SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
เฟี ย เจต์
ทฤษฎี เ กี ่ ย ว กั บ พั ฒ นาการ
เชาวน์ ป ั ญ ญาที ่ ผ ู ้ เ ขี ย นเห็ น ว่ า มี
ประโยชน์ สำ า หรั บ ครู คื อ
ทฤษฎี ข องนั ก จิ ต วิ ท ยาชาว สวิ ส
ชื ่ อ เพี ย เจต์ (Piaget) ที ่ จ ริ ง แล้ ว
เพี ย เจต์ ไ ด้ ร ั บ ปริ ญ ญาเอกทาง
วิ ท ยาศาสตร์ สาขาสั ต วิ ท ยา ที ่
มหาวิ ท ยาลั ย Neuchatel ประเทศ
สวิ ส เซอร์ แ ลนด์
          หลั ง จากได้ ร ั บ ปริ ญ ญาเอก
เฟียเจต์พบคำาตอบของเด็กน่าสนใจมาก โดย
เฉพาะคำาตอบของเด็กที่เยาว์วัยเพราะมักจะตอบ
ผิด แต่เมื่อเพียเจต์ได้วิเคราะห์คำาตอบที่ผิดเหล่า
นั้นก็พบว่าคำาตอบของเด็กเล็กที่ต่างไปจากคำา
ตอบของเด็กโตเพราะมีความคิดที่ต่างกัน
คุณภาพของคำาตอบของเด็กที่วัยต่างกัน มักจะ
แตกต่างกัน แต่ไม่ควรที่จะบอกว่าเด็กโตฉลาด
กว่าเด็กเล็ก หรือคำาตอบของเด็กเล็กผิด การ
ทำางานกับนายแพทย์บีเนต์ระหว่างปีค.ศ.1 91 9
เพี ย เจต์ (Piaget) ได้ ศ ึ ก ษา
เกี ่ ย วกั บ พั ฒ นาการทางด้ า น
ความคิ ด ของเด็ ก ว่ า มี ข ั ้ น
ตอนหรื อ กระบวนการ
อย่ า งไร ทฤษฎี ข องเพี ย เจต์
ตั ้ ง อยู ่ บ นรากฐานของทั ้ ง
องค์ ป ระกอบที ่ เ ป็ น
พั น ธุ ก รรม และสิ ่ ง แวดล้ อ ม
เฟียเจท์อธิบายว่า การเรียนรู้ของ
เด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปญญา    ั
ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็น
ลำาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิงที่เป็นไปตาม
                          ่
ธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ขามจาก
                                 ้
พัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสูอีกขั้นหนึ่ง
                            ่
เพราะจะทำาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การ
จัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของ
เด็กในช่วงที่เด็กกำาลังจะพัฒนาไปสู่ ขันที่
                                      ้
สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไป
อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความ
สำาคัญของการเข้าใจธรรมชาติและ
พัฒนาการของเด็กมากกว่าการ
กระตุนเด็กให้มีพฒนาการเร็วขึ้น
      ้           ั
เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็ก
สามารถอธิบายได้โดยลำาดับระยะ
พัฒนาทางชีววิทยาทีคงที่ แสดงให้
                    ่
ปรากฏโดยปฏิสมพันธ์ของเด็กกับสิ่ง
                ั
แวดล้อม
เพียเจต์กล่าวว่า ระหว่างระยะเวลา
ตั้งแต่ทารกจนถึงวัยรุ่น คนเราจะค่อยๆ
สามารถปรับตัวเข้ากับสิงแวดล้อมได้มาก
                          ่
ขึ้นตามลำาดับขั้น โดยเพียเจต์ได้แบ่งลำาดับ
ขั้นของพัฒนาการเชาวน์ปญญาของมนุษย์
                            ั
ไว้ 4 ขั้น ซึ่งเป็นขั้นพัฒนาการเชาวน์
ปัญญา ดังนี้
•ขั ้ น ที ่ 1 ขั ้ น ประสาทรั บ รู ้ แ ละการเคลื ่ อ นไหว
(Sensorimotor)
        แรกเกิ ด - 2 ขวบ
       ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรม
ของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่
ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติ
ปัญญาด้วยการกระทำา เด็กสามารถแก้ปญหาได้     ั
แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำาพูด เด็กจะต้องมี
โอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
•ขั ้ น ที ่ 2 ขั ้ น ก่ อ นปฏิ บ ั ต ิ ก ารคิ ด
(Preoperational) อายุ 18 เดื อ น - 7 ปี
    เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์
ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติ
ปัญญา(Structure) ที่จะใช้สญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของ
                                        ั
ที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็ก
วัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำาต่างๆ
เพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด ขั้นนี้ แบ่งออกเป็นขั้นย่อย
อีก 2 ขั้น คือ
1. ขั ้ น ก่ อ นเกิ ด สั ง กั ป (Preconceptual
Thought)

     เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็น
ช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบืองต้น สามารถจะโยง
                           ้
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์
หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและ
กัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำากัด
อยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือ
ถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็น
เหตุผลของผูอื่น ความคิดและเหตุผลของเด็ก
                ้
วัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก แต่
2. ขั ้ น การคิ ด แบบญาณหยั ่ ง รู ้ นึ ก ออกเองโดยไม่
ใช้ เ หตุ ผ ล (Intuitive Thought)

   เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้
เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวม
ตัวดีขึ้น เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่
ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปญหาเฉพาะหน้าได้
                             ั
โดยไม่คดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำาความรู้
          ิ
ในสิงหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปญหาอื่นและ
     ่                         ั
สามารถนำาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดย
ไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อน การคิดหาเหตุผล
•ขั ้ น ที ่ 3 ขั ้ น ปฏิ บ ั ต ิ ก ารคิ ด ด้ า นรู ป ธรรม (C oncrete
Operations)( อายุ 7 - 11 ปี )
   พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้
แตกต่างกันกับเด็กในขั้น Preperational มาก เด็กวัยนีจะ้
สามารถสร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ ในการ แบ่งสิ่ง
แวดล้อมออกเป็นหมวดหมูได้ คือ เด็กจะสามารถทีจะอ้างอิง
                         ่                       ่
ด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น เด็กวัยนี้
สามารถแบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ
(Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและความ
สัมพันธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น
•ขั ้ น ที ่ 4 ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal
Operations) อายุ 12 ปี ข ึ ้ น ไป
    ในขั้นนีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาและความคิดเห็น
            ้
ของเด็กเป็นขั้นสุดยอด คือ เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดเป็น
ผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง เด็กสามารถทีจะคิด
                                                ่
หาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มอยู่ สามารถทีจะคิด
                                    ี              ่
เป็นนักวิทยาศาสตร์ สามารถทีจะตั้งสมมุติฐานและ
                                ่
ทฤษฎีและเห็นว่าความจริงทีเห็นด้วยกับการรับรู้ไม่
                              ่
สำาคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งทีอาจเป็นไปได้(Possibility
                            ่
พัฒนาการทางการรู้คดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปี
                       ิ
แรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็น
ประสบการณ์ สำาคัญที่เด็กควรได้รับการส่ง
เสริม มี 6 ขั้น ได้แก่

5.ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute D ifferences)
6.ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (O pposition)
7.ขั้นรู้หลายระดับ (D iscrete D egree)
8.ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation)
9.ขั้นรู้ผลของการกระทำา (Function)
6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact
C om pensation)
กระบวนการทางสติ ป ั ญ ญามี ล ั ก ษณะดั ง นี ้

3)การซึมซับหรือการดูดซึม (assim ilation)
   เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว
และข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพือใช้ประโยชน์ต่อไป
                                    ่

