SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 66
Baixar para ler offline
การจัดการความรู้ 	
      Wai Chamornman
      Thammasat University
การจัดการความรู้ กับการพัฒนาระบบราชการในประเทศไทย
•  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นกฎหมายที่ออกมา
   เพื่อผลักดันแนวคิดธรรมาภิบาล (Good Governance) ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้น ในมาตรา ๑๑
   กําหนดว่าส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการ
   เรียนรู้อย่างสม่ําเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ
   เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์
   รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยน
   ทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อ
   ประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผล
   สัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกา
องค์กรของท่านเป็นแบบนี้หรือไม่
     •  “จะ Share ไปทําไม เดี๋ยวคนอื่นก็เก่งกว่าเรา”
     •  “ถ้าบอกไปแล้ว เราก็หมดความสําคัญนะซิ”
     •  “เรื่องที่เราทําอยู่นี่ ใครๆก็รู้ทั้งนั้น ไม่เห็นต้อง share เลย”
     •  “ยุ่งจะตายแล้ว จะหาเวลาที่ไหนมา share ความรู้กัน”
     •  “อย่าพูดดีกว่า เดี๋ยวจะข้ามหน้าข้ามตาหัวหน้า”




4
องค์กรของท่านเป็นอย่างนี้หรือไม่

    •  เมื่อมบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออกมักมีผลกระทบกับงาน
             ี
    •  บุคลากรมักทํางานผิดพลาดในเรื่องเดิมๆ (เกิดปัญหาซ้ําๆ)
    •  เวลามีปัญหาในการทํางานไม่ทราบว่าจะไปถามผู้ที่เก่งในเรื่องนั้นๆ ได้ที่ไหน
    •  ในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการซึ่งส่วนใหญ่ใช้เวลานานหาไม่ค่อยพบหรือถ้าพบข้อมูลมักจะ
       ไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์หรือไม่ตรงตามที่ต้องการ
    •  ไม่ค่อยมความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ
                ี




5
การจัดการความรู้
•  กลยุทธ์และการปฏิบัติใช้ในองค์กร เพื่อ ระบุ สร้าง จัดระเบียบ แลก
   เปลี่ยน และประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงลึกและประสบการณ ์ ประกอบด้วย
   ความรู้ทั้งในบุคคลหรือฝังตัวอยู่ในองค์กร เป็นกระบวนการหรือการปฏิบัติ

•  KM เป็นส่วนผสมของ คน กระบวนการและเทคโนโลยี; สภาพแวดล้อม
   การเรียนรู้สําหรับ ความรู้ใหม่ที่ได้รับ บทเรียน นวัตกรรม และ
   ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น
Knowledge Management Is:
•  A systematic process for finding, selecting, organizing and
   presenting organization “knowledge”

•  Providing workers the knowledge and tools to achieve a desired
   outcome, as opposed to preventing an undesirable outcome

•  A work environment that rewards employees for sharing and
   reusing previous experiences and practices to meet present
   needs

•  “Getting the right information, to the right person, at the right time
   to make the right decisions”
การจัดการความรู้คือ   ? ?
กรอบความคิด KM ของ Bonnie Rubenstaein-Montano


1.  การค้นหาว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้าง ชนิด/รูปแบบใด อยู่ที่ใครและความรู้ที่จําเป็นต่อ
    องค์กรมีอะไรบ้าง (Knowledge identification)
2.  การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)
3.  การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)
4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
5.  การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access)
6.  การแลกเปลี่ยน และแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing)
7.  การเรียนรู้ (Learning)
เมื่อพูดถึงคําว่า



 ท่านนึกถึงอะไร?




10
ประเภทของความรู้
•  ความรู้แบบฝังลึก	
•  ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้คําพูดได้ มีรากฐานมาจาก
   การกระทําและประสบการณ์ มีลักษณะเป็นความเชื่อ ทักษะ และเป็นอัตวิสัย (Subjective) ต้องการการ
   ฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชํานาญ มีลักษณะเป็นเรื่องส่วนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Context-specific) ทําให้เป็น
   ทางการและสื่อสารยาก เช่น วิจารณญาณ ความลับทางการค้า วัฒนธรรมองค์กร ทักษะ ความเชี่ยวชาญใน
   เรื่องต่างๆ การเรียนรู้ขององค์กร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระทั่งทักษะในการสังเกตเปลวควัน
   จากปล่องโรงงานว่ามีปัญหาในกระบวนการผลิตหรือไม่	
•  ความรู้ชัดแจ้ง	
•  ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่รวบรวมได้ง่าย จัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้วิธีการ
   ดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective) เป็นทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการที่
   เป็นทางการ ไม่จําเป็นต้องอาศัยการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพื่อถ่ายทอดความรู้ เช่น นโยบายขององค์กร
   กระบวนการทํางาน ซอฟต์แวร์ เอกสาร และกลยุทธ์ เป้าหมายและความสามารถขององค์กร
... จะใช้ KM ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
 ต้องเห็นความแตกต่างระหว่าง “ความรู้ 2 ประเภท”
•  วิชาการ หลักวิชา             •  ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา
•  ทฤษฎี (Theory)               •  ปฏิบัติ (Practice)
     ปริยัติ                         ประสบการณ์
•  มาจากการสังเคราะห์ วิจัย     •  มาจากวิจารณญาณ
     ใช้สมอง (Intellectual)          ใช้ปฏิภาณ (Intelligent)
                                •  เป็นเทคนิคเฉพาะตัว
•  เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ
                                     เป็นลูกเล่นของแต่ละคน
     ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์
            Explicit K.                  Tacit K.
ความรู้


          •  Concepts, methodologies
          •  Facts, beliefs, truths  laws
          •  Know what, Know how, Know
             why
          •  Judgments, expectations and
             insights
          •  Relationships, leverage points
          •  Intuition  feelings
          •  Meaning and sense making
ระดับของความรู้
•  หากจําแนกระดับของความรู้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ คือ	
•  ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร จะพบในผู้ที่สําเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ที่มีความรู้
   โดยเฉพาะความรู้ที่จํามาได้จากความรู้ชัดแจ้งซึ่งได้จากการได้เรียนมาก แต่เวลาทํางาน ก็จะไม่มั่นใจ มักจะปรึกษารุ่นพี่ก่อน

