SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
Baixar para ler offline
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
7
ขอสอบโควตา มช. ปการศึกษา 2556
สอบวันเสาร ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ตอนที่ 2
7.อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่แนวตรงตามแกน x ที่เวลาเริ่มตน 0 วินาที อนุภาคอยูที่ x = 0 เมตร
ความเร็วของอนุภาคเปลี่ยนแปลงกับเวลาดังรูป ขอใดกลาวถูกตอง
1.ความเรงของอนุภาคที่วินาทีที่ 3 มีคาเทากับ 0
2.ตําแหนงของอนุภาคจากจุดเริ่มตน เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 มีคาเทากับ 8 เมตร
3.อัตราเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวงเวลา 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 2 เมตรตอวินาที
4.ความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวง 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 4 เมตรตอวินาที
แนวคิด อยางที่ทราบกันดีก็คือเมื่อเราเจอกราฟในทางฟสิกส เราจะใหความสําคัญอยู
2 อยางคือ 1. ความชันของกราฟมีความหมายหรือเปลา กับ 2.พื้นที่ใตกราฟมีความหมาย
หรือเปลา ซึ่งแนนอนในขอนี้เรากําลังเจอกราฟความเร็วกับเวลา ซึ่ง ความชันจะบอกคา
ความเรง และพื้นที่ใตกราฟจะบอกการกระจัด
พิจารณาตัวเลือกที่
1.ความเรงของอนุภาคที่วินาทีที่ 3 มีคาเทากับ 0
28 ( 8)
8 /
2 4
y
a slope m s
x
Δ
Δ
 
    

(2,8)
(4,-8)
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
8
2.ตําแหนงของอนุภาคจากจุดเริ่มตน เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 มีคาเทากับ 8 เมตร
ในขอนี้เราพิจารณาพื้นที่ใตกราฟนะครับ ในชวงเวลาตั้งแต 0 – 2 วินาที
2 8 16s Area m   

3.อัตราเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวงเวลา 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 2 เมตรตอวินาที
อันดับแรกเลย ตองรูวาอัตราเร็วเฉลี่ยหาไดไง?????
เนื่องจาก อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทั้งหมด / เวลาทั้งหมด
จากกราฟ จะหาระยะทางทั้งหมดไดเทากับ  
1 1
2 8 1 8 1 8 32
2 2
m
   
          
   
ดังนั้นจะได 32
8 /
4
avv m s 
4.ความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวง 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 4 เมตรตอวินาที
อันดับแรกเลย ตองรูวาความเร็วเฉลี่ยหาไดไง?????
เนื่องจาก ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัด / เวลาทั้งหมด
จากกราฟ จะหาการกระจัดไดเทากับ    
1 1
2 8 1 8 1 8 16
2 2
m
   
           
   
ดังนั้นจะได 16
4 /
4
avv m s 

ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
9
   2
cos53 5 3/ 5 3 /o
xa a m s  
  
2
sin53
5 4 / 5
4 /
o
ya a
m s



8.วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วางนิ่งอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน นักเรียนสองคนออกแรง
กระทําตอวัตถุนี้พรอมกัน จากการออกแรงทําใหวัตถุมีความเรงคงที่ 5 เมตรตอวินาที2 ใน
ทิศทางทํามุม 53o
θ  กับแนวแกน x ดังรูป ถานักเรียนคนที่หนึ่ง ใชแรง  1F 70 นิวตัน
กระทําตอวัตถุในแนวดิ่ง นักเรียนคนที่สองออกแรงตามแกน x และแกน y กี่นิวตัน
1. 30 และ -30 2. 30 และ -70 3. -70 และ 70 4. -30 และ 70
แนวคิด ในโจทยขอนี้เราตองอาศัยความรูเกี่ยวกับการแตกเวกเตอร และ กฎการ
เคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน ครับ!!! กอนอื่นเราจะแตกเวกเตอร a ใหอยูบนแกน x และ y
ซึ่งจะได
พิจารณาแกน Y จาก   10 4 40 .y y yF ma F N    
นั่นหมายความวา แรงลัพธบนแกน Y จะมีคาเทากับ 40 นิวตัน เนื่องจากมีแรงบนแกน Y
อยูกอนแลว 70 นิวตัน (ทิศบวก) ดังนั้นเราจึงตองออกแรงบนแกน Y อีก 30 นิวตัน (ทิศลบ)
ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
บางคนอาจจะไปคิดแกน X อีกที ก็ไดครับ ถาคุณมีเวลาเหลือ…
  10 3 30 .x x xF ma F N     กลาวคือ แรงลัพธบนแกน X มีคาเทากับ 30 นิวตัน
1 70F N
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
10
9.นักกีฬากระโดดไกลทําสถิติไวที่ 7.38 เมตร โดยออกตัวในทิศทางทํามุม 19o
กับพื้นราบ
นักกีฬาจะกระโดดไดสูงที่สุดกี่เมตร
1. 0.437 2. 0.527 3. 0.641 4. 0.722
แนวคิด ขอนี้ถาใครจําสูตรลัดไมไดอาจจะตองเสียเวลาและตองออกแรงเยอะหนอยนะ
ครับ ในที่นี้เราทราบ 7.38 ; 19o
xs m θ 
ซึ่งหาไดจาก
 2 2
sin 2 2 sin cos
x
u u
s
g g
θ θ θ
  (1)
คงไมลืมนะครับวา  sin 2 2sin cosθ θ θ
เราสามารถหาระยะสูงสุดไดจากสูตร
2 2
sin
2
y
u
s
g
θ
 (2)
อาศัยคา sin19 0.33o
 และ cos19 0.95o
 (กําหนดไวใหแลวในตัวขอสอบ)
นําสมการ (2) / (1) จะได
2 2
2 0
sin 19 sin19
2 2 sin19 cos19 4cos19
o o
y
o o
x
s u g
s g u
  
0.33
0.641
7.38 4 0.95
y
y
s
s m 


ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
11
10.นักเรียนทดลองหาคาแรงโนมถวงของโลก โดยใชลูกตุมอยางงายยาว 60 เซนติเมตร
จากการเก็บขอมูลพบวาในการสั่น 20 รอบ ใชเวลา 31.4 วินาที ความเรงเนื่องจากแรงโนม
ถวงของโลกเปนกี่เมตรตอวินาที2
1. 7.5 2. 9.6 3. 9.8 4. 10.0
แนวคิด โจทยขอนี้เกี่ยวของกับเรื่อง SHM. แบบลูกตุมนาฬิกา
จากโจทย “การสั่น 20 รอบ ใชเวลา 31.4 วินาที” เราสามารถคํานวณ
คาบการเคลื่อนที่ไดคือ 31.4
20
T  วินาทีตอรอบ
เราอาจจะเขียนสมการดานบนใหดูดีไดอีกนะครับ คือ 10
20
T
π
 วินาทีตอรอบ
และจาก 2T
g
π

แทนคาตัวแปรตามโจทย จะได
10 0.6
2
20 g
π
π
1 0.6
4 g

ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได
1 0.6
16 g

2
9.6 /g m s
ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
12
11.กลองมวล 10 กิโลกรัม วางนิ่งบนพื้นที่ไมแรงเสียดทาน ถูกแรงดึงขนาด 15 นิวตัน ใน
แนวขนานกับพื้นหลังจากเคลื่อนที่ไปได 5 เมตร ความเร็วของกลองเปนกี่เมตรตอวินาที
1. 1.7 2. 2.6 3. 3.9 4. 7.0
แนวคิด ลองเขียนรูปคราวๆดูกอนนะครับ
วิธีที่ 1 (แนะนํา) เราจะใชความรูเรื่องงานและพลังงาน
เนื่องจาก kW EΔ
2 21 1
2 2
Fs mv mu 
    
221 1
15 5 10 10 0
2 2
v  
15 3.9 /v m s 
วิธีที่ 2 ใชกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน
จาก F ma
 
15 10a
2
1.5 /a m s
และจาก 21
2
s ut at 
จะได   21 10 20
5 1.5
2 1.5 3
t t s   
จาก
2
u v
s t
 
  
 
ดังนั้นจะได 0 20 10
5 3.9 /
2 3 20
3
v
v m s
 
   
 

ตอบ
ตัวเลือกที่ 3
ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
13
12.เครื่องยนตของรถคันหนึ่งทํางานในอัตรา 90 กิโลวัตต ถารถมีมวล 1200 กิโลกรัม รถคัน
นี้จะสามารถเคลื่อนที่บนพื้นเอียงที่ทํามุม 30o
กับแนวระดับ ดวยความเร็วกี่เมตรตอวินาที
1. 15 2. 18 3. 108 4. 180
แนวคิด ลองพิจารณารูปนี้ดานลางนี้นะครับ
เนื่องจากโจทยไมไดระบุลักษณะการเคลื่อนที่บนพื้นเอียง เพื่อใหชีวิตงายขึ้น ผมเลย
สมมติวารถคันนี้ตองการเคลื่อนขึ้นบนพื้นเอียงดวยความเร็วคงที่
นั่นหมายความวา เครื่องยนตจะตองออกแรง 1
sin30 1200 10 6000
2
o
F mg N    
เพื่อใชการเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียง
จาก W
P Fv
t
 