2. การปรับและจัดระบบ (accom m od ation) คือ กระบวนการทาง
สมองในการปรับ
       ประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากันเป็น
ระบบ

3. การเกิดความสมดุล (equilibration)
    เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการปรับ
เป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะมีความสมดุลขึ้น หากไม่
สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้
การนำ า ไปใช้ ใ นการจั ด การศึ ก ษา / การสอน

1 .เมือทำางานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำานึงถึงพัฒนาการทางสติ
      ่
ปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้

   1 .1 )นักเรียนทีมอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติ
                   ่ ี
   ปัญญาทีแตกต่างกัน
              ่

   1 .2)นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ
       1 .2.1 > ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences)
                จะเกิดขึ้นเมือนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กบ
                             ่                              ั
       วัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อม           โดยตรง
       1 .2.2> ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์
       (L ogicom athem atical experiences) จะเกิดขึ้น เมือ
                                                         ่
       นักเรียนได้พฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิด
                      ั
2.หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทาง
สติปญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คอ
      ั                                         ื
   1 .เน้นพัฒนาการทางสติปญญาของผู้เรียนโดยต้อง
                             ั
   เน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด
   2.เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความ
   แปลกใหม่
   3.เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ
   4.เน้นกิจกรรมการสำารวจและการเพิ่มขยายความ
   คิดในระหว่างการเรียนการสอน
   5.ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities)
   โดยการรับฟังความคิดเห็นของผูอื่นนอกเหนือจาก
                                  ้
   ความคิดเห็นของตนเอง
3.การสอนทีส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควร
           ่
ดำาเนินการดังต่อไปนี้

  1 ) ถามคำาถามมากกว่าการให้คำาตอบ
  2) ครูผู้สอนควรจะพูดให้นอยลง และฟังให้มากขึ้น
                            ้
  3) ควรให้เสรีภาพแก่นกเรียนทีจะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ
                          ั      ่
  4) เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคำาถามหรือจัด
  ประสบการณ์ให้นกเรียนใหม่
                     ั
  5) ชี้ระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงาน
  พัฒนาการทางสติปัญญาขั้นนามธรรมเพื่อดูว่านักเรียนคิด
  อย่างไร
  6) ยอมรับความจริงทีว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการ
                        ่
  ทางสติปัญญาทีแตกต่างกัน
                   ่
  7) ผู้สอนต้องเข้าใจว่านักเรียนมีความสามารถเพิมขึ้นใน
                                               ่
4.ในขันประเมินผล ควรดำาเนิน
      ้
การสอนต่อไปนี้

  1 ) มีการทดสอบแบบการให้
  เหตุผลของนักเรียน
  2) พยายามให้นักเรียนแสดง
  เหตุผลในการตอนคำาถามนั้น ๆ
  3) ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมี
  พัฒนาการทางสติปญญาตำ่า
                     ั
  กว่าเพื่อร่วมชั้น

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12
Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12
Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12
MUHAMAD FAIRUZ LATIF
 
Der GeschäFtsbrief
Der GeschäFtsbriefDer GeschäFtsbrief
Der GeschäFtsbrief
susi7
 

Destaque (12)

Mobile Communications Marketing: Effective Compliance Strategies to Avoid Pen...
Mobile Communications Marketing: Effective Compliance Strategies to Avoid Pen...Mobile Communications Marketing: Effective Compliance Strategies to Avoid Pen...
Mobile Communications Marketing: Effective Compliance Strategies to Avoid Pen...
 
Proyecto
ProyectoProyecto
Proyecto
 
Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12
Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12
Usul penyelidikan krl3033 muhamad fairuz abdul latif 770601026689 ppg 21742-12
 
Estrategia digital
Estrategia digitalEstrategia digital
Estrategia digital
 
Prapovijesno doba
Prapovijesno dobaPrapovijesno doba
Prapovijesno doba
 
Ban Jelacic
Ban JelacicBan Jelacic
Ban Jelacic
 
La analítica digital como primer paso de tu estrategia digital tristan elo...
La analítica digital como primer paso de tu estrategia digital   tristan elo...La analítica digital como primer paso de tu estrategia digital   tristan elo...
La analítica digital como primer paso de tu estrategia digital tristan elo...
 
