิ้น หวานและ
เหนียว โดย สีม่วงเข้มในเมล็ดนั้น เป็นสารแอน
โทไซยานิน ซึ่งมีคุณสมบัติในการต่อต้านอนุมูล
อิสระ ช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคมะเร็งชนิดเนือ   ้
งอก เสริมให้รางกายต่อต้านเชือโรคและสมาน
                ่               ้
แผล เสริมการทางานของเม็ดเลือดแดง ชะลอการ
เกิดไขมันอุดตันในหลอดเลือด ช่วยควบคุมระดับ
น้าตาลและชะลอความแก่
The End

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point   ยีนและโครโมโซมMicrosoft power point   ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point ยีนและโครโมโซมThanyamon Chat.
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 

Mais procurados (20)

แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point   ยีนและโครโมโซมMicrosoft power point   ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 

Destaque

โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

Destaque (18)

โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Semelhante a การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templatesmearnfunTamonwan
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17Pawin Numthavaj
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 

Semelhante a การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna (20)

biology DNA
biology DNAbiology DNA
biology DNA
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templates
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับGmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับ
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
plague
plagueplague
plague
 

Mais de Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 

Mais de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna

  • 3. การวินิจฉัยโรค ปัจจุบันมีการนาเอาเทคโนโลยีของDNAมาใช้ในการวินิจฉัยโรคที่เกิด จากการติดเชื้อต่างๆ เช่น เชื้อไวรัส โดยการใช้เทคนิคPCR เพื่อตรวจสอบ ว่ามีจีโมนของไวรัสอยู่ในสิ่งมีชีวิตนั้นหรือไม่ ซึ่งเป็นเทคนิคที่มีความไวสูง และสามารถตรวจพบได้โดยมีตัวอย่างเพียงเล็กน้อย เทคนิคนี้ได้นามาใช้ใน การตรวจวิเคราะห์การติดเชื้อ HIVเป็นต้น จากความรู้ทางพันธุศาสตร์ การค้นพบเครื่องหมายทางพันธุกรรม เชื่อมโยงกับแอลลีลที่ก่อโรค และลาดับนิวคลีโอไทด์ จึงสามารถนาไปใช้ใน การตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมก่อนจะมีอาการของโรคหรือเป็นเพียง พาหะ ซึ่งทาให้สามารถป้องกันการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวได้อย่างถูกต้อง
  • 4. การบาบัดด้วยยีน จากความรู้เกี่ยวกับความผิดปกติต่างๆในคนที่เกิดความบกพร่อง ของยีน หากสามารถใส่ยีนที่ปกติเข้าไปในเซลล์ร่างกาย หรือ เนื้อเยื่อที่แสดงอาการผิดปกติ แล้วทาให้ยีนนั้นแสดงออกเมื่อมีสาร โปรตีนที่ปกติในบริเวณดังกล่าว จึงอาจเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วย ทาให้บาบัดอาการบกพร่องที่เกิดขึ้นได้
  • 5. ในปัจจุบันเทคนิคหนึ่งที่ใช้ในการถ่ายยีนปกติ เพื่อใช้ในการ ทายีนบาบัด คือการใช้ไวรัสชนิดหนึ่งเป็นตัวนายีนที่ต้องการถ่าย เข้าสู่เซลล์คน ซึ่งยีนของไวรัสที่เป็นอันตรายต่อคนจะถูกตัดทิ้ง แล้ว ใส่ยีนของคนที่ต้องการเข้าไปแทนที่ ไวรัสที่สร้างขึ้นใหม่นี้จะมียีนที่ ต้องการแทรกอยู่ และจะมีความสามารถในการแทรกจีโนมของตัว มันเข้าสู่โครโมโซมคนได้ แต่ไม่สามารถจาลองตัวเองเองเพิ่มจานวน ได้ เนื่องจากยีนที่ทาหน้าที่ดังกล่าวที่มีอยู่เดิมในไวรัสได้ถูกตัดทิ้งไป แล้ว