ดังนั้นเราจะไดวา 3 3
90 10 6 10 v   
90
6
v 
15 /v m s
ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
14
13.กระสุนปนมวล 10 กรัม เคลื่อนที่เขากระทบแทงไมมวล 2 กิโลกรัม ที่แขวนหอยอยูกับ
เสนเชือกในแนวดิ่ง โดยกระสุนทะลุฝงเขาไปในเนื้อไม และทําใหเชือกเหวี่ยงแทงไมขึ้นไปได
สูงสุดที่ระยะ 7.2 เซนติเมตร จากแนวเริ่มตน ความเร็วของกระสุนเปนกี่เมตรตอวินาที
1. 120.0 2. 241.2 3. 282.8 4. 296.9
แนวคิด จากโจทยเราสามารถเขียนรูปไดเปน
พิจารณาตําแหนง A และ B จากรูปดานบน จะไดวา
A BE E
21
2
A Bmv mgh
2
2 2 10 7.2 10 1.2 /A Bv gh m s
     
ความเร็ว ณ ตําแหนง A ทําหนาที่เปนความเร็วหลังชนดวย ดังนั้นจากกฎอนุรักษโมเมนตัม
จะไดวา
i fP P 
 
 1 1 2 2 1 2m u m u m m v  
  
       110 2000 0 2010 1.2u  

จะได 1 241.2 /u m s

ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
15
14.ปติยืนบนตาชั่งในลิฟตและสังเกตเห็นวา ในขณะที่ลิฟตเคลื่อนที่ น้ําหนักของเขาที่อาน
ไดมากกวาตอนที่ลิฟตไมเคลื่อนที่ แสดงวาปติอานตาชั่งในขณะที่ลิฟตเคลื่อนที่อยางไร
1. เคลื่อนที่ลงดวยความเร็วคงที่ 2. เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเร็วคงที่
3. เคลื่อนที่ขึ้นดวยความหนวง 4. เคลื่อนที่ลงดวยความหนวง
แนวคิด พิจารณารูปดานลาง
จาก F ma
 
เมื่อพิจารณารูปจะไดวา N mg ma 
หรือ N ma mg 
จะเห็นวา คาน้ําหนักที่อานไดจากตาชั่ง (N) จะมีคามากขึ้นเมื่อลิฟตตองมีความเรง และ
N กับ a มีทิศเดียวกัน
พิจารณาตัวเลือกที่ 4 พบวา ลิฟตเคลื่อนที่ลงดวยความหนวง หมายความวา ลิฟตกําลัง
เคลื่อนที่ลง แตทิศทางของความเรงมีทิศขึ้นนะครับ
ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
16
15.ถาระบบรอกประกอบดวยรอก 2 ตัวดังรูป คาน้ําหนักของวัตถุ A ในหนวยนิวตัน ที่ทําให
ระบบอยูในสมดุลสถิตเปนเทาใด
1. 5 2. 10 3. 15 4. 17.5
แนวคิด พิจารณารอกดานขวามือ จะไดวา W r F R  
5 15
15
2 2
F  
ดังนั้นจะไดวา แรงตึงในเสนเชือกเทากับ 5F N
พิจารณารอกดานซายมือ เนื่องจากรอกตัวนี้เปนรอกเดี่ยวตายตัว คาน้ําหนักของวัตถุ A
จะเทากับแรงตึงในเสนเชือก
ดังนั้น 5Am g F N 
ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
17
16.ถากระปองซึ่งกําลังกลิ้งโดยไมลื่นไถลบนพื้นเรียบที่มีความชันเทากับในระบบ A และ B
โดยกระปองทั้งสองมีมวลและโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนกลางเทากันดังรูป หากเริ่มตนที่
ความสูงเดียวกัน และไมมีการสูญเสียพลังงานใดๆ เมื่อเวลาผานไป ขอใดถูกตอง
1.ระบบ B จะมีพลังงานมากกวาระบบ A เนื่องจากกําลังเคลื่อนที่ขึ้น
2.ระบบ A จะมีพลังงานมากกวาระบบ B เนื่องจากกําลังเคลื่อนที่ขึ้น
3.ระบบ A และ B จะมีพลังงานเทากันเนื่องจากระบบไมมีการสูญเสียพลังงาน
4.ไมมีขอใดถูกตอง
แนวคิด เนื่องจากกระปองในระบบทั้งสองกําลังเคลื่อนที่ดวยขนาดความเร็วเชิง
เสนและความเร็วเชิงมุมเดียวกันทําใหกระปองทั้งสองมีพลังงานจลนจากการเลื่อนที่และ
พลังงานจลนจากการหมุนเทากัน และเนื่องจากกระปองทั้งสองเริ่มตนที่ความสูงเดียวกัน
ทําใหกระปองมีพลังงานศักยโนมถวงเทากัน
เนื่องจากไมมีการสูญเสียพลังงานใดๆ ทําใหพลังงานกลรวมทั้งหมดใน
แตละระบบมีคาเทากัน
ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
18
17.สามเหลี่ยมดานเทาที่มีดานยาว a แตละมุมมีประจุ 2q วางอยู ขนาดของแรงลัพธบน
แตละประจุมีคาเทาใด
1. 2 2
2 /kq a 2. 2 2
4 /kq a 3. 2 2
2 3 /kq a 4. 2 2
4 3 /kq a
แนวคิด จากโจทยเราสามารถเขียนรูปไดเปน
จากกฎของคูลอมบทําใหเราสามารถหาคาแรง F12 และ F32 ไดดังนี้
2
1 2
12 2 2
4q q q
F k k
r a
 
และ
2
3 2
32 2 2
4q q q
F k k
r a
  (สังเกตวา 12 32F F )
และเราตองหาแรงลัพธอีกครั้ง ซึ่งหาไดจาก 2 2
1 2 1 22 cosF F F F F θ  
ดังนั้นเราจะไดแรงลัพธดังนี้คือ
2 2
12 32 12 322 cos60o
F F F F F  
2 2 2
12 12 12
1
2
2
F F F F
 
    
 
2
12 123 3F F F 
2 2
4 3 /F kq a
ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
19
18.จุด A, B และ C อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน ระยะ AB ยาวเปนสองเทาของระยะ BC
หากวางประจุ QA ณ ตําแหนง A และ QB ณ ตําแหนง B QA และ QB ตองมีขนาดกี่
ไมโครคูลอมบตามลําดับจึงจะทําใหสนามไฟฟา ณ จุด C มีคาเปนศูนย
1. -90, 10 2. 10, -90 3. -30, 10 4. 10, -30
แนวคิด พิจารณารูป
จะเห็นวาถาตองการใหสนามไฟฟาที่ตําแหนง C มีคาเปนศูนย จะตองวางประจุชนิด
ตรงกันขามไวที่ตําแหนง A และ B โดยที่ประจุที่ตําแหนง B จะมีขนาดนอยกวาประจุ
ที่ตําแหนง A
การที่สนามไฟฟาที่ตําแหนง C เปนศูนย เปนเพราะวาสนามไฟฟาจากตําแหนง A
และตําแหนง B มีขนาดเทากัน แตทิศตรงขาม ดังนั้นเราจะเขียนสมการไดเปน
A BE E
2 2
A A
A B
Q Q
k k
r r

2 2
3 1 9 1
A B A BQ Q Q Q
  
จะไดวาอัตราสวนของขนาดประจุเปน 9
1
A
B
Q
Q

ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
20
19.ตัวตานทานทําจากลวดตัวนําขนาดสม่ําเสมอยาว d ตอกับแบตเตอรี่ซึ่งมี
แรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ และมีคาความตานทานภายในนอยมาก ทําใหมีกระแสไหลผานลวด
ตัวนํา 0.1 แอมแปร ถาแบงลวดออกเปนสามทอนยาวเทาๆกัน นํามาตอขนานกันแลวจึงตอ
กับแบตเตอรี่ตัวเดิม กระแสที่ไหลผานลวดแตละทอน จะมีคากี่แอมแปร
1. 0.9 2. 0.6 3. 0.3 4. 0.1
แนวคิด พิจารณารูป
สมมติวากอนตัดเสนลวด
ลวดมีความตานเปน R ซึ่ง
d
R R
A A
ρ ρ  

เมื่อหลังตัด สมมุติความตานทานแตละ
ทอนเปน 1R ซึ่ง
1
/ 3
3
d d
R
A A
ρ ρ 
หรือ 1
1
3
R R
ดังนั้นเมื่อนําตัวตานทานมาตอขนานกันจะไดความตนทานรวมเปน
1 1
3 9
R
R R  
และจากสมการ  E I r R E IR    เนื่องจากแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ทั้งกอนตัดและ
หลังตัด จึงเขียนสมการไดเปน
E E
IR I R 
 
1
0.1 0.9
9
R I R I A
     
 
แสดงวาจะมีกระแสไฟฟาไหลผานลวดแตละทอนเปน 0.3 A.
ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
21
20.แกลแวนอมิเตอรเครื่องหนึ่งมีความตานทาน GR เทากับ 10 โอหม และอานไดเต็มสเกล
เมื่อตอเขากับความตางศักย 5 มิลลิโวลต ถาตองการดัดแปลงใหเปนแอมมิเตอรวัด
กระแสไฟฟาสูงสุด 200 มิลลิแอมแปร จะตองใชความตานทานชันท  sR กี่โอหม
1. 0.25 2. 0.025 3. 0.0025 4. 0.00025
แนวคิด โดยทฤษฎีแลวเราสามารถแปลงแกลแวนอมิเตอรใหเปนแอมมิเตอรไดโดย
การนําตัวตานทานชันท ไปตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร
จากรูปจะไดวา 200 200G S S GI I I I    
เนื่องจาก  5 10G GV I R I  
ดังนั้น 0.5GI mA
เนื่องจากความตางศักยของแกลแวนอมิเตอรเทากับความตางศักยของชันท จะได
G SV V
5 S SI R
 5 200 0.5 SR 
5
0.025
195.5
SR Ω 
ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
22
21.ขดลวดตัวนํารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 5 เซนติเมตร จํานวน 200 รอบ มีกระแสไหล
50 มิลลิแอมแปร ขดลวดหมุนอยูในสนามแมเหล็กคงที่ขนาด 0.05 เทสลา โมเมนตของแรง
คูควบสูงสุดที่เกิดขึ้นมีขนาดกี่นิวตัน – เมตร
1. 3
1.25 10
 2. 2
2.5 10
 3. 2.5 4. 12.5
แนวคิด จาก cosM NIBA θ
จากสมการดานบนจะเห็นวาโมเมนตของแรงคูควบจะสูงสุดเมื่อ cos 1θ 
ดังนั้นเมื่อแทนคาตัวแปรตางๆ จะได
    3 4
200 50 10 0.05 25 10M  
  