Senarai semak akhir tahun
Senarai semak akhir tahunSenarai semak akhir tahun
Senarai semak akhir tahun
 
El purchase funnel como herramienta para definir y optimizar una estrategia d...
El purchase funnel como herramienta para definir y optimizar una estrategia d...El purchase funnel como herramienta para definir y optimizar una estrategia d...
El purchase funnel como herramienta para definir y optimizar una estrategia d...
 
Senarai borang pss
Senarai borang pssSenarai borang pss
Senarai borang pss
 
Syarah spiritual durrotun nasihin -sholat berjamaah-
Syarah spiritual durrotun nasihin  -sholat berjamaah-Syarah spiritual durrotun nasihin  -sholat berjamaah-
Syarah spiritual durrotun nasihin -sholat berjamaah-
 
Der GeschäFtsbrief
Der GeschäFtsbriefDer GeschäFtsbrief
Der GeschäFtsbrief
 

Semelhante a เฟียเจท์ 1

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
NusaiMath
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Yee022
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
New Born
 

Semelhante a เฟียเจท์ 1 (10)

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

Mais de waenalai002

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
waenalai002
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
waenalai002
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
waenalai002
 

Mais de waenalai002 (6)

Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 

เฟียเจท์ 1

  • 2. ทฤษฎี เ กี ่ ย ว กั บ พั ฒ นาการ เชาวน์ ป ั ญ ญาที ่ ผ ู ้ เ ขี ย นเห็ น ว่ า มี ประโยชน์ สำ า หรั บ ครู คื อ ทฤษฎี ข องนั ก จิ ต วิ ท ยาชาว สวิ ส ชื ่ อ เพี ย เจต์ (Piaget) ที ่ จ ริ ง แล้ ว เพี ย เจต์ ไ ด้ ร ั บ ปริ ญ ญาเอกทาง วิ ท ยาศาสตร์ สาขาสั ต วิ ท ยา ที ่ มหาวิ ท ยาลั ย Neuchatel ประเทศ สวิ ส เซอร์ แ ลนด์ หลั ง จากได้ ร ั บ ปริ ญ ญาเอก
  • 3. เฟียเจต์พบคำาตอบของเด็กน่าสนใจมาก โดย เฉพาะคำาตอบของเด็กที่เยาว์วัยเพราะมักจะตอบ ผิด แต่เมื่อเพียเจต์ได้วิเคราะห์คำาตอบที่ผิดเหล่า นั้นก็พบว่าคำาตอบของเด็กเล็กที่ต่างไปจากคำา ตอบของเด็กโตเพราะมีความคิดที่ต่างกัน คุณภาพของคำาตอบของเด็กที่วัยต่างกัน มักจะ แตกต่างกัน แต่ไม่ควรที่จะบอกว่าเด็กโตฉลาด กว่าเด็กเล็ก หรือคำาตอบของเด็กเล็กผิด การ ทำางานกับนายแพทย์บีเนต์ระหว่างปีค.ศ.1 91 9
  • 4. เพี ย เจต์ (Piaget) ได้ ศ ึ ก ษา เกี ่ ย วกั บ พั ฒ นาการทางด้ า น ความคิ ด ของเด็ ก ว่ า มี ข ั ้ น ตอนหรื อ กระบวนการ อย่ า งไร ทฤษฎี ข องเพี ย เจต์ ตั ้ ง อยู ่ บ นรากฐานของทั ้ ง องค์ ป ระกอบที ่ เ ป็ น พั น ธุ ก รรม และสิ ่ ง แวดล้ อ ม
  • 5. เฟียเจท์อธิบายว่า การเรียนรู้ของ เด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปญญา ั ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็น ลำาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิงที่เป็นไปตาม ่ ธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ขามจาก ้ พัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสูอีกขั้นหนึ่ง ่ เพราะจะทำาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การ จัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของ เด็กในช่วงที่เด็กกำาลังจะพัฒนาไปสู่ ขันที่ ้ สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไป
  • 6. อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความ สำาคัญของการเข้าใจธรรมชาติและ พัฒนาการของเด็กมากกว่าการ กระตุนเด็กให้มีพฒนาการเร็วขึ้น ้ ั เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็ก สามารถอธิบายได้โดยลำาดับระยะ พัฒนาทางชีววิทยาทีคงที่ แสดงให้ ่ ปรากฏโดยปฏิสมพันธ์ของเด็กกับสิ่ง ั แวดล้อม