•  ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจริงที่ซับ
   ซ้อนสามารถนําเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบในคนที่ทํางานไปหลายๆปี จนเกิดความรู้ฝัง
   ลึกที่เป็นทักษะหรือประสบการณ์มากขึ้น

•  ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์
   แก้ปัญหาที่ซับซ้อน และนําประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น เป็นผู้ทํางานมาระยะหนึ่งแล้วเกิดความรู้ฝังลึก สามารถอด
   ความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของ
   ตนเองได้

•  ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเอง
   จะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น
   สร้างตัวแบบหรือทฤษฏีใหม่หรือนวัตกรรม ขึ้นมาใช้ในการทํางานได้
Idealistic Pragmatist
                     Brain                               Brawn
                  Deep Thinker                            Doer




                                     in One Person
                                 “Intellectual Muscle”
 © Nonaka・Toyama・Konno
Simon’s Metaphor: A Man is an Ant
    - Bounded Rationality or Cognitive Limits -

                                                             Direction to Home




                           A man, viewed as a behaving system, is quite simple. The
                           apparent complexity of his behavior over time is largely a
                           reflection of the complexity of the environment in which he
                           finds himself.
                                        Simon, H.A.(1982) The Sciences of the Artificial.
© Nonaka・Toyama・Konno
Two Types of Knowledge
	
	
	
         Tacit Knowledge                                   	
                                                        Explicit Knowledge
	
                                                           	
Subjective and experiential                   Objective and rational
knowledge that can not                        knowledge that can be
be expressed in words,                        expressed in words, sentences,
sentences, numbers, or                        numbers, or formulas (context-
Formulas (Context-specific)                   free)
Cognitive Skills
        beliefs
        images                                  Theoretical approach
        perspectives                            Problem solving
        mental models
                                                Manuals
                                                Database
Technical Skills                                	
        craft
        know-how                 Dynamic Interaction
                               Analog-Digital Synthesis
	

     © Nonaka・Toyama・Konno
Reality has Duality
    - Subjectivity and Objectivity -	
                          Tacit	
        Explicit	

Insider sensitivity                 Outsider objectivity
Life world                          Factual world
Commitment                          Detachment
Here and now                        There and then
Phenomenologist                     Positivist
Existentialist                      Spectator

© Nonaka・Toyama・Konno
การจัดการความรู้ – ต้องทําครบ 3 องค์ประกอบ


•  ความรู้ฝังลึกในคน
•  ความรู้แฝงในองค์กร/เครือข่าย
•  ความรู้เปิดเผยทั่วไป-หนังสือ/ตํารา/วารสาร


โดยจะต้องมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนากิจกรรมหลัก
( core activities) ขององค์กร กลุ่มบุคคลหรือเครือข่าย
KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง”

                                 อย่าลืมว่า	
   ให้ความสําคัญกับ“2P”
                                                People  Processes
                               ต้อง “สมดุล”




ให้ความสําคัญกับ “2T”
Tool  Technology
KM Training  Learning
              ตัวอย่างหลักสูตร
       •    KM Awareness  Concept
       •    KM Implementation
       •    ชุมชมแห่งการเรียนรู้ (COP)
       •    การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม
       •    การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
29     •              ฯลฯ
Ba

(a Japanese word for shared places, networks, or contexts among people)
In knowledge-based management, offices are place where the knowledge creation
process takes place.
 Ba synthesizes all physical, cultural and cognitive factors that include office spaces,
networks, communications, IT, work ways, organizational culture, and other contexts.
 It needs to be treated as a cognitive workplace, not as a simple office space.
Office for Knowledge Creation




 Creative zone                            WINDOW                                   meeting
(meeting zone)      CREATIVE ZONE               FOREST




                                                                    WINDO
                                                                     Room
                                                                     Meeting
                                                  OF
                                                                                 Smoking




                                                                      W
                                              KNOWLEDGE

                                                                               Communication
                          OFFICE ZONE                                             Coroner
 Office Zone                                                    Smoking 
                                                              Communication
                                                                 Zone

                                       Entrance            Forest of
                                                          Knowledge



                    © Nonaka・Toyama・Konno	
                                                                               Refresh Corner
Small World Network

                          SIX DEGREES              TIPPING POINT
                  We are a happy family          Connected people are
                and we all are six degrees       able to get information
              away from an Albanian farmer.      and control networks.




                    The network of human         I want to be in the middle
                  social interactions connect    of the network because it
                   us all by six degrees of       provides me information
                           separation.          and power. I can make big
© Nonaka・Toyama・Konno	
                                                 changes by small things.
Ba: Waigaya Meeting




© Nonaka・Toyama・Konno
Ba: Canon’s Asakai
     (Daily Morning Meeting)




© Nonaka・Toyama・Konno
KM	
                     วิธีคิดทั่วไป	
                            KM	
•  คิดจากเหตุไปหาผล                      •  คิดจากผลไปหาเหตุ

•  เริ่มจาก “ทุกข์” (ปัญหา)              •  เริ่มจาก “สุข” (ความสําเร็จ)

•  ฐานความคิดแบบเส้นตรง ระนาบเดียว       •  ฐานความคิดที่ไม่เป็นเส้นตรง /ซับซ้อน / หลาย
                                         มิติ


•  ความคิดนําความคิด- ปัญญาไตร่ตรอง      •  ปฏิบัตินําความคิด-ปัญญาปฏิบัติ(practical-
(intellectual exercise)                  wisdom exercise)


•  เน้นปัญญาปัจเจก                       •  เน้นปัญญารวมหมู่
KM	
                          วิธีคิดทั่วไป	
                                      KM	

•  มีสมมติฐานว่าผู้ปฏิบัติ                      •  มีสมมติฐานว่ามีความรู้อยู่ในการปฏิบัติ/ผู้ปฏิบัติ
ไม่มีความรู้


•  เรียนรู้โดยเน้นการรับถ่ายทอด                •  เรียนรู้โดยเน้นการปฏิบัติ

•  มุ่งบรรลุ ผลเลิศ ในขั้นตอนเดียว             •  มุ่งบรรลุ ผลเลิศ ทีละน้อย


•  เน้นเป้าหมายปลายทาง (destination)           •  เน้นเป้าหมายรายทาง (journey)