7
12500 10M 
 
3
1.25 10 .M N m
  
ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
23
22.ยิงอนุภาคบีตาดวยความเร็ว 7
5 10 เมตรตอวินาที เขาไปในสนามแมเหล็กคงที่ขนาด
10 เทสลา ในทิศตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก ขนาดของแรงที่กระทําตออนุภาคดังกลาวมีคากี่
นิวตัน
1. 8
5 10 2. 8
5 10
 3. 11
8 10
 4. 12
8 10

แนวคิด จาก sinF qvB θ
19 7
1.6 10 5 10 10 sin90o
F 
     
จะได 11
8 10F N
 
ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
24
23.ในการสลายตัวของ 238
92U ไดอนุภาคแอลฟารวม 4 ตัว อนุภาคบีตารวม 2 ตัว และ
อนุภาคแกมมารวม 4 ตัว จะทําใหไดนิวเคลียสของธาตุใหมที่มีจํานวนโปรตอนและ
นิวตรอนเทาใดตามลําดับ
1. 88, 148 2. 86, 148 3. 88, 136 4. 86, 136
แนวคิด ในการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เราจะพบวาผลรวมของเลขมวลคงที่
เสมอ และผลรวมของเลขอะตอมคงที่เสมอ ดังนั้นเราจึงเขียนสมการคราวๆ ไดดังนี้คือ
     238 4 0
92 2 14 2 4A
ZU X He e γ   
เนื่องจากอนุภาคแอลฟา  γ ไมมีประจุไมมีมวล
ดังนั้นจะไดวา 238 = A + 16
A = 222
และ 92 = Z + 8 -2
Z = 86
นั่นคือธาตุใหมจะมีจํานวนโปรตอนเทากับ 86
และมีจํานวนนิวตรอนเทากับ 222 – 86 = 136
ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
25
24.ขอความใดไมถูกตอง
1.คลื่นวิทยุระบบเอเอ็มสะทอนที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร
2.ในการตรวจหาตําแหนงของวัตถุดวยเรดาร อาศัยคลื่นไมโครเวฟ
3.ถาใหแสงตกกระทบทํามุมเทากับมุมบรูสเตอร แสงที่สะทอนจะเปนแสงโพลาไรส
4.ในการศึกษาอุณหภูมิของดาวฤกษ ใชการพิจารณาคลื่นอัลตราไวโอเลตที่ดาวฤกษแผ
ออกมา
ไมมีเวลาคนให
ลองคนควาดวยตัวเองนะครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
26
25.หมอแปลงอันหนึ่งมีจํานวนขดลวดปฐมภูมิตอจํานวนขดลวดทุติยภูมิเปน 50 : 1 ถามี
กระแสและความตางศักยในขดลวดปฐมภูมิเปน 0.1 แอมแปร และ 11 กิโลโวลต โดยหมอ
แปลงมีประสิทธิภาพรอยละ 90 จะมีกระแสในขดลวดทุติยภูมิกี่แอมแปร
1. 4.5 2. 5.0 3. 5.6 4. 6.5
แนวคิด ตอนนี้เราทราบวา 50
1
p
s
N
N
 (1)
และ 0.1pI A และ 11 .pE kV
เนื่องจาก 90
100
in outP P (2)
90
100
p p s sI E I E (3)
เนื่องจาก 50
p p p
s s s
E N E
E N E
   (4)
จากสมการ (3) และสมการ (4) จะได
  
90 90
0.1 50
100 100
p
p s s
s
E
I I I
E
 
   
 
(5)
แกสมการ (5) จะได 5.6 .sI A
ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
27
26.เมื่อนําแบตเตอรี่ที่มีความตานทานภายใน 1 โอหม จํานวน 2 กอน มาตอแบบอนุกรม
แลวนํามาตออนุกรมกับความตานทาน 10 โอหม ทําใหมีกระแสไฟฟา0.25 แอมแปร ผาน
ตัวตานทาน 10 โอหม ถาเปลี่ยนเปนแบตเตอรี่แบบขนาน จะมีกระแสไฟฟากี่แอมแปรผาน
ตัวตานทาน 10 โอหมตัวเดิมนี้
1. 0.150 2. 0.143 3. 0.136 4. 0.125
แนวเดิม สมมติแบตเตอรี่มีแรงเคลื่อนไฟฟาเทากับ E
ในกรณีตอแบบอนุกรม
จาก  E I r R 
เราจะได  2 0.25 2 10E  
ดังนั้น 1.5 .E V
ในกรณีตอแบบขนาน
จาก  E I r R 
เราจะได  1.5 1 10I 
ดังนั้น 0.136 .I A
ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
28
27.กระบอกแกวใสสูง 24 เซนติเมตร มีเหรียญ 1 บาทวางอยูที่กนกระบอก เมื่อเทน้ําลงไป
สูง 12 เซนติเมตร จะเห็นภาพเหรียญตื้นกวาตําแหนงจริง 4 เซนติเมตร ถาตองการใหเห็น
ภาพตื้นกวาตําแหนงจริง 6 เซนติเมตร ตองเทน้ําลงไปใหสูงเพิ่มจากเดิมอีกกี่เซนติเมตร
1. 6 2. 9 3. 12 4. 18
แนวคิด ลองพิจารณารูปดานลาง
ความลึกเดิมของน้ําคือ 12 เซนติเมตร
จากสูตรเรื่องลึกจริง – ลึกปรากฏ เราจะไดวา eyes
water
ns
s n


พิจารณากอนเติมน้ํา: 12 4 2 1
12 3 watern

  (1)
พิจารณาหลังเติมน้ํา : 6 1
12 water
x
x n



(2)
แกสมการ (1) กับสมการ (2) จะได 6 .x cm
ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
29
28.ถาตองการใหไดภาพที่มีความสูงของภาพเปนครึ่งหนึ่งของความสูงของวัตถุ จะตองวาง
วัตถุหนากระจกที่ระยะเทาใดและใชกระจกชนิดใด
1.ระยะเทากับความยาวโฟกัสของกระจกเงานูน
2.ระยะ 2 เทาของความยาวโฟกัสของกระจกเงาเวา
3.ระยะ 2 เทาของความยาวโฟกัสของกระจกเงานูน
4.ระยะครึ่งหนึ่งของความยาวโฟกัสของกระจกเงาเวา
แนวคิด ความสูงของภาพเปนครึ่งหนึ่งของความสูงวัตถุ ซึ่งอาจจะเปนภาพจริง
หรือภาพเสมือนก็ไดนะครับ
ในกรณีภาพจริง I f
O s f


1
12
2
O
f f
O s f s f
  
 
ดังนั้นจะได 3s f
ในกรณีภาพเสมือน I f
O s f


1
12
2
O
f f
O s f s f

   
 
ดังนั้นจะได s f 
ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
30
29.แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากบนเกรตติงที่มี 2000 ชองตอ
เซนติเมตร มีฉากสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1.2 x 1.2 ตารางเมตรบนผนังหอง โดยจุดกึ่งกลาง
ของฉากหางจากเกรตติง 0.8 เมตร จะเกิดแถบสวางของแสงนี้บนฉากทั้งหมดกี่แถบ
1. 8 2. 14 3. 15 4. 19
แนวคิด กอนอื่นเราตองหาคา d ของเกรตติงกอนครับ
จะไดวา 2000 ชองกวางเทากับ 0.01 เมตร
ดังนั้น 1 ชองกวางเทากับ 61 0.01
5 10 .
2000
m
 
พิจารณารูป
sind nθ λ
6 90.6
5 10 400 10
1
n 
    
7.5n 
แสดงวาจะเกิดแถบสวางครึ่งบนอยู 7 แถบครับ
ดังนั้นถาเรานับแถบสวางทั้งหมดเทากับ 7 + 1 + 7 = 15 แถบ
ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
31
30.หลอดแกวรูปตัวยูมีพื้นที่หนาตัดของหลอด 2 ตารางเซนติเมตร บรรจุปรอทความ
หนาแนน 13.6 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร แตยังมีที่วางของหลอดทั้งสองขางเหนือปรอท
สูง 5 เซนติเมตร จะตองเติมน้ําความหนาแนน 1 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ลงไปที่หลอด
ขางใดขางหนึ่งเปนปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร น้ําจึงจะเต็มปริ่มปากหลอดขางนั้นพอดี
1. 5.2 2. 5.4 3. 10.0 4. 10.4
แนวคิด พิจารณารูป
พิจารณาที่ระดับรอยตอระหวางน้ํากับปรอท และสมมติใหน้ําอยูต่ํากวาระดับเดิมเปนระยะ
x เซนติเมตร
จาก Pซาย = Pขวา
w w Hg Hggh ghρ ρ
 1 5 13.6 2x x   
5 27.2x x 
ดังนั้นจะได 5
.
26.2
x cm
ดังนั้นปริมาตรของน้ําที่เติมเทากับ   35
2 5 10.4
26.2
cm
 