  • 6. อย่างไรก็ดีการบาบัดด้วยยีนยังไม่ที่แพร่หลาย และต้องใช้ด้วยความ ระมัดระวังอย่างยิ่ง เนื่องจากยังมีปัญหาทางด้านเทคนิคในการ ใช้ ตัวอย่างเช่น - การควบคุมกิจกรรมของยีนที่ใส่ให้กับเซลล์ให้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ ต้องการอย่างเหมาะสมได้อย่างไร - การแทรกตัวของยีนเข้าสูจีโนมของคนทาอย่างไร ่ - เมื่อแทรกแล้วจึงจะไม่ไปทาให้เกิดมิวเทชันในยีนอื่นที่ปกติอยู่แต่เดิม - และไวรัสที่ใช้เป็นพาหะในการนายีนเข้าสู่จีโนมคนนั้นสามารถบรรจุยีน ได้อย่างจากัด ไม่สามารถใส่ยีนที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษา วิธีการหรือเทคนิคในมีความเหมาะสมต่อการใช้ยีนบาบัดให้มากขึ้น
  • 7. นอกจากนี้ในการทายีนบาบัด ยังมีข้อโต้แย้งเชิงจริยธรรมเกิดขึ้น ในสังคม ว่าหากเราทราบความผิดปกติของยีนต่างๆแล้ว เราควร บาบัดข้อบกพร่องในเซลล์ตั้งต้นที่จะสร้างเซลล์ไข่และตัวอสุจิหรือไม่ หากอนุญาตให้มีการบาบัดในลักษณะดังกล่าว จะมีผลต่อ วิวัฒนาการของมนุษย์หรือไม่ในอนาคต
  • 8. การสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม การประยุกต์เทคโนโลยีเกี่ยวกับ DNA มาใช้ในเชิงเภสัชกรรมเป็นการ ประยุกต์ใช้ที่มีมาเป็นเวลาหลายสิบปี โดยมีการสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม เป็นจานวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผลิตโปรตีน การผลิตฮอร์โมนอินซูลิน เป็นตัวอย่างแรกที่นาเทคนิคทาง DNA มาใช้ ในการผลิตสารที่ใช้ในเชิงเภสัชกรรมเพื่อรักษาโรคเบาหวาน ผู้ป่วย โรคเบาหวานจาเป็นต้องได้รับอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับน้าตาล จากการตัด และต่อ DNA ให้มียีนที่สร้างอินซูลิน แล้วใส่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย เพื่อให้เกิดการแสดงออกและสร้างพอลิเพปไทด์ที่ต้องการ จากนั้นจึงนาเซลล์ ไปเพื่อเพิ่มจานวนยีนที่สร้างสายพอลิเพปไทด์ดังกล่าว และผลิตอินซูลินที่ ทางานได้
  • 10. การใช้พันธุวิศวกรรมเพื่อผลิตโปรตีน หรือฮอร์โมนที่บกพร่องใน มนุษย์ นอกจากอินซูลินแล้วยังใช้พันธุวิศวกรรมในการผลิตโกรท ฮอร์โมน เพื่อที่รักษาเด็กที่เจริญเติบโตเป็นคนแคระ เนื่องจากได้รับ โกรทฮอร์โมนไม่เพียงพอ เป็นต้น
  • 11. นอกจากการผลิตฮอร์โมนเพื่อใช้ทดแทนในคนที่มีความบกพร่องของ ฮอร์โมนดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีการประยุกต์ใช้ในการผลิตยาเพื่อรักษา โรคบางชนิดอีกด้วย เช่น ใช้ในการผลิตยาที่จะยับยั้งไวรัส HIV โดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในการสร้างโมเลกุลของโปรตีนที่จะ ป้องกันหรือเลียนแบบตัวรับที่ HIV ใช้ในการเข้าสู่เซลล์ ซึ่งตัวรับเหล่านี้ จะอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของคน หากมีโมเลกุลที่เลียนแบบตัวรับเหล่านี้อยู่ใน กระแสเลือด HIV จะเข้าเกาะกับโมเลกุลเหล่านี้แทนที่จะเกาะที่ตัวรับที่ เซลล์เม็ดเลือดขาว แล้วเข้าทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ตัวยาเหล่านี้จึงสามารถ ยับยั้งการทางานของ HIV ได้