•  เน้นผลลัพธ์                                •  เน้นทั้งผลลัพธ์ และกระบวนการ
KM	
                       วิธีคิดทั่วไป	
                                  KM	
•  มุ่งรับถ่ายทอด /เรียนรู้ ความรู้ในกระดาษ      •  มุ่งรับถ่ายทอด/เรียนรู้ ความรู้ในคน



•  มุ่งคิดริเริ่มเอง                            •  มุ่งเรียนลัดจากผู้มีผลเลิศ

•  มุ่งเด่นเดี่ยว ยอมรับเฉพาะ เด่น 5 ดาว        •  มุ่งเด่นกลุ่ม ยอมรับ เด่นหลายระดับ 2-5 ดาว


 •  เน้นขับเคลื่อนด้วยแรงกดดัน                  •  เน้นขับเคลื่อนด้วยความชื่นชม

•  หวง/ปกปิด ความรู้                            •  ให้/แบ่งปัน/แลกเปลี่ยน ความรู้
BLOOM’S TAXONOMY                                                                               WEBB’S DOK


                    KNOWLEDGE
“The recall of specifics and universals, involving little                                                        RECALL
more than bringing to mind the appropriate material”
                                                                Recall of a fact, information, or procedure (e.g., What are
                                                                3 critical skill cues for the overhand throw?)
                   COMPREHENSION
“Ability to process knowledge on a low level such that
the knowledge can be reproduced or communicated
without a verbatim repetition.”

                                                                                                       SKILL/CONCEPT
                    APPLICATION
“The use of abstractions in concrete situations.”               Use of information, conceptual knowledge, procedures,
                                                                two or more steps, etc.

                    ANALYSIS                                                                      STRATEGIC THINKING
“The breakdown of a situation into its component                Requires reasoning, developing a plan or sequence of
parts.”                                                         steps; has some complexity; more than one possible
                                                                answer
               SYNTHESIS AND EVALUATION
                                                                                                   EXTENDED THINKING
“Putting together elements  parts to form a whole, then
   making value judgments about the method.”                    Requires an investigation; time to think and process
                                                                multiple conditions of the problem or task.
                                                            Wyoming School Health and Physical Education Network (2001). Standards, Assessment, and Beyond.
                                                            Retrieved May 25, 2006, from http://www.uwyo.edu/wyhpenet
The Kolb learning cycle applied to organizations
                                            experiencing

Let’s capture                                                                     Let’s share our
  them and                       Apply it to new       real life
                                                                                  knowledge and
apply to new                   problems, learn by     experience
                                                                                    experiences
    issues                           doing

                 Internalize the                                       Sharing
                      new                                             them with
                   knowledge                                            others
                                          GROWTH


     doing                                                                         reflecting

                   Experiment                                          Compare
                  and test them                                          and
                                                                                  Let’s see if we
Let’s try them                                                         contrast
                                                                                  can generate
   out and                                                                          new ideas
validate them
                               Combine ideas and       Generate new
                                 formulate new            ideas
                                    concepts
Storytelling - dialogue
  ให้ผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ (คุณกิจ) ปลดปล่อย
tacit knowledge ที่ซ่อนอยู่ออกมาจาก
 “การปฏิบัติจริง/ประสบการณ์”
In Touch with the Reality: Canon’s Mitarai Visiting
    the Factory




© Nonaka・Toyama・Konno
Share + Learn
give + take

ไม่รู้ว่าตัวเองมี + ในสิ่งที่ตัวเองไม่มี
สังเคราะห์ “แก่นความรู้”


  จาก “ขุมความรู้” (Knowledge
             Assets)
          .......สู่........
“แก่นความรู้” (Core Competence)
การจัดการความรู้เป็นทักษะ
                                                      ไม่ใช่ความรู้เชิงทฤษฎี	
                                                            ไม่ทํา ไม่รู	
้
                                                     ฟังการบรรยาย ทําไม่เป็น
                                              คนระดับล่างผ่านการฝึก ทําได้
                                                           อธิบายไม่ได้

วิจารณ์ พานิช	
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)	
www.kmi.or.th	
                                                                  47/15
•  วัฒนธรรมการเรียนรู้ของคนส่วนใหญ่ อาศัยการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์
   ของ ผู้อื่น”
   โดยไม่ยอม “ ลงทุนลงแรง ” เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของ
  ตนเอง

•  การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของผู้อื่นนั้น นั่นไม่ใช่การเรียนรู้ที่แท้จริง ด้วยหนทางแห่ง
   การปฏิบัติเท่านั้นที่จะทําให้การเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆ ชัดขึ้นมาเรื่อยๆ




     การที่เราได้มีโอกาสทําซ้ําแล้วซ้ําเล่าจนเกิดความเข้าใจ นั่นคือการเรียนรู้
  ที่แท้จริง
Achieving Balance




  •Corporate                             •Databases
  Yellow                                 •Document
  Pages                                  Management




                    SOLUTIONS for Information  Management Services, Inc
Knowledge Assets (KA)

                                                    Paper-based

                                          Multimedia
Explicit          = Media-based                  Digitally-Indexed
   Written down
                                            Digitally-Active
                                                   Intellectual Property © ™ (sm)
                                                                          Patents




Tacit      = People knowledge
                                                   Individuals

    in People’s head
                                                  Groups
4              5        ก ร ก่ อ ช เช
                                          าย ย ง ม ย       6
        กร ี ย ร
         า เร นู ้      ก รั ด ล
                         าว ผ
                                         แ ะก ร ้ ร งั ล
                                           ล า ให า ว
        ( er i g
         L an )
             n        ( e s r mns
                       Ma ue e t)
                                      ( e o n i na dR w d
                                       R c gi o n e a )
                                             t           r

                                                                 เป ห า
                                                                   ้ า มย
                                                               ( e i e St t )
                                                                D sr d ae

       ก ะบ น า 3
        ร ว กร          ก รืส ส ร 2
                         า ่อ า          กร ร ม าแ ะ 1
                                           า เตี ย ก ร ล
      แ ะเคืร งื อ
        ล ่อม                           ปั บ ล น ฤิ ก ร
                                         ร เปี ่ ย พ ต ร ม
                      ( o mn ai n
                       C m ui t )
                              c o      ( a st na dB h v r
                                        Tr n ii n e a i
                                              o          o
     ( rc s  o )
      Po e s To l s                         Mn g mn)
                                              aae et