 
 

ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
32
31.แกสในอุดมคติ อุณหภูมิ T ความดัน P และปริมาตร V
ขอความใดไมถูกตอง
1.ถาความดันของแกสลดลงครึ่งหนึ่ง และปริมาตรของแกสเพิ่มขึ้น 2 เทา อุณหภูมิของแกส
จะคงเดิม
2.ถาอุณหภูมิของแกสเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา ขณะที่ความดันของแกสคงเดิม ปริมาตรของแกส
จะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา
3.ถาปริมาตรของแกสลดลงครึ่งหนึ่ง ขณะที่อุณหภูมิของแกสคงเดิม ความดันของแกสจะ
เพิ่มขึ้น 2 เทา
4.ถาอุณหภูมิของแกสลดลงครึ่งหนึ่ง ขณะที่ปริมาตรของแกสคงเดิม ความดันของแกสจะ
เพิ่มขึ้น 2 เทา
แนวคิด จาก PV
T
 คาคงตัว
ในกรณี P คงตัว จะเห็นไดวา V แปรผันตรงกับ T
หมายความวา ถา V ลด T ก็จะลด หรือ ถา V เพิ่ม T ก็จะเพิ่มดวย
ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
33
32.ของเหลว A มีความรอนจําเพาะ6 กิโลจูล/กิโลกรัม – เคลวิน และโลหะ B มีความรอน
จําเพาะ 3 กิโลจูล/กิโลกรัม – เคลวิน ขอความใดถูกตอง
1.ถาตองการให A มวล 0.5 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 o
C ตองใชปริมาณความรอน12
กิโลจูล
2.หากทําให A และ B ซึ่งมีมวลเทากันรอนขึ้น 1 o
C ตองใหความรอนกับ A มากกวา B
3.A และ B มีอุณหภูมิเทากัน ถาใสB มวล 1 กิโลกรัม ลงไปใน A มวล 2 กิโลกรัม A จะ
คายความรอนให B
4.A และ B มีมวลเทากัน ถาตองการให A ลดอุณหภูมิจาก 50 o
C เปน 30 o
C และ B ลด
อุณหภูมิจาก80 o
C เปน 60 o
C B ตองคายความรอนออกมามากกวา A
แนวคิด ความรอนจําเพาะ คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหมวล 1 kg มีอุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น 1 K
ดังนั้นจะเห็นวา หากตองการให A มวล 1 kg อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 K
จะตองใชความรอน 6 กิโลจูล ในขณะที่ B มวล 1 kg อุณหภูมิเพิ่มขึ้น1K จะตองใชความ
รอน 3 กิโลจูล
คงไมลืมนะครับวา
ผลตางของอุณหภูมิในหนวยเซลเซียส = ผลตางของอุณหภูมิในหนวยเคลวิน
ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
34
33.ที่ระยะ 100 เมตร หางจากแหลงกําเนิดเสียง ระดับความเขมเสียงมีคา 70 เดซิเบล ตอง
เดินเขาหาแหลงกําเนิดเปนระยะทางกี่เมตร ระดับความเขมเสียงจึงเพิ่มเปน 82 เดซิเบล
1. 25 2. 40 3. 75 4. 80
แนวคิด พิจารณารูป
จาก
2
1
2 1
2
10log
R
R
β β
 
   
 
จะได
2
100
82 70 20log
R
 
   
 
เขียนใหมไดเปน
2
100
log 0.6
R
 
 
 
เนื่องจากในหนาปกกําหนดให log4 0.6
ดังนั้น
2
100
log log 4
R
 
 
 
หรือ 2
2
100
4 25 .R m
R
  
นั่นหมายความวา เราตองเดินเขาหาแหลงกําเนิดเปนระยะ 100 – 25 = 75 เมตร
ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
35
34.ในการศึกษาคลื่นน้ําในถาดคลื่นซึ่งมีทั้งบริเวณน้ําตื้นและน้ําลึก พบวามุมวิกฤตมีคา 37
องศา แสดงวาคลื่นเคลื่อนที่อยางไร และอัตราสวนความเร็วของคลื่นในน้ําลึกตอคลื่นในน้ํา
ตื้นเปนเทาใด
1.จากลึกไปตื้น, 0.6 2.จากลึกไปตื้น, 1.33
3.จากตื้นไปลึก, 0.6 4.จากตื้นไปลึก, 1.67
แนวคิด เนื่องจากเงื่อนไขของการเกิดมุมวิกฤต คือ คลื่นตองเดินทางจากตัวกลางที่
มี nมาก ไปยังตัวกลางที่มี nนอย นั่นคือคลื่นตองเดินจากน้ําตื้นไปยังน้ําลึก
จาก Snell’s law : 1 1
2 2
sin
sin
v
v
θ
θ

โดยที่น้ําตื้นแทนดวย 1 และน้ําลึกแทนดวย 2
จะได 1
2
sin37
sin90
o
o
v
v

1
2
3
5
v
v

ดังนั้น ความเร็วในน้ําลึกตอความเร็วในน้ําตื้นเทากับ 2
1
5
1.67
3
v
v
 
ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
36
35.ในการศึกษาปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก โดยโลหะที่ใชในการทดลองมีฟงกชันงานเปน
19
2.64 10
 จูล ขอความใดถูกตอง
1.ถาแสงความถี่ 14
5 10 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะไมหลุดจากผิวโลหะ
2.ถาแสงความถี่ 14
4 10 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะไมหลุดจากผิวโลหะ
3.ถาแสงความยาวคลื่น 800 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะหลุดจากผิว
โลหะ
4.ถาแสงความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะหลุดจากผิว
โลหะ
แนวคิด เนื่องจากฟงกชันงานคือพลังงานต่ําสุดที่ทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกจากผิว
โลหะ เราจะหาคาความถี่ต่ําสุดไดจาก
จาก E hf
19 34
2.64 10 6.6 10 f 
  
14
4 10f Hz 
อิเล็กตรอนหลุดไดตองใชความถี่อยางนอยตองเทากับ 14
4 10 Hz
จาก c f λ
8 14
3 10 4 10 λ  
750 .nmλ  (ความยาวคลื่นจะตองไมมากกวานี้)
สังเกตวา ถาเราเพิ่มความถี่ใหมากกวาความถี่ขีดเริ่ม จะทําใหความยาวคลื่นจะตองลดลง
ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
PHYSICS & MATHEMATICS
www.krumun.com
37
36.อะตอมของแกสชนิดหนึ่งอยูในสถานะถูกกระตุน และเมื่ออะตอมเปลี่ยนจากระดับ
พลังงาน n = 4 และ n = 3 กลับสูสถานะพื้น จะปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาความถี่
15
1.42 10 และ 15
1.27 10 เฮิรตซ ตามลําดับ ถาอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 4
ไปยัง n = 3 จะปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาความยาวคลื่นกี่เมตร
1. 6
1.5 10
 2. 6
2.0 10
 3. 6
2.7 10
 4. 6
3.0 10

แนวคิด จาก hc
E h f
λ
Δ Δ 
จะได  
8
15 3 10
1.42 1.27 10
h
h
λ
 
  
8
15
3 10
0.15 10
λ



6
2 10 .mλ 
 
ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0on2539
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานAon Sujeeporn
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 

Mais procurados (17)

07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
2
22
2
 
P05
P05P05
P05
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P08
P08P08
P08
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัมใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
 
P04
P04P04
P04
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 

Semelhante a Quota cmu 56 part2

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 sugaeang
 
ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์zweetiiz
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 

Semelhante a Quota cmu 56 part2 (20)

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57
 
Cmu57
Cmu57 Cmu57
Cmu57
 
ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์
 
Cmu 57
Cmu 57Cmu 57
Cmu 57
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
Satit tue133747
Satit tue133747Satit tue133747
Satit tue133747
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
P03
P03P03
P03
 

Mais de vipawee613_14

โอเนท สุขศึกษา
โอเนท สุขศึกษาโอเนท สุขศึกษา
โอเนท สุขศึกษาvipawee613_14
 
ใบงานท 2.docx
ใบงานท   2.docxใบงานท   2.docx
ใบงานท 2.docxvipawee613_14
 
ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์vipawee613_14
 
ใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏีใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏีvipawee613_14
 
ใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือvipawee613_14
 
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานvipawee613_14
 
โอเนท สังคม
โอเนท สังคมโอเนท สังคม
โอเนท สังคมvipawee613_14
 
โอเนท วิทยาศาสตร์
โอเนท วิทยาศาสตร์โอเนท วิทยาศาสตร์
โอเนท วิทยาศาสตร์vipawee613_14
 
โอเนท ภาษาอังกฤษ
โอเนท ภาษาอังกฤษโอเนท ภาษาอังกฤษ
โอเนท ภาษาอังกฤษvipawee613_14
 
โอเนท ภาษาไทย
โอเนท ภาษาไทยโอเนท ภาษาไทย
โอเนท ภาษาไทยvipawee613_14
 
โอเนท คณิตศาสตร์
โอเนท คณิตศาสตร์โอเนท คณิตศาสตร์
โอเนท คณิตศาสตร์vipawee613_14
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีvipawee613_14
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองvipawee613_14
 
วิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onatวิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onatvipawee613_14
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองvipawee613_14
 
วิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onatวิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onatvipawee613_14
 
วิชาวิทยาศาสตร์ Onat
วิชาวิทยาศาสตร์ Onatวิชาวิทยาศาสตร์ Onat
วิชาวิทยาศาสตร์ Onatvipawee613_14
 
วิชาภาษาอังกฤษ Onat
วิชาภาษาอังกฤษ Onatวิชาภาษาอังกฤษ Onat
วิชาภาษาอังกฤษ Onatvipawee613_14
 
ข้อสอบ Pat 7
ข้อสอบ Pat 7ข้อสอบ Pat 7
ข้อสอบ Pat 7vipawee613_14
 
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatvipawee613_14
 

Mais de vipawee613_14 (20)

โอเนท สุขศึกษา
โอเนท สุขศึกษาโอเนท สุขศึกษา
โอเนท สุขศึกษา
 
ใบงานท 2.docx
ใบงานท   2.docxใบงานท   2.docx
ใบงานท 2.docx
 
ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏีใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฏี
 
ใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
โอเนท สังคม
โอเนท สังคมโอเนท สังคม
โอเนท สังคม
 
โอเนท วิทยาศาสตร์
โอเนท วิทยาศาสตร์โอเนท วิทยาศาสตร์
โอเนท วิทยาศาสตร์
 
โอเนท ภาษาอังกฤษ
โอเนท ภาษาอังกฤษโอเนท ภาษาอังกฤษ
โอเนท ภาษาอังกฤษ
 
โอเนท ภาษาไทย
โอเนท ภาษาไทยโอเนท ภาษาไทย
โอเนท ภาษาไทย
 
โอเนท คณิตศาสตร์
โอเนท คณิตศาสตร์โอเนท คณิตศาสตร์
โอเนท คณิตศาสตร์
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
วิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onatวิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onat
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
วิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onatวิชาสังคมศึกษา Onat
วิชาสังคมศึกษา Onat
 
วิชาวิทยาศาสตร์ Onat
วิชาวิทยาศาสตร์ Onatวิชาวิทยาศาสตร์ Onat
วิชาวิทยาศาสตร์ Onat
 
วิชาภาษาอังกฤษ Onat
วิชาภาษาอังกฤษ Onatวิชาภาษาอังกฤษ Onat
วิชาภาษาอังกฤษ Onat
 
ข้อสอบ Pat 7
ข้อสอบ Pat 7ข้อสอบ Pat 7
ข้อสอบ Pat 7
 
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onatข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
ข้อสอบ วิชาคณิตศาสตร์ Onat
 