  • 7. เพียเจต์กล่าวว่า ระหว่างระยะเวลา ตั้งแต่ทารกจนถึงวัยรุ่น คนเราจะค่อยๆ สามารถปรับตัวเข้ากับสิงแวดล้อมได้มาก ่ ขึ้นตามลำาดับขั้น โดยเพียเจต์ได้แบ่งลำาดับ ขั้นของพัฒนาการเชาวน์ปญญาของมนุษย์ ั ไว้ 4 ขั้น ซึ่งเป็นขั้นพัฒนาการเชาวน์ ปัญญา ดังนี้
  • 8. •ขั ้ น ที ่ 1 ขั ้ น ประสาทรั บ รู ้ แ ละการเคลื ่ อ นไหว (Sensorimotor) แรกเกิ ด - 2 ขวบ ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรม ของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติ ปัญญาด้วยการกระทำา เด็กสามารถแก้ปญหาได้ ั แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำาพูด เด็กจะต้องมี โอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
  • 9. •ขั ้ น ที ่ 2 ขั ้ น ก่ อ นปฏิ บ ั ต ิ ก ารคิ ด (Preoperational) อายุ 18 เดื อ น - 7 ปี เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์ ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติ ปัญญา(Structure) ที่จะใช้สญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของ ั ที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็ก วัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำาต่างๆ เพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด ขั้นนี้ แบ่งออกเป็นขั้นย่อย อีก 2 ขั้น คือ
  • 10. 1. ขั ้ น ก่ อ นเกิ ด สั ง กั ป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็น ช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบืองต้น สามารถจะโยง ้ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและ กัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำากัด อยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือ ถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็น เหตุผลของผูอื่น ความคิดและเหตุผลของเด็ก ้ วัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก แต่
  • 11. 2. ขั ้ น การคิ ด แบบญาณหยั ่ ง รู ้ นึ ก ออกเองโดยไม่ ใช้ เ หตุ ผ ล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้ เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวม ตัวดีขึ้น เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปญหาเฉพาะหน้าได้ ั โดยไม่คดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำาความรู้ ิ ในสิงหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปญหาอื่นและ ่ ั สามารถนำาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดย ไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อน การคิดหาเหตุผล
  • 12. •ขั ้ น ที ่ 3 ขั ้ น ปฏิ บ ั ต ิ ก ารคิ ด ด้ า นรู ป ธรรม (C oncrete Operations)( อายุ 7 - 11 ปี ) พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้ แตกต่างกันกับเด็กในขั้น Preperational มาก เด็กวัยนีจะ้ สามารถสร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ ในการ แบ่งสิ่ง แวดล้อมออกเป็นหมวดหมูได้ คือ เด็กจะสามารถทีจะอ้างอิง ่ ่ ด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น เด็กวัยนี้ สามารถแบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ (Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและความ สัมพันธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น
  • 13. •ขั ้ น ที ่ 4 ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operations) อายุ 12 ปี ข ึ ้ น ไป ในขั้นนีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาและความคิดเห็น ้ ของเด็กเป็นขั้นสุดยอด คือ เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดเป็น ผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง เด็กสามารถทีจะคิด ่ หาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มอยู่ สามารถทีจะคิด ี ่ เป็นนักวิทยาศาสตร์ สามารถทีจะตั้งสมมุติฐานและ ่ ทฤษฎีและเห็นว่าความจริงทีเห็นด้วยกับการรับรู้ไม่ ่ สำาคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งทีอาจเป็นไปได้(Possibility ่