57
การจัดการความรู้ ประกอบด้วยกระบวนการ


•  การขุดค้นและรวบรวมข้อมูล เน้นความรู้ที่จําเป็นสําหรับใช้ประโยชน์ ทั้งจากภายในและภายนอก
องค์กร นํามาตรวจสอบความเชื่อถือและเหมาะสมกับบริบทขององค์กร ถ้าไม่เหมาะสมก็ปรับปรุง
•  การจัดหมวดหมู่ความรู้ ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน
•  การจัดเก็บ ความรู้ เพื่อให้ค้นหาได้ง่าย
•  การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดความรู้
•  การจัดกิจกรรมและกระบวนการเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้
•  การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อยกระดับความรู้
•  การสร้างความรู้ใหม่
•  การประยุกต์ใช้ความรู้
•  การเรียนรู้จากการใช้ความรู้
ความรู้ภายนอก	
              คน	
                                                     Tools/ICT 	
                วัฒนธรรม	
                                      คว้า	
                เลือก	




กําหนดเป้าหมายของงาน	
                            ใช้	
                                                                                บรรลุเป้าหมายของงาน	
                                         แลกเปลี่ยนเรียนรู้	
                                        ยกระดับความรู้	



         จัดเก็บ จัดระบบ ปรับปรุง	
                       ค้น	

                                                                                      วัด	

                                               คลังความรู้	

               ผังแสดงองค์ประกอบของการจัดการความรู้	
                                                                      59/15
ก รึ ก บ ม
       าฝ อ ร
                   4               5        ก ร ก่ อ ช เช
                                             าย ย ง ม ย       6
                           ก รั ด ล
                            าว ผ
      แ ะก ร ี ย ร
       ล า เร นู ้                          แ ะก ร ้ ร งั ล
                                              ล า ให า ว
      ( a i g L an g
       Tr i n e r i )
          n        n     ( e s r mns
                          Ma ue e t)
                                         ( e o n i na dR w d
                                          R c gi o n e a )
                                                t           r

                                                                    เป ห า
                                                                      ้ า มย
                                                                  ( e i e St t )
                                                                   D sr d ae

       ก ะบ น า 3
        ร ว กร             ก รืส ส ร 2
                            า ่อ า          กร ร ม าแ ะ 1
                                              า เตี ย ก ร ล
      แ ะเคืร งื อ
        ล ่อม                              ปั บ ล น ฤิ ก ร
                                            ร เปี ่ ย พ ต ร ม
                         ( o mn ai n
                          C m ui t )
                                 c o      ( a st na dB h v r
                                           Tr n ii n e a i
                                                 o          o
     ( rc s  o )
      Po e s To l s                            Mn g mn)
                                                 aae et




60
ก รึ ก บ ม
      าฝ อ ร
                  4               5        ก ร ก่ อ ช เช
                                            าย ย ง ม ย       6
                          ก รั ด ล
                           าว ผ
     แ ะก ร ี ย ร
      ล า เร นู ้                          แ ะก ร ้ ร งั ล
                                             ล า ให า ว
     ( a i g L an g
      Tr i n e r i )
         n        n     ( e s r mns
                         Ma ue e t)
                                        ( e o n i na dR w d
                                         R c gi o n e a )
                                               t           r

                                                                   เป ห า
                                                                     ้ า มย
                                                                 ( e i e St t )
                                                                  D sr d ae

   ก ะบ น า 3
    ร ว กร                ก รืส ส ร 2
                           า ่อ า          กร ร ม าแ ะ 1
                                             า เตี ย ก ร ล
  แ ะเคืร งื อ
    ล ่อม                                 ปั บ ล น ฤิ ก ร
                                           ร เปี ่ ย พ ต ร ม
                        ( o mn ai n
                         C m ui t )
                                c o      ( a st na dB h v r
                                          Tr n ii n e a i
                                                o          o
 ( rc s  o )
  Po e s To l s                               Mn g mn)
                                                aae et




61
ก รึ ก บ ม
       าฝ อ ร
                   4               5        ก ร ก่ อ ช เช
                                             าย ย ง ม ย       6
                           ก รั ด ล
                            าว ผ
      แ ะก ร ี ย ร
       ล า เร นู ้                          แ ะก ร ้ ร งั ล
                                              ล า ให า ว
      ( a i g L an g
       Tr i n e r i )
          n        n     ( e s r mns
                          Ma ue e t)
                                         ( e o n i na dR w d
                                          R c gi o n e a )
                                                t           r

                                                                    เป ห า
                                                                      ้ า มย
                                                                  ( e i e St t )
                                                                   D sr d ae

       ก ะบ น า 3
        ร ว กร             ก รืส ส ร 2
                            า ่อ า          กร ร ม าแ ะ 1
                                              า เตี ย ก ร ล
      แ ะเคืร งื อ
        ล ่อม                              ปั บ ล น ฤิ ก ร
                                            ร เปี ่ ย พ ต ร ม
                         ( o mn ai n
                          C m ui t )
                                 c o      ( a st na dB h v r
                                           Tr n ii n e a i
                                                 o          o
     ( rc s  o )
      Po e s To l s                            Mn g mn)
                                                 aae et




62
Knowledge Design
Knowledge design is methodology. It is designing not about things or materials or hardware
products, but rather about events, phenomena, or experiences. It is a way of embedding knowledge
of things (and technology) into events (process). Here the process of abduction rather than cling to
analytical approaches is important. This process of abduction should be followed by deduction
(applying the hypothesis) and induction (observing and verifying it).
Office Design Reflecting the Times
•  Nissan's Cross-Functional Team literally works cross-functionally.