  • 12. การใช้พันธุวิศวกรรมยังสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการผลิต วัคซีน แต่เดิมนั้นใช้วัคซีนเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคที่เกิดจากไวรัส โดยใช้ไวรัสที่ไม่สามารถก่อโรค เพราะได้รับสารเคมี หรือวิธีทาง กายภาพบางอย่าง หรือเป็นไวรัสในสายพันธุ์ที่ไม่นาโรค มาฉีด ให้กับคน เพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน แต่เมื่อการศึกษาในระดับ โมเลกุลเกี่ยวกับไวรัสมีความชัดเจนขึ้น จนทราบว่าโปรตีนชนิดใดที่ ผิวของไวรัสที่เป็นตัวกระตุ้นภูมิคุ้มกันในคนได้ ก็สามารถใช้วิธีทาง พันธุวิศวกรรมตัดต่อ เฉพาะยีนที่เป็นต้นแบบในการสร้างโปรตีน ชนิดนั้น แล้วใช้โปรตีนดังกล่าวเป็นแอนติเจนในการกระตุ้น ภูมิคุ้มกันแทนการใช้ไวรัสซึ่งทาให้มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น
  • 13. การประยุกต์ใช้ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์ • DNA เป็นสารพันธุกรรม ซึ่ง DNA ของคนๆเดียวกันไม่ว่าจะมาจาก เซลล์ส่วนใดของร่างกายจะมีรูปแบบที่เหมือนกัน ดังนั้น DNA จึงเป็น เหมือนสิ่งที่บอกให้รู้ว่าคนๆนั้นเป็นใครและแตกต่างจากคนอื่นอย่างไร
  • 14. โดยทั่วไปแล้วการที่จะบอกได้ว่าคนๆนั้นเป็นใคร จะพิจารณาจากรูปร่างหน้าตา วัน เดือน ปีเกิด ตามข้อมูลในบัตรประชาชน หรือ หนังสือ เดินทาง และถ้าจะให้ชัดเจนยิ่งขึ้นอาจดูจากรอยแผลเป็นหรือลายพิมพ์นิ้วมือ อย่างไรก็ตามลักษณะ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามอายุ หรือจากอุบัติเหตุ หรือจากสารเคมี แม้ว่าลายพิมพ์นิ้วมือจะไม่ สามารถบอกความสัมพันธ์ทางสายเลือดได้ว่าลายพิมพ์ นิ้วมือของลูกนั้นส่วนใดได้มาจากพ่อหรือ แม่ แต่ลายพิมพ์ DNA สร้างมาจาก DNA ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่อย่างละครึ่งและ เปลี่ยนแปลงไม่ได้ จึงมีลักษณะเฉพาะบุคคล ซึ่งทาให้สามารถบอกความแตกต่างของบุคคล ได้ ความแตกต่างที่มีความจาเพาะของแต่ละบุคคลนี้เอง เราจึงนามาใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน เช่น การพิสูจน์ตัวบุคคล การพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายเลือด การตรวจทางนิติเวชศาสตร์เพื่อหา ผู้กระทาความผิด เป็นต้น และจากความแตกต่างที่มีเฉพาะบุคคล จึงทาให้บุคคลมีรูปแบบ ของ DNA ที่แตกต่างกัน เมื่อใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การใช้ RFLP marker ตรวจสอบ จะเกิด เป็นแถบ DNA รูปแบบของแถบ DNA (DNA band) ที่เป็นความแตกต่างของขนาด ชิ้น DNA ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล เรียกว่า ลายพิมพ์ DNA (DNA fingerprint) เพราะ โอกาสที่คนสองคน(ที่ไม่ใช่ฝาแฝดแท้) จะมีรูปแบบของลายพิมพ์ DNA เหมือนกันมีน้อยมาก
  • 16. นอกจากนี้ได้มีการใช้ลายพิมพ์ DNA เพื่อพิสูจน์ความเกี่ยวพันในคดีอาญา ที่รุนแรง เช่น ฆาตกรรม ทาร้ายร่างกาย ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานสาคัญ อย่างหนึ่งประกอบการพิจารณาคดีศาล ตัวอย่างเช่น ในคดีฆาตกรรมคดี หนึ่ง ได้นาคราบเลือดของฆาตกรที่พบในสถานที่เกิดเหตุและเลือดของผู้ต้อง สงสัยจานวน 7 คน มาทาลายพิมพ์ DNA และนามาเปรียบเทียบกัน เมื่อนาลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้องสงสัยมาเปรียบเทียบกับลาย พิมพ์ DNA ของคราบเลือดฆาตกรพบว่าเป็นดังนี้
  • 18. การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร • การทาฟาร์มสัตว์เพื่อสุขภาพของมนุษย์ • ในการใช้เทคโนโลยี DNA เพื่อปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในมีลักษณะที่ดีขึ้น เช่นเดียวกับเป้าหมายหนึ่งคือการในการปรับปรุงพันธุ์สตว์ที่อาศัยการผสม ั พันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์ดั้งเดิม แต่ด้วยเทคโนโลยี DNA ทาให้ นักวิทยาศาสตร์สามารถหาได้ว่ายีนที่จะทาให้สัตว์ลักษณะตามต้องการ เช่น หมูมีไขมันต่า วัวให้นมเร็วขึ้นและมากขึ้น เมื่อทราบว่ายีนควบคุมลักษณะ นั้นคือยีนใดแล้วจึงย้ายยีนดังกล่าวเข้าสู่สัตว์ที่ต้องการ
  • 19.