  • 14. พัฒนาการทางการรู้คดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปี ิ แรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็น ประสบการณ์ สำาคัญที่เด็กควรได้รับการส่ง เสริม มี 6 ขั้น ได้แก่ 5.ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute D ifferences) 6.ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (O pposition) 7.ขั้นรู้หลายระดับ (D iscrete D egree) 8.ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation) 9.ขั้นรู้ผลของการกระทำา (Function) 6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact C om pensation)
  • 15. กระบวนการทางสติ ป ั ญ ญามี ล ั ก ษณะดั ง นี ้ 3)การซึมซับหรือการดูดซึม (assim ilation) เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว และข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพือใช้ประโยชน์ต่อไป ่ 2. การปรับและจัดระบบ (accom m od ation) คือ กระบวนการทาง สมองในการปรับ ประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากันเป็น ระบบ 3. การเกิดความสมดุล (equilibration) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการปรับ เป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะมีความสมดุลขึ้น หากไม่ สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้
  • 16. การนำ า ไปใช้ ใ นการจั ด การศึ ก ษา / การสอน 1 .เมือทำางานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำานึงถึงพัฒนาการทางสติ ่ ปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้ 1 .1 )นักเรียนทีมอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติ ่ ี ปัญญาทีแตกต่างกัน ่ 1 .2)นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ 1 .2.1 > ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences) จะเกิดขึ้นเมือนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กบ ่ ั วัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อม โดยตรง 1 .2.2> ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (L ogicom athem atical experiences) จะเกิดขึ้น เมือ ่ นักเรียนได้พฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิด ั
  • 17. 2.หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทาง สติปญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คอ ั ื 1 .เน้นพัฒนาการทางสติปญญาของผู้เรียนโดยต้อง ั เน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด 2.เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความ แปลกใหม่ 3.เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ 4.เน้นกิจกรรมการสำารวจและการเพิ่มขยายความ คิดในระหว่างการเรียนการสอน 5.ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยการรับฟังความคิดเห็นของผูอื่นนอกเหนือจาก ้ ความคิดเห็นของตนเอง
  • 18. 3.การสอนทีส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควร ่ ดำาเนินการดังต่อไปนี้ 1 ) ถามคำาถามมากกว่าการให้คำาตอบ 2) ครูผู้สอนควรจะพูดให้นอยลง และฟังให้มากขึ้น ้ 3) ควรให้เสรีภาพแก่นกเรียนทีจะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ ั ่ 4) เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคำาถามหรือจัด ประสบการณ์ให้นกเรียนใหม่ ั 5) ชี้ระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงาน พัฒนาการทางสติปัญญาขั้นนามธรรมเพื่อดูว่านักเรียนคิด อย่างไร 6) ยอมรับความจริงทีว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการ ่ ทางสติปัญญาทีแตกต่างกัน ่ 7) ผู้สอนต้องเข้าใจว่านักเรียนมีความสามารถเพิมขึ้นใน ่
  • 19. 4.ในขันประเมินผล ควรดำาเนิน ้ การสอนต่อไปนี้ 1 ) มีการทดสอบแบบการให้ เหตุผลของนักเรียน 2) พยายามให้นักเรียนแสดง เหตุผลในการตอนคำาถามนั้น ๆ 3) ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมี พัฒนาการทางสติปญญาตำ่า ั กว่าเพื่อร่วมชั้น