•  Oticon in Denmark, a knowledge management best practice company, is
   well-known for its spaghetti organization which accepts and tolerates chaos.
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)


•  An informal network of people who are involved in similar work or activities
•  Focus on minimizing/improving systems and processes

•  Must have structure, meaning, and value

•  Allow for regular and new activities

•  Keep a sustained level of commitment

•  Enable sharing of both ‘Explicit’ and ‘Tacit

•  Promote “free-flow” of information
•  Range from “Blogs” to “Communities of Practice” discussion forums
•  May still have controls on membership and may be sponsored/hosted by sponsor site



                                                                         65
Questions  Answers

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดKanoonPannathon
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์nopthai
 

Mais procurados (10)

ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Km
KmKm
Km
 
Content03
Content03Content03
Content03
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KM
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Km
KmKm
Km
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
 

Semelhante a Knowledge management

Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...Padvee Academy
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯมาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯWittawas Kaewpradis
 

Semelhante a Knowledge management (20)

Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
Btg 610208
Btg 610208Btg 610208
Btg 610208
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯมาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 

Mais de Wai Chamornmarn

Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 08 2013
Organization theory and design  08 2013Organization theory and design  08 2013
Organization theory and design 08 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 07 2013
Organization theory and  design  07 2013Organization theory and  design  07 2013
Organization theory and design 07 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 06 2013
Organization theory and   design  06 2013Organization theory and   design  06 2013
Organization theory and design 06 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design 05 2013Organization theory and   design 05 2013
Organization theory and design 05 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design  05 2013Organization theory and   design  05 2013
Organization theory and design 05 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 04 2013
Organization theory and design  04 2013Organization theory and design  04 2013
Organization theory and design 04 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 03 2013
Organization theory and design   03 2013Organization theory and design   03 2013
Organization theory and design 03 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 02 2013
Organization theory and design  02 2013Organization theory and design  02 2013
Organization theory and design 02 2013Wai Chamornmarn
 
organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013Wai Chamornmarn
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Wai Chamornmarn
 
12 Innovation Strategy 2013
12 Innovation Strategy  2013 12 Innovation Strategy  2013
12 Innovation Strategy 2013 Wai Chamornmarn
 
08 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 201308 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 2013Wai Chamornmarn
 

Mais de Wai Chamornmarn (20)

Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013
 
Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013
 
Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013
 
Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013
 
Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013
 
Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013
 
Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013
 
Organization theory and design 08 2013
Organization theory and design  08 2013Organization theory and design  08 2013
Organization theory and design 08 2013
 
Organization theory and design 07 2013
Organization theory and  design  07 2013Organization theory and  design  07 2013
Organization theory and design 07 2013
 
Organization theory and design 06 2013
Organization theory and   design  06 2013Organization theory and   design  06 2013
Organization theory and design 06 2013
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design 05 2013Organization theory and   design 05 2013
Organization theory and design 05 2013
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design  05 2013Organization theory and   design  05 2013
Organization theory and design 05 2013
 
Organization theory and design 04 2013
Organization theory and design  04 2013Organization theory and design  04 2013
Organization theory and design 04 2013
 
Organization theory and design 03 2013
Organization theory and design   03 2013Organization theory and design   03 2013
Organization theory and design 03 2013
 
Organization theory and design 02 2013
Organization theory and design  02 2013Organization theory and design  02 2013
Organization theory and design 02 2013
 
organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1
 
12 Innovation Strategy 2013
12 Innovation Strategy  2013 12 Innovation Strategy  2013
12 Innovation Strategy 2013
 
08 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 201308 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 2013
 