  • 20. • อีกรูปแบบหนึ่งของการทาฟาร์มในอนาคต คือการสร้างฟาร์ม สัตว์ที่เสมือนเป็นโรงงานผลิตยาเพื่อสกัดนาไปใช้ในการแพทย์ ตัวอย่างเช่น การสร้างแกะที่ได้รับการถ่ายยีน เพื่อให้สร้างโปรตีนที่ มีอยู่ในเลือดของคน และให้แกะผลิตน้านมที่มีโปรตีนนี้ โปรตีน ชนิดนี้จะยับยั้งเอนไซม์ที่ก่อให้เกิดการทาลายเซลล์ปอดในผู้ป่วยที่ เป็นโรคซิสติกไฟโปรซิส (cystic fibrosis)และโรคระบบทางเดิน หายใจที่เรื้อรังชนิดอื่นๆ
  • 21. • ในการสร้างสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม (transgenic animal) จะ เริ่มจากการแยกเซลล์ไข่ออกจากเพศเมีย และฉีดยีนที่ต้องการเข้าไป ในนิวเคลียสของเซลล์ไข่ (microinjection) ซึ่งจะมีเซลล์ไข่บาง เซลล์ยอมให้ยีนดังกล่าวแทรกเข้าในจีโนมของนิวเคลียสและ แสดงออกได้ จากนั้นทาการผสมพันธุ์ในหลอดทดลอง (in vitro fertilization)และถ่ายฝากเข้าในตัวแม่ผู้รับ เพื่อให้เจริญ เป็นตัวใหม่ ซึ่งจะมียีนที่ต้องการอยู่โดยไม่จาเป็นต้องมาจากสปีชีส์ เดียวกัน
  • 23. การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (trensgenic plant) • การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม เพื่อให้มียีนของลักษณะตามที่ต้องการ เช่น การชะลอการสุกของผลไม้ หรือเพื่อยืดเวลาการเก็บรักษาผลผลิต มีความต้านทานโรคและแมลง มีความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงมีคุณค่า ด้านอาหารมากขึ้น เป็นต้น ในพืชสามารถทาได้ง่ายกว่าในสัตว์ เนื่องจาก มีการศึกษาเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในหลอดทดลอง ซึ่ง สามารถสร้างต้นพืชขึ้นใหม่จากเซลล์เนื้อเยื่อ หรือส่วนต่างๆ ของพืชได้ เป็นเวลาหลายสิบปีมาแล้ว ดังนั้นถ้าสามารถถ่ายยีนเข้าสู่เซลล์พืชได้ และพืชนั้นมีเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชรองรับอยู่แล้ว ก็สามารถ สร้างพืชดัดแปลงทางพันธุกรรมได้
  • 24. ตัวอย่างการสร้างพืชดัดแปลงทางพันธุกรรม • พืชดัดแปลงทางพันธุกรรมที่มีความสามารถในการต้านทาน แมลง โดยการถ่ายยีนบีทีที่สร้างสารพิษจากแบคทีเรีย(Bacillua Thuringiensis ; BT) สารพิษนี้สามารถทาลายตัวอ่อนของแมลง บางประเภทอย่างเฉพาะเจาะจง โดยไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิด อื่น เมื่อนายีนที่สร้างสารพิษไปใส่ในเซลล์ของพืช เช่น ฝ้าย ข้าวโพด มันฝรั่ง ยาสูบ มะเขือเทศ พืชเหล่านี้สามารถผลิตสาร ทาลายตัวหนอนที่มากัดกิน ทาให้ผลผลิตของพืชเหล่านี้ เพิ่มขึ้น ลดการใช้สารเคมีหรือไม่ต้องใช้เลย