Quota cmu 56 part2

  • 1. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 7 ขอสอบโควตา มช. ปการศึกษา 2556 สอบวันเสาร ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ตอนที่ 2 7.อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่แนวตรงตามแกน x ที่เวลาเริ่มตน 0 วินาที อนุภาคอยูที่ x = 0 เมตร ความเร็วของอนุภาคเปลี่ยนแปลงกับเวลาดังรูป ขอใดกลาวถูกตอง 1.ความเรงของอนุภาคที่วินาทีที่ 3 มีคาเทากับ 0 2.ตําแหนงของอนุภาคจากจุดเริ่มตน เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 มีคาเทากับ 8 เมตร 3.อัตราเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวงเวลา 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 2 เมตรตอวินาที 4.ความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวง 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 4 เมตรตอวินาที แนวคิด อยางที่ทราบกันดีก็คือเมื่อเราเจอกราฟในทางฟสิกส เราจะใหความสําคัญอยู 2 อยางคือ 1. ความชันของกราฟมีความหมายหรือเปลา กับ 2.พื้นที่ใตกราฟมีความหมาย หรือเปลา ซึ่งแนนอนในขอนี้เรากําลังเจอกราฟความเร็วกับเวลา ซึ่ง ความชันจะบอกคา ความเรง และพื้นที่ใตกราฟจะบอกการกระจัด พิจารณาตัวเลือกที่ 1.ความเรงของอนุภาคที่วินาทีที่ 3 มีคาเทากับ 0 28 ( 8) 8 / 2 4 y a slope m s x Δ Δ         (2,8) (4,-8)
  • 2. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 8 2.ตําแหนงของอนุภาคจากจุดเริ่มตน เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 มีคาเทากับ 8 เมตร ในขอนี้เราพิจารณาพื้นที่ใตกราฟนะครับ ในชวงเวลาตั้งแต 0 – 2 วินาที 2 8 16s Area m     3.อัตราเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวงเวลา 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 2 เมตรตอวินาที อันดับแรกเลย ตองรูวาอัตราเร็วเฉลี่ยหาไดไง????? เนื่องจาก อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทั้งหมด / เวลาทั้งหมด จากกราฟ จะหาระยะทางทั้งหมดไดเทากับ   1 1 2 8 1 8 1 8 32 2 2 m                    ดังนั้นจะได 32 8 / 4 avv m s  4.ความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในชวง 4 วินาทีแรก มีคาเทากับ 4 เมตรตอวินาที อันดับแรกเลย ตองรูวาความเร็วเฉลี่ยหาไดไง????? เนื่องจาก ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัด / เวลาทั้งหมด จากกราฟ จะหาการกระจัดไดเทากับ     1 1 2 8 1 8 1 8 16 2 2 m                     ดังนั้นจะได 16 4 / 4 avv m s   ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 3. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 9    2 cos53 5 3/ 5 3 /o xa a m s      2 sin53 5 4 / 5 4 / o ya a m s    8.วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วางนิ่งอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน นักเรียนสองคนออกแรง กระทําตอวัตถุนี้พรอมกัน จากการออกแรงทําใหวัตถุมีความเรงคงที่ 5 เมตรตอวินาที2 ใน ทิศทางทํามุม 53o θ  กับแนวแกน x ดังรูป ถานักเรียนคนที่หนึ่ง ใชแรง  1F 70 นิวตัน กระทําตอวัตถุในแนวดิ่ง นักเรียนคนที่สองออกแรงตามแกน x และแกน y กี่นิวตัน 1. 30 และ -30 2. 30 และ -70 3. -70 และ 70 4. -30 และ 70 แนวคิด ในโจทยขอนี้เราตองอาศัยความรูเกี่ยวกับการแตกเวกเตอร และ กฎการ เคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน ครับ!!! กอนอื่นเราจะแตกเวกเตอร a ใหอยูบนแกน x และ y ซึ่งจะได พิจารณาแกน Y จาก   10 4 40 .y y yF ma F N     นั่นหมายความวา แรงลัพธบนแกน Y จะมีคาเทากับ 40 นิวตัน เนื่องจากมีแรงบนแกน Y อยูกอนแลว 70 นิวตัน (ทิศบวก) ดังนั้นเราจึงตองออกแรงบนแกน Y อีก 30 นิวตัน (ทิศลบ) ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ บางคนอาจจะไปคิดแกน X อีกที ก็ไดครับ ถาคุณมีเวลาเหลือ…   10 3 30 .x x xF ma F N     กลาวคือ แรงลัพธบนแกน X มีคาเทากับ 30 นิวตัน 1 70F N
  • 4. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 10 9.นักกีฬากระโดดไกลทําสถิติไวที่ 7.38 เมตร โดยออกตัวในทิศทางทํามุม 19o กับพื้นราบ นักกีฬาจะกระโดดไดสูงที่สุดกี่เมตร 1. 0.437 2. 0.527 3. 0.641 4. 0.722 แนวคิด ขอนี้ถาใครจําสูตรลัดไมไดอาจจะตองเสียเวลาและตองออกแรงเยอะหนอยนะ ครับ ในที่นี้เราทราบ 7.38 ; 19o xs m θ  ซึ่งหาไดจาก  2 2 sin 2 2 sin cos x u u s g g θ θ θ   (1) คงไมลืมนะครับวา  sin 2 2sin cosθ θ θ เราสามารถหาระยะสูงสุดไดจากสูตร 2 2 sin 2 y u s g θ  (2) อาศัยคา sin19 0.33o  และ cos19 0.95o  (กําหนดไวใหแลวในตัวขอสอบ) นําสมการ (2) / (1) จะได 2 2 2 0 sin 19 sin19 2 2 sin19 cos19 4cos19 o o y o o x s u g s g u    0.33 0.641 7.38 4 0.95 y y s s m    ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 5. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 11 10.นักเรียนทดลองหาคาแรงโนมถวงของโลก โดยใชลูกตุมอยางงายยาว 60 เซนติเมตร จากการเก็บขอมูลพบวาในการสั่น 20 รอบ ใชเวลา 31.4 วินาที ความเรงเนื่องจากแรงโนม ถวงของโลกเปนกี่เมตรตอวินาที2 1. 7.5 2. 9.6 3. 9.8 4. 10.0 แนวคิด โจทยขอนี้เกี่ยวของกับเรื่อง SHM. แบบลูกตุมนาฬิกา จากโจทย “การสั่น 20 รอบ ใชเวลา 31.4 วินาที” เราสามารถคํานวณ คาบการเคลื่อนที่ไดคือ 31.4 20 T  วินาทีตอรอบ เราอาจจะเขียนสมการดานบนใหดูดีไดอีกนะครับ คือ 10 20 T π  วินาทีตอรอบ และจาก 2T g π  แทนคาตัวแปรตามโจทย จะได 10 0.6 2 20 g π π 1 0.6 4 g  ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได 1 0.6 16 g  2 9.6 /g m s ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
  • 6. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 12 11.กลองมวล 10 กิโลกรัม วางนิ่งบนพื้นที่ไมแรงเสียดทาน ถูกแรงดึงขนาด 15 นิวตัน ใน แนวขนานกับพื้นหลังจากเคลื่อนที่ไปได 5 เมตร ความเร็วของกลองเปนกี่เมตรตอวินาที 1. 1.7 2. 2.6 3. 3.9 4. 7.0 แนวคิด ลองเขียนรูปคราวๆดูกอนนะครับ วิธีที่ 1 (แนะนํา) เราจะใชความรูเรื่องงานและพลังงาน เนื่องจาก kW EΔ 2 21 1 2 2 Fs mv mu       221 1 15 5 10 10 0 2 2 v   15 3.9 /v m s  วิธีที่ 2 ใชกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน จาก F ma   15 10a 2 1.5 /a m s และจาก 21 2 s ut at  จะได   21 10 20 5 1.5 2 1.5 3 t t s    จาก 2 u v s t        ดังนั้นจะได 0 20 10 5 3.9 / 2 3 20 3 v v m s          ตอบ ตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 7. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 13 12.เครื่องยนตของรถคันหนึ่งทํางานในอัตรา 90 กิโลวัตต ถารถมีมวล 1200 กิโลกรัม รถคัน นี้จะสามารถเคลื่อนที่บนพื้นเอียงที่ทํามุม 30o กับแนวระดับ ดวยความเร็วกี่เมตรตอวินาที 1. 15 2. 18 3. 108 4. 180 แนวคิด ลองพิจารณารูปนี้ดานลางนี้นะครับ เนื่องจากโจทยไมไดระบุลักษณะการเคลื่อนที่บนพื้นเอียง เพื่อใหชีวิตงายขึ้น ผมเลย สมมติวารถคันนี้ตองการเคลื่อนขึ้นบนพื้นเอียงดวยความเร็วคงที่ นั่นหมายความวา เครื่องยนตจะตองออกแรง 1 sin30 1200 10 6000 2 o F mg N     เพื่อใชการเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียง จาก W P Fv t   ดังนั้นเราจะไดวา 3 3 90 10 6 10 v    90 6 v  15 /v m s ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
  • 8. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 14 13.กระสุนปนมวล 10 กรัม เคลื่อนที่เขากระทบแทงไมมวล 2 กิโลกรัม ที่แขวนหอยอยูกับ เสนเชือกในแนวดิ่ง โดยกระสุนทะลุฝงเขาไปในเนื้อไม และทําใหเชือกเหวี่ยงแทงไมขึ้นไปได สูงสุดที่ระยะ 7.2 เซนติเมตร จากแนวเริ่มตน ความเร็วของกระสุนเปนกี่เมตรตอวินาที 1. 120.0 2. 241.2 3. 282.8 4. 296.9 แนวคิด จากโจทยเราสามารถเขียนรูปไดเปน พิจารณาตําแหนง A และ B จากรูปดานบน จะไดวา A BE E 21 2 A Bmv mgh 2 2 2 10 7.2 10 1.2 /A Bv gh m s       ความเร็ว ณ ตําแหนง A ทําหนาที่เปนความเร็วหลังชนดวย ดังนั้นจากกฎอนุรักษโมเมนตัม จะไดวา i fP P     1 1 2 2 1 2m u m u m m v             110 2000 0 2010 1.2u    จะได 1 241.2 /u m s  ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
  • 9. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 15 14.ปติยืนบนตาชั่งในลิฟตและสังเกตเห็นวา ในขณะที่ลิฟตเคลื่อนที่ น้ําหนักของเขาที่อาน ไดมากกวาตอนที่ลิฟตไมเคลื่อนที่ แสดงวาปติอานตาชั่งในขณะที่ลิฟตเคลื่อนที่อยางไร 1. เคลื่อนที่ลงดวยความเร็วคงที่ 2. เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเร็วคงที่ 3. เคลื่อนที่ขึ้นดวยความหนวง 4. เคลื่อนที่ลงดวยความหนวง แนวคิด พิจารณารูปดานลาง จาก F ma   เมื่อพิจารณารูปจะไดวา N mg ma  หรือ N ma mg  จะเห็นวา คาน้ําหนักที่อานไดจากตาชั่ง (N) จะมีคามากขึ้นเมื่อลิฟตตองมีความเรง และ N กับ a มีทิศเดียวกัน พิจารณาตัวเลือกที่ 4 พบวา ลิฟตเคลื่อนที่ลงดวยความหนวง หมายความวา ลิฟตกําลัง เคลื่อนที่ลง แตทิศทางของความเรงมีทิศขึ้นนะครับ ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 10. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 16 15.ถาระบบรอกประกอบดวยรอก 2 ตัวดังรูป คาน้ําหนักของวัตถุ A ในหนวยนิวตัน ที่ทําให ระบบอยูในสมดุลสถิตเปนเทาใด 1. 5 2. 10 3. 15 4. 17.5 แนวคิด พิจารณารอกดานขวามือ จะไดวา W r F R   5 15 15 2 2 F   ดังนั้นจะไดวา แรงตึงในเสนเชือกเทากับ 5F N พิจารณารอกดานซายมือ เนื่องจากรอกตัวนี้เปนรอกเดี่ยวตายตัว คาน้ําหนักของวัตถุ A จะเทากับแรงตึงในเสนเชือก ดังนั้น 5Am g F N  ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