Knowledge management

  • 1. การจัดการความรู้ Wai Chamornman Thammasat University
  • 2. การจัดการความรู้ กับการพัฒนาระบบราชการในประเทศไทย •  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นกฎหมายที่ออกมา เพื่อผลักดันแนวคิดธรรมาภิบาล (Good Governance) ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้น ในมาตรา ๑๑ กําหนดว่าส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้อย่างสม่ําเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยน ทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อ ประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผล สัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกา
  • 3.
  • 4. องค์กรของท่านเป็นแบบนี้หรือไม่ •  “จะ Share ไปทําไม เดี๋ยวคนอื่นก็เก่งกว่าเรา” •  “ถ้าบอกไปแล้ว เราก็หมดความสําคัญนะซิ” •  “เรื่องที่เราทําอยู่นี่ ใครๆก็รู้ทั้งนั้น ไม่เห็นต้อง share เลย” •  “ยุ่งจะตายแล้ว จะหาเวลาที่ไหนมา share ความรู้กัน” •  “อย่าพูดดีกว่า เดี๋ยวจะข้ามหน้าข้ามตาหัวหน้า” 4
  • 5. องค์กรของท่านเป็นอย่างนี้หรือไม่ •  เมื่อมบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออกมักมีผลกระทบกับงาน ี •  บุคลากรมักทํางานผิดพลาดในเรื่องเดิมๆ (เกิดปัญหาซ้ําๆ) •  เวลามีปัญหาในการทํางานไม่ทราบว่าจะไปถามผู้ที่เก่งในเรื่องนั้นๆ ได้ที่ไหน •  ในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการซึ่งส่วนใหญ่ใช้เวลานานหาไม่ค่อยพบหรือถ้าพบข้อมูลมักจะ ไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์หรือไม่ตรงตามที่ต้องการ •  ไม่ค่อยมความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ี 5
  • 6. การจัดการความรู้ •  กลยุทธ์และการปฏิบัติใช้ในองค์กร เพื่อ ระบุ สร้าง จัดระเบียบ แลก เปลี่ยน และประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงลึกและประสบการณ ์ ประกอบด้วย ความรู้ทั้งในบุคคลหรือฝังตัวอยู่ในองค์กร เป็นกระบวนการหรือการปฏิบัติ •  KM เป็นส่วนผสมของ คน กระบวนการและเทคโนโลยี; สภาพแวดล้อม การเรียนรู้สําหรับ ความรู้ใหม่ที่ได้รับ บทเรียน นวัตกรรม และ ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น
  • 7. Knowledge Management Is: •  A systematic process for finding, selecting, organizing and presenting organization “knowledge” •  Providing workers the knowledge and tools to achieve a desired outcome, as opposed to preventing an undesirable outcome •  A work environment that rewards employees for sharing and reusing previous experiences and practices to meet present needs •  “Getting the right information, to the right person, at the right time to make the right decisions”
  • 9. กรอบความคิด KM ของ Bonnie Rubenstaein-Montano 1.  การค้นหาว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้าง ชนิด/รูปแบบใด อยู่ที่ใครและความรู้ที่จําเป็นต่อ องค์กรมีอะไรบ้าง (Knowledge identification) 2.  การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3.  การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5.  การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6.  การแลกเปลี่ยน และแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) 7.  การเรียนรู้ (Learning)
  • 11. ประเภทของความรู้ •  ความรู้แบบฝังลึก •  ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้คําพูดได้ มีรากฐานมาจาก การกระทําและประสบการณ์ มีลักษณะเป็นความเชื่อ ทักษะ และเป็นอัตวิสัย (Subjective) ต้องการการ ฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชํานาญ มีลักษณะเป็นเรื่องส่วนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Context-specific) ทําให้เป็น ทางการและสื่อสารยาก เช่น วิจารณญาณ ความลับทางการค้า วัฒนธรรมองค์กร ทักษะ ความเชี่ยวชาญใน เรื่องต่างๆ การเรียนรู้ขององค์กร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระทั่งทักษะในการสังเกตเปลวควัน จากปล่องโรงงานว่ามีปัญหาในกระบวนการผลิตหรือไม่ •  ความรู้ชัดแจ้ง •  ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่รวบรวมได้ง่าย จัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้วิธีการ ดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective) เป็นทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการที่ เป็นทางการ ไม่จําเป็นต้องอาศัยการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพื่อถ่ายทอดความรู้ เช่น นโยบายขององค์กร กระบวนการทํางาน ซอฟต์แวร์ เอกสาร และกลยุทธ์ เป้าหมายและความสามารถขององค์กร
  • 12. ... จะใช้ KM ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ต้องเห็นความแตกต่างระหว่าง “ความรู้ 2 ประเภท” •  วิชาการ หลักวิชา •  ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา •  ทฤษฎี (Theory) •  ปฏิบัติ (Practice) ปริยัติ ประสบการณ์ •  มาจากการสังเคราะห์ วิจัย •  มาจากวิจารณญาณ ใช้สมอง (Intellectual) ใช้ปฏิภาณ (Intelligent) •  เป็นเทคนิคเฉพาะตัว •  เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ เป็นลูกเล่นของแต่ละคน ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์ Explicit K. Tacit K.
  • 13. ความรู้ •  Concepts, methodologies •  Facts, beliefs, truths laws •  Know what, Know how, Know why •  Judgments, expectations and insights •  Relationships, leverage points •  Intuition feelings •  Meaning and sense making
  • 14. ระดับของความรู้ •  หากจําแนกระดับของความรู้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ คือ •  ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร จะพบในผู้ที่สําเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ที่มีความรู้ โดยเฉพาะความรู้ที่จํามาได้จากความรู้ชัดแจ้งซึ่งได้จากการได้เรียนมาก แต่เวลาทํางาน ก็จะไม่มั่นใจ มักจะปรึกษารุ่นพี่ก่อน •  ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจริงที่ซับ ซ้อนสามารถนําเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบในคนที่ทํางานไปหลายๆปี จนเกิดความรู้ฝัง ลึกที่เป็นทักษะหรือประสบการณ์มากขึ้น •  ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์ แก้ปัญหาที่ซับซ้อน และนําประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น เป็นผู้ทํางานมาระยะหนึ่งแล้วเกิดความรู้ฝังลึก สามารถอด ความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของ ตนเองได้ •  ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเอง จะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือทฤษฏีใหม่หรือนวัตกรรม ขึ้นมาใช้ในการทํางานได้
  • 15. Idealistic Pragmatist Brain Brawn Deep Thinker Doer in One Person “Intellectual Muscle” © Nonaka・Toyama・Konno