  • 26. • พืชต้านทานต่อโรค นักวิจัยไทยสามารถดัดแปลงพันธุกรรมของมะละกอ ให้ต้านทานต่อโรคใบด่างจุดวงแหวน ซึ่งเกิดจากไวรัสชนิดหนึ่ง โดยนายีนที่ สร้างโปรตีนเปลือกไวรัส (coat protein gene) ถ่ายฝากเข้าไปในเซลล์ มะละกอ แล้วชักนาให้เป็นมะละกอสร้างโปรตีนดังกล่าว ทาให้สามารถ ต้านทานต่อเชื้อไวรัสได้ นอกจากนี้ยังมีการดัดแปลงพันธุกรรมของมันฝรั่ง ยาสูบ ให้มีความต้านทานต่อไวรัสที่มาทาลายได้
  • 27.
  • 28. • พืชดัดแปลงทางพันธุกรรมทีสามารถต้านสารปราบวัชพืช เช่น นาเอา ่ ยีนที่ต้านทานสารปราบวัชพืชใส่เข้าไปในพืช เช่น ถั่วเหลือง ข้าวโพด ฝ้าย ทาให้สามารถต้านทานสารปราบวัชพืช ทาให้สารเคมีที่ปราบวัชพืช ไม่มีผลต่อพืชดังกล่าวและสามารถใช้ประโยชน์จากดินและปุ๋ยอย่างมี ประสิทธิภาพ การปลูกพืชหมุนเวียนยังทาได้ง่ายขึ้น ผลผลิตก็เพิ่มมากขึ้น ด้วย
  • 29.
  • 30. พืชดัดแปลงทางพันธุกรรมที่มีคณค่าทางอาหาร ุ เพิ่มขึ้น เช่น ในกรณีของข้าวที่เป็นธัญพืชที่เป็น อาหารหลักของโลก ได้มีนักวิทยาศาสตร์ นายีน จากแดฟโฟดิล(Daffodils)และยีนจากแบคทีเรีย Erwinia bretaria ถ่ายฝากให้ข้าว ทาให้ข้าว สร้างวิตามินเอ ในเมล็ดได้ เรียกว่า ข้าวสีทอง (golden rice)โดยหวังว่าการสร้างข้าวสีทอง จะมีส่วนช่วยในการลดภาวะ การขาดวิตามินในประเทศที่ ขาดแคลนอาหารในโลกได้
  • 31. ข้าวทองหรือโกลเดนไรซ์ พัฒนาจากข้าวพันธุ์ญี่ปุ่น ข้าวทองหรือ โกลเดนไรซ์2 พัฒนาจากข้าวสายพันธุ์อินดิคา ที่มา www.biotec.or.th/biotechnology-th/Unit- Halabala.asp
  • 32. • ใน ส่วนของไม้ดอกไม้ประดับซึ่งมีมูลค่าสูง มีการศึกษาวิถีและกลไกของการ เปลี่ยนสีดอกในพืชหลายชนิด พืชต้นแบบที่ใช้ในการศึกษา คือ พิทเู นีย และสแนปดรากอน โดยมีบริษัทฟลอริยีน และบริษัท ซันทอรีของญี่ปุ่น เป็นผู้นาในการวิจัยด้านนี้ และประสบความสาเร็จในการทาคาร์เนชั่นและ ดอกกุหลาบให้เป็นสีน้าเงิน ดอกคาร์เนชั่นดัดแปลงพันธุกรรมให้เป็นสีม่วง ของ บ.Florigene Flower ดอก กุหลาบดัดแปลงพันธุกรรมให้เป็นสีม่วงของ บ.Suntory ที่มา www.biotec.or.th/biotechnology-th/newsdetail.asp?id=3624