  • 11. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 17 16.ถากระปองซึ่งกําลังกลิ้งโดยไมลื่นไถลบนพื้นเรียบที่มีความชันเทากับในระบบ A และ B โดยกระปองทั้งสองมีมวลและโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนกลางเทากันดังรูป หากเริ่มตนที่ ความสูงเดียวกัน และไมมีการสูญเสียพลังงานใดๆ เมื่อเวลาผานไป ขอใดถูกตอง 1.ระบบ B จะมีพลังงานมากกวาระบบ A เนื่องจากกําลังเคลื่อนที่ขึ้น 2.ระบบ A จะมีพลังงานมากกวาระบบ B เนื่องจากกําลังเคลื่อนที่ขึ้น 3.ระบบ A และ B จะมีพลังงานเทากันเนื่องจากระบบไมมีการสูญเสียพลังงาน 4.ไมมีขอใดถูกตอง แนวคิด เนื่องจากกระปองในระบบทั้งสองกําลังเคลื่อนที่ดวยขนาดความเร็วเชิง เสนและความเร็วเชิงมุมเดียวกันทําใหกระปองทั้งสองมีพลังงานจลนจากการเลื่อนที่และ พลังงานจลนจากการหมุนเทากัน และเนื่องจากกระปองทั้งสองเริ่มตนที่ความสูงเดียวกัน ทําใหกระปองมีพลังงานศักยโนมถวงเทากัน เนื่องจากไมมีการสูญเสียพลังงานใดๆ ทําใหพลังงานกลรวมทั้งหมดใน แตละระบบมีคาเทากัน ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 12. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 18 17.สามเหลี่ยมดานเทาที่มีดานยาว a แตละมุมมีประจุ 2q วางอยู ขนาดของแรงลัพธบน แตละประจุมีคาเทาใด 1. 2 2 2 /kq a 2. 2 2 4 /kq a 3. 2 2 2 3 /kq a 4. 2 2 4 3 /kq a แนวคิด จากโจทยเราสามารถเขียนรูปไดเปน จากกฎของคูลอมบทําใหเราสามารถหาคาแรง F12 และ F32 ไดดังนี้ 2 1 2 12 2 2 4q q q F k k r a   และ 2 3 2 32 2 2 4q q q F k k r a   (สังเกตวา 12 32F F ) และเราตองหาแรงลัพธอีกครั้ง ซึ่งหาไดจาก 2 2 1 2 1 22 cosF F F F F θ   ดังนั้นเราจะไดแรงลัพธดังนี้คือ 2 2 12 32 12 322 cos60o F F F F F   2 2 2 12 12 12 1 2 2 F F F F          2 12 123 3F F F  2 2 4 3 /F kq a ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 13. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 19 18.จุด A, B และ C อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน ระยะ AB ยาวเปนสองเทาของระยะ BC หากวางประจุ QA ณ ตําแหนง A และ QB ณ ตําแหนง B QA และ QB ตองมีขนาดกี่ ไมโครคูลอมบตามลําดับจึงจะทําใหสนามไฟฟา ณ จุด C มีคาเปนศูนย 1. -90, 10 2. 10, -90 3. -30, 10 4. 10, -30 แนวคิด พิจารณารูป จะเห็นวาถาตองการใหสนามไฟฟาที่ตําแหนง C มีคาเปนศูนย จะตองวางประจุชนิด ตรงกันขามไวที่ตําแหนง A และ B โดยที่ประจุที่ตําแหนง B จะมีขนาดนอยกวาประจุ ที่ตําแหนง A การที่สนามไฟฟาที่ตําแหนง C เปนศูนย เปนเพราะวาสนามไฟฟาจากตําแหนง A และตําแหนง B มีขนาดเทากัน แตทิศตรงขาม ดังนั้นเราจะเขียนสมการไดเปน A BE E 2 2 A A A B Q Q k k r r  2 2 3 1 9 1 A B A BQ Q Q Q    จะไดวาอัตราสวนของขนาดประจุเปน 9 1 A B Q Q  ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
  • 14. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 20 19.ตัวตานทานทําจากลวดตัวนําขนาดสม่ําเสมอยาว d ตอกับแบตเตอรี่ซึ่งมี แรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ และมีคาความตานทานภายในนอยมาก ทําใหมีกระแสไหลผานลวด ตัวนํา 0.1 แอมแปร ถาแบงลวดออกเปนสามทอนยาวเทาๆกัน นํามาตอขนานกันแลวจึงตอ กับแบตเตอรี่ตัวเดิม กระแสที่ไหลผานลวดแตละทอน จะมีคากี่แอมแปร 1. 0.9 2. 0.6 3. 0.3 4. 0.1 แนวคิด พิจารณารูป สมมติวากอนตัดเสนลวด ลวดมีความตานเปน R ซึ่ง d R R A A ρ ρ    เมื่อหลังตัด สมมุติความตานทานแตละ ทอนเปน 1R ซึ่ง 1 / 3 3 d d R A A ρ ρ  หรือ 1 1 3 R R ดังนั้นเมื่อนําตัวตานทานมาตอขนานกันจะไดความตนทานรวมเปน 1 1 3 9 R R R   และจากสมการ  E I r R E IR    เนื่องจากแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ทั้งกอนตัดและ หลังตัด จึงเขียนสมการไดเปน E E IR I R    1 0.1 0.9 9 R I R I A         แสดงวาจะมีกระแสไฟฟาไหลผานลวดแตละทอนเปน 0.3 A. ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 15. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 21 20.แกลแวนอมิเตอรเครื่องหนึ่งมีความตานทาน GR เทากับ 10 โอหม และอานไดเต็มสเกล เมื่อตอเขากับความตางศักย 5 มิลลิโวลต ถาตองการดัดแปลงใหเปนแอมมิเตอรวัด กระแสไฟฟาสูงสุด 200 มิลลิแอมแปร จะตองใชความตานทานชันท  sR กี่โอหม 1. 0.25 2. 0.025 3. 0.0025 4. 0.00025 แนวคิด โดยทฤษฎีแลวเราสามารถแปลงแกลแวนอมิเตอรใหเปนแอมมิเตอรไดโดย การนําตัวตานทานชันท ไปตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร จากรูปจะไดวา 200 200G S S GI I I I     เนื่องจาก  5 10G GV I R I   ดังนั้น 0.5GI mA เนื่องจากความตางศักยของแกลแวนอมิเตอรเทากับความตางศักยของชันท จะได G SV V 5 S SI R  5 200 0.5 SR  5 0.025 195.5 SR Ω  ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
  • 16. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 22 21.ขดลวดตัวนํารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 5 เซนติเมตร จํานวน 200 รอบ มีกระแสไหล 50 มิลลิแอมแปร ขดลวดหมุนอยูในสนามแมเหล็กคงที่ขนาด 0.05 เทสลา โมเมนตของแรง คูควบสูงสุดที่เกิดขึ้นมีขนาดกี่นิวตัน – เมตร 1. 3 1.25 10  2. 2 2.5 10  3. 2.5 4. 12.5 แนวคิด จาก cosM NIBA θ จากสมการดานบนจะเห็นวาโมเมนตของแรงคูควบจะสูงสุดเมื่อ cos 1θ  ดังนั้นเมื่อแทนคาตัวแปรตางๆ จะได     3 4 200 50 10 0.05 25 10M      7 12500 10M    3 1.25 10 .M N m    ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
  • 17. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 23 22.ยิงอนุภาคบีตาดวยความเร็ว 7 5 10 เมตรตอวินาที เขาไปในสนามแมเหล็กคงที่ขนาด 10 เทสลา ในทิศตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก ขนาดของแรงที่กระทําตออนุภาคดังกลาวมีคากี่ นิวตัน 1. 8 5 10 2. 8 5 10  3. 11 8 10  4. 12 8 10  แนวคิด จาก sinF qvB θ 19 7 1.6 10 5 10 10 sin90o F        จะได 11 8 10F N   ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 18. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 24 23.ในการสลายตัวของ 238 92U ไดอนุภาคแอลฟารวม 4 ตัว อนุภาคบีตารวม 2 ตัว และ อนุภาคแกมมารวม 4 ตัว จะทําใหไดนิวเคลียสของธาตุใหมที่มีจํานวนโปรตอนและ นิวตรอนเทาใดตามลําดับ 1. 88, 148 2. 86, 148 3. 88, 136 4. 86, 136 แนวคิด ในการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เราจะพบวาผลรวมของเลขมวลคงที่ เสมอ และผลรวมของเลขอะตอมคงที่เสมอ ดังนั้นเราจึงเขียนสมการคราวๆ ไดดังนี้คือ      238 4 0 92 2 14 2 4A ZU X He e γ    เนื่องจากอนุภาคแอลฟา  γ ไมมีประจุไมมีมวล ดังนั้นจะไดวา 238 = A + 16 A = 222 และ 92 = Z + 8 -2 Z = 86 นั่นคือธาตุใหมจะมีจํานวนโปรตอนเทากับ 86 และมีจํานวนนิวตรอนเทากับ 222 – 86 = 136 ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 19. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 25 24.ขอความใดไมถูกตอง 1.คลื่นวิทยุระบบเอเอ็มสะทอนที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร 2.ในการตรวจหาตําแหนงของวัตถุดวยเรดาร อาศัยคลื่นไมโครเวฟ 3.ถาใหแสงตกกระทบทํามุมเทากับมุมบรูสเตอร แสงที่สะทอนจะเปนแสงโพลาไรส 4.ในการศึกษาอุณหภูมิของดาวฤกษ ใชการพิจารณาคลื่นอัลตราไวโอเลตที่ดาวฤกษแผ ออกมา ไมมีเวลาคนให ลองคนควาดวยตัวเองนะครับ
  • 20. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 26 25.หมอแปลงอันหนึ่งมีจํานวนขดลวดปฐมภูมิตอจํานวนขดลวดทุติยภูมิเปน 50 : 1 ถามี กระแสและความตางศักยในขดลวดปฐมภูมิเปน 0.1 แอมแปร และ 11 กิโลโวลต โดยหมอ แปลงมีประสิทธิภาพรอยละ 90 จะมีกระแสในขดลวดทุติยภูมิกี่แอมแปร 1. 4.5 2. 5.0 3. 5.6 4. 6.5 แนวคิด ตอนนี้เราทราบวา 50 1 p s N N  (1) และ 0.1pI A และ 11 .pE kV เนื่องจาก 90 100 in outP P (2) 90 100 p p s sI E I E (3) เนื่องจาก 50 p p p s s s E N E E N E    (4) จากสมการ (3) และสมการ (4) จะได    90 90 0.1 50 100 100 p p s s s E I I I E         (5) แกสมการ (5) จะได 5.6 .sI A ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 21. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 27 26.เมื่อนําแบตเตอรี่ที่มีความตานทานภายใน 1 โอหม จํานวน 2 กอน มาตอแบบอนุกรม แลวนํามาตออนุกรมกับความตานทาน 10 โอหม ทําใหมีกระแสไฟฟา0.25 แอมแปร ผาน ตัวตานทาน 10 โอหม ถาเปลี่ยนเปนแบตเตอรี่แบบขนาน จะมีกระแสไฟฟากี่แอมแปรผาน ตัวตานทาน 10 โอหมตัวเดิมนี้ 1. 0.150 2. 0.143 3. 0.136 4. 0.125 แนวเดิม สมมติแบตเตอรี่มีแรงเคลื่อนไฟฟาเทากับ E ในกรณีตอแบบอนุกรม จาก  E I r R  เราจะได  2 0.25 2 10E   ดังนั้น 1.5 .E V ในกรณีตอแบบขนาน จาก  E I r R  เราจะได  1.5 1 10I  ดังนั้น 0.136 .I A ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 22. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 28 27.กระบอกแกวใสสูง 24 เซนติเมตร มีเหรียญ 1 บาทวางอยูที่กนกระบอก เมื่อเทน้ําลงไป สูง 12 เซนติเมตร จะเห็นภาพเหรียญตื้นกวาตําแหนงจริง 4 เซนติเมตร ถาตองการใหเห็น ภาพตื้นกวาตําแหนงจริง 6 เซนติเมตร ตองเทน้ําลงไปใหสูงเพิ่มจากเดิมอีกกี่เซนติเมตร 1. 6 2. 9 3. 12 4. 18 แนวคิด ลองพิจารณารูปดานลาง ความลึกเดิมของน้ําคือ 12 เซนติเมตร จากสูตรเรื่องลึกจริง – ลึกปรากฏ เราจะไดวา eyes water ns s n   พิจารณากอนเติมน้ํา: 12 4 2 1 12 3 watern    (1) พิจารณาหลังเติมน้ํา : 6 1 12 water x x n    (2) แกสมการ (1) กับสมการ (2) จะได 6 .x cm ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