  • 16.
  • 17. Simon’s Metaphor: A Man is an Ant - Bounded Rationality or Cognitive Limits - Direction to Home A man, viewed as a behaving system, is quite simple. The apparent complexity of his behavior over time is largely a reflection of the complexity of the environment in which he finds himself. Simon, H.A.(1982) The Sciences of the Artificial. © Nonaka・Toyama・Konno
  • 18. Two Types of Knowledge Tacit Knowledge Explicit Knowledge Subjective and experiential Objective and rational knowledge that can not knowledge that can be be expressed in words, expressed in words, sentences, sentences, numbers, or numbers, or formulas (context- Formulas (Context-specific) free) Cognitive Skills beliefs images Theoretical approach perspectives Problem solving mental models Manuals Database Technical Skills craft know-how Dynamic Interaction Analog-Digital Synthesis © Nonaka・Toyama・Konno
  • 19. Reality has Duality - Subjectivity and Objectivity - Tacit Explicit Insider sensitivity Outsider objectivity Life world Factual world Commitment Detachment Here and now There and then Phenomenologist Positivist Existentialist Spectator © Nonaka・Toyama・Konno
  • 20.
  • 21.
  • 22. การจัดการความรู้ – ต้องทําครบ 3 องค์ประกอบ •  ความรู้ฝังลึกในคน •  ความรู้แฝงในองค์กร/เครือข่าย •  ความรู้เปิดเผยทั่วไป-หนังสือ/ตํารา/วารสาร โดยจะต้องมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนากิจกรรมหลัก ( core activities) ขององค์กร กลุ่มบุคคลหรือเครือข่าย
  • 23. KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ให้ความสําคัญกับ“2P” People Processes ต้อง “สมดุล” ให้ความสําคัญกับ “2T” Tool Technology
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. KM Training Learning ตัวอย่างหลักสูตร •  KM Awareness Concept •  KM Implementation •  ชุมชมแห่งการเรียนรู้ (COP) •  การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม •  การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 29 •  ฯลฯ
  • 30.
  • 31.
  • 32. Ba (a Japanese word for shared places, networks, or contexts among people) In knowledge-based management, offices are place where the knowledge creation process takes place. Ba synthesizes all physical, cultural and cognitive factors that include office spaces, networks, communications, IT, work ways, organizational culture, and other contexts. It needs to be treated as a cognitive workplace, not as a simple office space.
  • 33. Office for Knowledge Creation Creative zone WINDOW meeting (meeting zone) CREATIVE ZONE FOREST WINDO Room Meeting OF Smoking W KNOWLEDGE   Communication OFFICE ZONE Coroner Office Zone Smoking  Communication Zone Entrance Forest of Knowledge © Nonaka・Toyama・Konno Refresh Corner
  • 34. Small World Network SIX DEGREES TIPPING POINT We are a happy family Connected people are and we all are six degrees able to get information away from an Albanian farmer. and control networks. The network of human I want to be in the middle social interactions connect of the network because it us all by six degrees of provides me information separation. and power. I can make big © Nonaka・Toyama・Konno changes by small things.
  • 35. Ba: Waigaya Meeting © Nonaka・Toyama・Konno
  • 36. Ba: Canon’s Asakai (Daily Morning Meeting) © Nonaka・Toyama・Konno
  • 37. KM วิธีคิดทั่วไป KM •  คิดจากเหตุไปหาผล •  คิดจากผลไปหาเหตุ •  เริ่มจาก “ทุกข์” (ปัญหา) •  เริ่มจาก “สุข” (ความสําเร็จ) •  ฐานความคิดแบบเส้นตรง ระนาบเดียว •  ฐานความคิดที่ไม่เป็นเส้นตรง /ซับซ้อน / หลาย มิติ •  ความคิดนําความคิด- ปัญญาไตร่ตรอง •  ปฏิบัตินําความคิด-ปัญญาปฏิบัติ(practical- (intellectual exercise) wisdom exercise) •  เน้นปัญญาปัจเจก •  เน้นปัญญารวมหมู่
  • 38. KM วิธีคิดทั่วไป KM •  มีสมมติฐานว่าผู้ปฏิบัติ •  มีสมมติฐานว่ามีความรู้อยู่ในการปฏิบัติ/ผู้ปฏิบัติ ไม่มีความรู้ •  เรียนรู้โดยเน้นการรับถ่ายทอด •  เรียนรู้โดยเน้นการปฏิบัติ •  มุ่งบรรลุ ผลเลิศ ในขั้นตอนเดียว •  มุ่งบรรลุ ผลเลิศ ทีละน้อย •  เน้นเป้าหมายปลายทาง (destination) •  เน้นเป้าหมายรายทาง (journey) •  เน้นผลลัพธ์ •  เน้นทั้งผลลัพธ์ และกระบวนการ
  • 39. KM วิธีคิดทั่วไป KM •  มุ่งรับถ่ายทอด /เรียนรู้ ความรู้ในกระดาษ •  มุ่งรับถ่ายทอด/เรียนรู้ ความรู้ในคน •  มุ่งคิดริเริ่มเอง •  มุ่งเรียนลัดจากผู้มีผลเลิศ •  มุ่งเด่นเดี่ยว ยอมรับเฉพาะ เด่น 5 ดาว •  มุ่งเด่นกลุ่ม ยอมรับ เด่นหลายระดับ 2-5 ดาว •  เน้นขับเคลื่อนด้วยแรงกดดัน •  เน้นขับเคลื่อนด้วยความชื่นชม •  หวง/ปกปิด ความรู้ •  ให้/แบ่งปัน/แลกเปลี่ยน ความรู้
  • 40. BLOOM’S TAXONOMY WEBB’S DOK KNOWLEDGE “The recall of specifics and universals, involving little RECALL more than bringing to mind the appropriate material” Recall of a fact, information, or procedure (e.g., What are 3 critical skill cues for the overhand throw?) COMPREHENSION “Ability to process knowledge on a low level such that the knowledge can be reproduced or communicated without a verbatim repetition.” SKILL/CONCEPT APPLICATION “The use of abstractions in concrete situations.” Use of information, conceptual knowledge, procedures, two or more steps, etc. ANALYSIS STRATEGIC THINKING “The breakdown of a situation into its component Requires reasoning, developing a plan or sequence of parts.” steps; has some complexity; more than one possible answer SYNTHESIS AND EVALUATION EXTENDED THINKING “Putting together elements parts to form a whole, then making value judgments about the method.” Requires an investigation; time to think and process multiple conditions of the problem or task. Wyoming School Health and Physical Education Network (2001). Standards, Assessment, and Beyond. Retrieved May 25, 2006, from http://www.uwyo.edu/wyhpenet
  • 41. The Kolb learning cycle applied to organizations experiencing Let’s capture Let’s share our them and Apply it to new real life knowledge and apply to new problems, learn by experience experiences issues doing Internalize the Sharing new them with knowledge others GROWTH doing reflecting Experiment Compare and test them and Let’s see if we Let’s try them contrast can generate out and new ideas validate them Combine ideas and Generate new formulate new ideas concepts