  • 33. พืชดัดแปลงทางพันธุกรรม พืชดัดแปลงพันธุกรรมอืนๆ เช่น ทาให้พืช ่ เพื่อให้ยืดอายุของผลผลิตได้ ต้านทานความแห้งแล้ง ต้านทานดิน ยาวนานขึน โดยนายีนที่มี ้ เค็ม ดัดแปลงพืชให้แปลกและแตกต่างไป ผลต่อเอนไซม์ที่สังเคราะห์เอ จากเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับตลาดและความ ทิลีนใส่เข้าไปในผลไม้ เช่น ต้องการของมนุษย์มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม มะเขือเทศ ทาให้มะเขือเทศสุก พืชดัดแปลงพันธุกรรม ช้าลง เนื่องจากไม่มีการสร้างเอ (Genetically Modified Organism : ทิลีน ลดความเน่าเสียของ GMOs) ถึงจะมีประโยชน์มากมายแต่ก็ยังมีข้อ มะเขือเทศ สามารถเก็บรักษา โต้แย้งทางสังคมเป็นอย่างมากว่าอาจจะไม่ ได้นานขึ้นและขนส่งได้เป็น ปลอดภัยกับผู้บริโภคและอาจก่อให้เกิดปัญหา ระยะทางไกลขึ้น ทางด้านพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ความ หลากหลายทางชีวภาพ การมิวเทชันและอาจ เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมในอนาคตได้
  • 34. • วิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้าในปัจจุบัน ทาให้เราสามารถเลือกซื้อผักผลไม้จาก การตัดแต่งพันธุกรรม หรือที่เรียกกันติดปากว่า จีเอ็มโอ (GMOs) ที่ สามารถคัดเลือกพันธุ์ที่ดี และเติบโตขึ้นโดยปราศจากยาฆ่าแมลง ที่สาคัญ ยังสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นภายในบ้าน หรือตู้แช่ภายในห้างสรรพสินค้าได้ นานถึง 15 วัน • การตัดแต่งพันธุกรรมเพื่อให้เก็บความสดไว้ได้นานนี้ ยังสามารถใช้ได้กับผัก ผลไม้ประเภทอื่น ๆ เช่น มะละกอ กล้วย มะม่วง เป็นต้น
  • 35. • ที่สาคัญ ผู้บริโภค คิดอย่างไรกับการบริโภค ผักและผลไม้ที่มาจากการตัด แต่งพันธุกรรมเหล่านี้
  • 36. • พันธุ วิศวกรรมเพื่อผลิตพืชเวชกรรมกาลังมาแรง และมีแนวโน้มจะได้รับการ ยอมรับมากกว่าพืชอาหารพืชดัดแปลง • พันธุ กรรมมีข้อได้เปรียบหลายประการที่ทาให้เป็นที่นิยมในปัจจุบัน เช่น ราคา ถูกกว่าการผลิตในยีสต์หรือแบคทีเรีย ราว 10–100 เท่า ขยายขนาดได้ง่าย ปลอดภัย ง่ายต่อการสกัดและการนาสารมาใช้ • ใน ปี พ.ศ. 2548 มีการผลิตยาสูบที่มีตัวยาสาหรับรักษาโรคมะเร็ง นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยอื่นๆ เช่น การผลิตยีนภูมิคุ้มกันในน้านมคนให้อยู่ในน้านมข้าว การใช้ยีนจากหญิงที่เป็น หมัน ซึ่งมีฤทธิ์ทาลายสเปิร์มมาผลิตในข้าวโพด เพื่อทา ยาคุมกาเนิดใส่ในถุงยางอนามัย หรือการพัฒนาให้ข้าวโพดผลิตวัคซีนไวรัสตับ อักเสบ
  • 37.