  • 23. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 29 28.ถาตองการใหไดภาพที่มีความสูงของภาพเปนครึ่งหนึ่งของความสูงของวัตถุ จะตองวาง วัตถุหนากระจกที่ระยะเทาใดและใชกระจกชนิดใด 1.ระยะเทากับความยาวโฟกัสของกระจกเงานูน 2.ระยะ 2 เทาของความยาวโฟกัสของกระจกเงาเวา 3.ระยะ 2 เทาของความยาวโฟกัสของกระจกเงานูน 4.ระยะครึ่งหนึ่งของความยาวโฟกัสของกระจกเงาเวา แนวคิด ความสูงของภาพเปนครึ่งหนึ่งของความสูงวัตถุ ซึ่งอาจจะเปนภาพจริง หรือภาพเสมือนก็ไดนะครับ ในกรณีภาพจริง I f O s f   1 12 2 O f f O s f s f      ดังนั้นจะได 3s f ในกรณีภาพเสมือน I f O s f   1 12 2 O f f O s f s f        ดังนั้นจะได s f  ตอบตัวเลือกที่ 1 ครับ
  • 24. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 30 29.แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากบนเกรตติงที่มี 2000 ชองตอ เซนติเมตร มีฉากสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1.2 x 1.2 ตารางเมตรบนผนังหอง โดยจุดกึ่งกลาง ของฉากหางจากเกรตติง 0.8 เมตร จะเกิดแถบสวางของแสงนี้บนฉากทั้งหมดกี่แถบ 1. 8 2. 14 3. 15 4. 19 แนวคิด กอนอื่นเราตองหาคา d ของเกรตติงกอนครับ จะไดวา 2000 ชองกวางเทากับ 0.01 เมตร ดังนั้น 1 ชองกวางเทากับ 61 0.01 5 10 . 2000 m   พิจารณารูป sind nθ λ 6 90.6 5 10 400 10 1 n       7.5n  แสดงวาจะเกิดแถบสวางครึ่งบนอยู 7 แถบครับ ดังนั้นถาเรานับแถบสวางทั้งหมดเทากับ 7 + 1 + 7 = 15 แถบ ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 25. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 31 30.หลอดแกวรูปตัวยูมีพื้นที่หนาตัดของหลอด 2 ตารางเซนติเมตร บรรจุปรอทความ หนาแนน 13.6 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร แตยังมีที่วางของหลอดทั้งสองขางเหนือปรอท สูง 5 เซนติเมตร จะตองเติมน้ําความหนาแนน 1 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ลงไปที่หลอด ขางใดขางหนึ่งเปนปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร น้ําจึงจะเต็มปริ่มปากหลอดขางนั้นพอดี 1. 5.2 2. 5.4 3. 10.0 4. 10.4 แนวคิด พิจารณารูป พิจารณาที่ระดับรอยตอระหวางน้ํากับปรอท และสมมติใหน้ําอยูต่ํากวาระดับเดิมเปนระยะ x เซนติเมตร จาก Pซาย = Pขวา w w Hg Hggh ghρ ρ  1 5 13.6 2x x    5 27.2x x  ดังนั้นจะได 5 . 26.2 x cm ดังนั้นปริมาตรของน้ําที่เติมเทากับ   35 2 5 10.4 26.2 cm        ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 26. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 32 31.แกสในอุดมคติ อุณหภูมิ T ความดัน P และปริมาตร V ขอความใดไมถูกตอง 1.ถาความดันของแกสลดลงครึ่งหนึ่ง และปริมาตรของแกสเพิ่มขึ้น 2 เทา อุณหภูมิของแกส จะคงเดิม 2.ถาอุณหภูมิของแกสเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา ขณะที่ความดันของแกสคงเดิม ปริมาตรของแกส จะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา 3.ถาปริมาตรของแกสลดลงครึ่งหนึ่ง ขณะที่อุณหภูมิของแกสคงเดิม ความดันของแกสจะ เพิ่มขึ้น 2 เทา 4.ถาอุณหภูมิของแกสลดลงครึ่งหนึ่ง ขณะที่ปริมาตรของแกสคงเดิม ความดันของแกสจะ เพิ่มขึ้น 2 เทา แนวคิด จาก PV T  คาคงตัว ในกรณี P คงตัว จะเห็นไดวา V แปรผันตรงกับ T หมายความวา ถา V ลด T ก็จะลด หรือ ถา V เพิ่ม T ก็จะเพิ่มดวย ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 27. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 33 32.ของเหลว A มีความรอนจําเพาะ6 กิโลจูล/กิโลกรัม – เคลวิน และโลหะ B มีความรอน จําเพาะ 3 กิโลจูล/กิโลกรัม – เคลวิน ขอความใดถูกตอง 1.ถาตองการให A มวล 0.5 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 o C ตองใชปริมาณความรอน12 กิโลจูล 2.หากทําให A และ B ซึ่งมีมวลเทากันรอนขึ้น 1 o C ตองใหความรอนกับ A มากกวา B 3.A และ B มีอุณหภูมิเทากัน ถาใสB มวล 1 กิโลกรัม ลงไปใน A มวล 2 กิโลกรัม A จะ คายความรอนให B 4.A และ B มีมวลเทากัน ถาตองการให A ลดอุณหภูมิจาก 50 o C เปน 30 o C และ B ลด อุณหภูมิจาก80 o C เปน 60 o C B ตองคายความรอนออกมามากกวา A แนวคิด ความรอนจําเพาะ คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหมวล 1 kg มีอุณหภูมิ เพิ่มขึ้น 1 K ดังนั้นจะเห็นวา หากตองการให A มวล 1 kg อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 K จะตองใชความรอน 6 กิโลจูล ในขณะที่ B มวล 1 kg อุณหภูมิเพิ่มขึ้น1K จะตองใชความ รอน 3 กิโลจูล คงไมลืมนะครับวา ผลตางของอุณหภูมิในหนวยเซลเซียส = ผลตางของอุณหภูมิในหนวยเคลวิน ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ
  • 28. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 34 33.ที่ระยะ 100 เมตร หางจากแหลงกําเนิดเสียง ระดับความเขมเสียงมีคา 70 เดซิเบล ตอง เดินเขาหาแหลงกําเนิดเปนระยะทางกี่เมตร ระดับความเขมเสียงจึงเพิ่มเปน 82 เดซิเบล 1. 25 2. 40 3. 75 4. 80 แนวคิด พิจารณารูป จาก 2 1 2 1 2 10log R R β β         จะได 2 100 82 70 20log R         เขียนใหมไดเปน 2 100 log 0.6 R       เนื่องจากในหนาปกกําหนดให log4 0.6 ดังนั้น 2 100 log log 4 R       หรือ 2 2 100 4 25 .R m R    นั่นหมายความวา เราตองเดินเขาหาแหลงกําเนิดเปนระยะ 100 – 25 = 75 เมตร ตอบตัวเลือกที่ 3 ครับ
  • 29. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 35 34.ในการศึกษาคลื่นน้ําในถาดคลื่นซึ่งมีทั้งบริเวณน้ําตื้นและน้ําลึก พบวามุมวิกฤตมีคา 37 องศา แสดงวาคลื่นเคลื่อนที่อยางไร และอัตราสวนความเร็วของคลื่นในน้ําลึกตอคลื่นในน้ํา ตื้นเปนเทาใด 1.จากลึกไปตื้น, 0.6 2.จากลึกไปตื้น, 1.33 3.จากตื้นไปลึก, 0.6 4.จากตื้นไปลึก, 1.67 แนวคิด เนื่องจากเงื่อนไขของการเกิดมุมวิกฤต คือ คลื่นตองเดินทางจากตัวกลางที่ มี nมาก ไปยังตัวกลางที่มี nนอย นั่นคือคลื่นตองเดินจากน้ําตื้นไปยังน้ําลึก จาก Snell’s law : 1 1 2 2 sin sin v v θ θ  โดยที่น้ําตื้นแทนดวย 1 และน้ําลึกแทนดวย 2 จะได 1 2 sin37 sin90 o o v v  1 2 3 5 v v  ดังนั้น ความเร็วในน้ําลึกตอความเร็วในน้ําตื้นเทากับ 2 1 5 1.67 3 v v   ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 30. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 36 35.ในการศึกษาปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก โดยโลหะที่ใชในการทดลองมีฟงกชันงานเปน 19 2.64 10  จูล ขอความใดถูกตอง 1.ถาแสงความถี่ 14 5 10 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะไมหลุดจากผิวโลหะ 2.ถาแสงความถี่ 14 4 10 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะไมหลุดจากผิวโลหะ 3.ถาแสงความยาวคลื่น 800 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะหลุดจากผิว โลหะ 4.ถาแสงความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโลหะ อิเล็กตรอนจะหลุดจากผิว โลหะ แนวคิด เนื่องจากฟงกชันงานคือพลังงานต่ําสุดที่ทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกจากผิว โลหะ เราจะหาคาความถี่ต่ําสุดไดจาก จาก E hf 19 34 2.64 10 6.6 10 f     14 4 10f Hz  อิเล็กตรอนหลุดไดตองใชความถี่อยางนอยตองเทากับ 14 4 10 Hz จาก c f λ 8 14 3 10 4 10 λ   750 .nmλ  (ความยาวคลื่นจะตองไมมากกวานี้) สังเกตวา ถาเราเพิ่มความถี่ใหมากกวาความถี่ขีดเริ่ม จะทําใหความยาวคลื่นจะตองลดลง ตอบตัวเลือกที่ 4 ครับ
  • 31. PHYSICS & MATHEMATICS www.krumun.com 37 36.อะตอมของแกสชนิดหนึ่งอยูในสถานะถูกกระตุน และเมื่ออะตอมเปลี่ยนจากระดับ พลังงาน n = 4 และ n = 3 กลับสูสถานะพื้น จะปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาความถี่ 15 1.42 10 และ 15 1.27 10 เฮิรตซ ตามลําดับ ถาอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 4 ไปยัง n = 3 จะปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาความยาวคลื่นกี่เมตร 1. 6 1.5 10  2. 6 2.0 10  3. 6 2.7 10  4. 6 3.0 10  แนวคิด จาก hc E h f λ Δ Δ  จะได   8 15 3 10 1.42 1.27 10 h h λ      8 15 3 10 0.15 10 λ    6 2 10 .mλ    ตอบตัวเลือกที่ 2 ครับ