  • 42.
  • 43. Storytelling - dialogue ให้ผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ (คุณกิจ) ปลดปล่อย tacit knowledge ที่ซ่อนอยู่ออกมาจาก “การปฏิบัติจริง/ประสบการณ์”
  • 44. In Touch with the Reality: Canon’s Mitarai Visiting the Factory © Nonaka・Toyama・Konno
  • 45. Share + Learn give + take ไม่รู้ว่าตัวเองมี + ในสิ่งที่ตัวเองไม่มี
  • 46. สังเคราะห์ “แก่นความรู้” จาก “ขุมความรู้” (Knowledge Assets) .......สู่........ “แก่นความรู้” (Core Competence)
  • 47. การจัดการความรู้เป็นทักษะ ไม่ใช่ความรู้เชิงทฤษฎี ไม่ทํา ไม่รู ้ ฟังการบรรยาย ทําไม่เป็น คนระดับล่างผ่านการฝึก ทําได้ อธิบายไม่ได้ วิจารณ์ พานิช สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) www.kmi.or.th 47/15
  • 48.
  • 49.
  • 50. •  วัฒนธรรมการเรียนรู้ของคนส่วนใหญ่ อาศัยการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ของ ผู้อื่น” โดยไม่ยอม “ ลงทุนลงแรง ” เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของ ตนเอง •  การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของผู้อื่นนั้น นั่นไม่ใช่การเรียนรู้ที่แท้จริง ด้วยหนทางแห่ง การปฏิบัติเท่านั้นที่จะทําให้การเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆ ชัดขึ้นมาเรื่อยๆ การที่เราได้มีโอกาสทําซ้ําแล้วซ้ําเล่าจนเกิดความเข้าใจ นั่นคือการเรียนรู้ ที่แท้จริง
  • 51. Achieving Balance •Corporate •Databases Yellow •Document Pages Management SOLUTIONS for Information Management Services, Inc
  • 52.
  • 53. Knowledge Assets (KA) Paper-based Multimedia Explicit = Media-based Digitally-Indexed Written down Digitally-Active Intellectual Property © ™ (sm) Patents Tacit = People knowledge Individuals in People’s head Groups
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57. 4 5 ก ร ก่ อ ช เช าย ย ง ม ย 6 กร ี ย ร า เร นู ้ ก รั ด ล าว ผ แ ะก ร ้ ร งั ล ล า ให า ว ( er i g L an ) n ( e s r mns Ma ue e t) ( e o n i na dR w d R c gi o n e a ) t r เป ห า ้ า มย ( e i e St t ) D sr d ae ก ะบ น า 3 ร ว กร ก รืส ส ร 2 า ่อ า กร ร ม าแ ะ 1 า เตี ย ก ร ล แ ะเคืร งื อ ล ่อม ปั บ ล น ฤิ ก ร ร เปี ่ ย พ ต ร ม ( o mn ai n C m ui t ) c o ( a st na dB h v r Tr n ii n e a i o o ( rc s o ) Po e s To l s Mn g mn) aae et 57
  • 58. การจัดการความรู้ ประกอบด้วยกระบวนการ •  การขุดค้นและรวบรวมข้อมูล เน้นความรู้ที่จําเป็นสําหรับใช้ประโยชน์ ทั้งจากภายในและภายนอก องค์กร นํามาตรวจสอบความเชื่อถือและเหมาะสมกับบริบทขององค์กร ถ้าไม่เหมาะสมก็ปรับปรุง •  การจัดหมวดหมู่ความรู้ ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน •  การจัดเก็บ ความรู้ เพื่อให้ค้นหาได้ง่าย •  การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดความรู้ •  การจัดกิจกรรมและกระบวนการเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ •  การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อยกระดับความรู้ •  การสร้างความรู้ใหม่ •  การประยุกต์ใช้ความรู้ •  การเรียนรู้จากการใช้ความรู้
  • 59. ความรู้ภายนอก คน Tools/ICT วัฒนธรรม คว้า เลือก กําหนดเป้าหมายของงาน ใช้ บรรลุเป้าหมายของงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับความรู้ จัดเก็บ จัดระบบ ปรับปรุง ค้น วัด คลังความรู้ ผังแสดงองค์ประกอบของการจัดการความรู้ 59/15
  • 60. ก รึ ก บ ม าฝ อ ร 4 5 ก ร ก่ อ ช เช าย ย ง ม ย 6 ก รั ด ล าว ผ แ ะก ร ี ย ร ล า เร นู ้ แ ะก ร ้ ร งั ล ล า ให า ว ( a i g L an g Tr i n e r i ) n n ( e s r mns Ma ue e t) ( e o n i na dR w d R c gi o n e a ) t r เป ห า ้ า มย ( e i e St t ) D sr d ae ก ะบ น า 3 ร ว กร ก รืส ส ร 2 า ่อ า กร ร ม าแ ะ 1 า เตี ย ก ร ล แ ะเคืร งื อ ล ่อม ปั บ ล น ฤิ ก ร ร เปี ่ ย พ ต ร ม ( o mn ai n C m ui t ) c o ( a st na dB h v r Tr n ii n e a i o o ( rc s o ) Po e s To l s Mn g mn) aae et 60
  • 61. ก รึ ก บ ม าฝ อ ร 4 5 ก ร ก่ อ ช เช าย ย ง ม ย 6 ก รั ด ล าว ผ แ ะก ร ี ย ร ล า เร นู ้ แ ะก ร ้ ร งั ล ล า ให า ว ( a i g L an g Tr i n e r i ) n n ( e s r mns Ma ue e t) ( e o n i na dR w d R c gi o n e a ) t r เป ห า ้ า มย ( e i e St t ) D sr d ae ก ะบ น า 3 ร ว กร ก รืส ส ร 2 า ่อ า กร ร ม าแ ะ 1 า เตี ย ก ร ล แ ะเคืร งื อ ล ่อม ปั บ ล น ฤิ ก ร ร เปี ่ ย พ ต ร ม ( o mn ai n C m ui t ) c o ( a st na dB h v r Tr n ii n e a i o o ( rc s o ) Po e s To l s Mn g mn) aae et 61
  • 62. ก รึ ก บ ม าฝ อ ร 4 5 ก ร ก่ อ ช เช าย ย ง ม ย 6 ก รั ด ล าว ผ แ ะก ร ี ย ร ล า เร นู ้ แ ะก ร ้ ร งั ล ล า ให า ว ( a i g L an g Tr i n e r i ) n n ( e s r mns Ma ue e t) ( e o n i na dR w d R c gi o n e a ) t r เป ห า ้ า มย ( e i e St t ) D sr d ae ก ะบ น า 3 ร ว กร ก รืส ส ร 2 า ่อ า กร ร ม าแ ะ 1 า เตี ย ก ร ล แ ะเคืร งื อ ล ่อม ปั บ ล น ฤิ ก ร ร เปี ่ ย พ ต ร ม ( o mn ai n C m ui t ) c o ( a st na dB h v r Tr n ii n e a i o o ( rc s o ) Po e s To l s Mn g mn) aae et 62
  • 63. Knowledge Design Knowledge design is methodology. It is designing not about things or materials or hardware products, but rather about events, phenomena, or experiences. It is a way of embedding knowledge of things (and technology) into events (process). Here the process of abduction rather than cling to analytical approaches is important. This process of abduction should be followed by deduction (applying the hypothesis) and induction (observing and verifying it).
  • 64. Office Design Reflecting the Times •  Nissan's Cross-Functional Team literally works cross-functionally. •  Oticon in Denmark, a knowledge management best practice company, is well-known for its spaghetti organization which accepts and tolerates chaos.
  • 65. ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) •  An informal network of people who are involved in similar work or activities •  Focus on minimizing/improving systems and processes •  Must have structure, meaning, and value •  Allow for regular and new activities •  Keep a sustained level of commitment •  Enable sharing of both ‘Explicit’ and ‘Tacit •  Promote “free-flow” of information •  Range from “Blogs” to “Communities of Practice” discussion forums •  May still have controls on membership and may be sponsored/hosted by sponsor site 65