  • 38. มันฝรั่งตัดต่อพันธุกรรมสายพันธุ์นี้มีชื่อว่า Am flora ที่ปรับปรุง พันธุ์โดยบริษัท BASF ที่ได้ทาการดัดแปลงพันธุกรรมในการให้ผล ผลิตแป้งจากหัวมันนั้นอยู่ในรูปของโครงสร้างที่เป็นกิ่งสาขา (Amylopectin) เกือบทั้งหมด ซึ่งจะแตกต่างจากแป้งที่มีอยู่ใน หัวมันฝรั่งทั่วๆไปที่มีโครงสร้างของแป้งแบบผสมทั้ง แบบสายโซ่ตรง (Amylose) และแบบกิ่งสาขา โดยผลผิตผลมันฝรั่งพวกนี้ จะไม่ได้มีจุดมุ่งหมายในการนามาบริโภค แต่จะนาไปใช้ใน อุตสาหกรรมการทากระดาษและผลิตภัณฑ์กาวยึดเกาะ ซึ่งจากการเปิดเผยของ Thornston Storck นักวิชาการ พืชศาสตร์ของบริษัท BASF กล่าวว่า ทางบริษัทได้ ทาการวิจัยและทดสอบปลูกมันฝรั่งที่ตัดต่อพันธุกรรมนี้ มาเป็นเวลา 10 ปีแล้ว และเฝ้าติดตามถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งความ ปลอดภัยทางด้านสุขภาพและสภาพแวดล้อมแล้ว ไม่มีผลเสียหาย ใดๆเกิดขึ้นทั้งสิ้น
  • 39. ฉลาก Genetically Modified Organisms (GMOs) -Conventional Fruit Labels - Four digits starting with 4 ฉลากผลไม้ทั่วไป - มีตัวเลขสี่หลัก ขึ้นต้นด้วย 4 เช่น 4 xxx - Organic Fruit Labels -Five digits and starts with number 9 ฉลากผลไม้ Organic ( ผลไม้ที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี) - มีตัวเลขห้าหลัก ขึ้นต้นด้วย 9 เช่น 9 xxxx -Genetically Modified Fruits (GMOs) -Start with the digit 8 ฉลากผลไม้ GMOs ( ผลไม้ที่ปลูกโดยใช้พันธ์ที่ผ่านการดัดแปลงทางพันธุกรรม) - มีตัวเลขห้าหลัก ขึ้นต้นด้วย 8 เช่น 8xxxx
  • 40. แอปเปิ้ล ที่มีรหัส 4922 แปลว่า แอปเปิ้ลนี้เป็นแอปเปิลทั่วๆ ไป ที่ปลูกด้วยการใส่ปุ๋ยปกติ ถ้าแอปเปิ้ลติดสติ๊กเกอร์ มีรหัส 99222 แสดงว่าเป็นแอปเปิลที่ปลูกโดยวิธีปลอดสารเคมี และ ปลอดภัย ถ้าแอปเปิลติดสติ๊กเกอร์ มีรหัส 89222 อย่าซื้อ!!!!!! แสดงว่าเป็นแอปเปิลที่ผ่านการดัดแปลงทางพันธุกรรม ( GMO)
  • 41. ศูนย์ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดตรัง ประสบความสาเร็จในการพัฒนา และปลูกข้าวโพดเหนียวพันธุแฟนซีสีม่วง 111 และพันธุสีขาวม่วง 212 พบคุณสมบัติ ์ ์ เยี่ยมด้านการต่อต้านอนุมูลอิสระ ลดโอกาสการเกิดโรคมะเร็ง เตรียมเก็บเมล็ดพันธุ์ที่ ผลิตได้รุ่นแรก เพื่อแจกจ่ายแก่เกษตรกรที่สนใจ จากการพัฒนาสายพันธุ์มาจาก ข้าวโพดสีม่วง ผสมกับข้าวโพดเหนียว ทาให้ได้ข้าวโพดเหนียวสี ม่วง ที่มีฝักใหญ่ รสชาตินุ่มลิ้น หวานและ เหนียว โดย สีม่วงเข้มในเมล็ดนั้น เป็นสารแอน โทไซยานิน ซึ่งมีคุณสมบัติในการต่อต้านอนุมูล อิสระ ช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคมะเร็งชนิดเนือ ้ งอก เสริมให้รางกายต่อต้านเชือโรคและสมาน ่ ้ แผล เสริมการทางานของเม็ดเลือดแดง ชะลอการ เกิดไขมันอุดตันในหลอดเลือด ช่วยควบคุมระดับ น้าตาลและชะลอความแก่