SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
กฤษณา ไสยาศรี : ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ
       บูรณาการ ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการ
       เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด
       สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร (EFFECTS OF
       ORGANIZING INTEGRATED MATHEMATICS LEARNING ACTIVITIES
       ON MATHEMATICAL CREATIVITY AND MATHEMATICAL
       KNOWLEDGE CONNECTION ABILITY OF NINTH GRADE STUDENTS
       IN SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION
       COMMISSION, BANGKOK)
       อ. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก: อาจารย์ ดร. ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล, 170 หน้า

         การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทางการเรียน
                    ้
คณิตศาสตร์และความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการ 2)
เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ระหว่างกลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการกับกลุ่มปกติ 3) เปรียบ
เทียบความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการกับกลุ่มปกติ

               ประชากรของการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็น
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนพุทธจักร
วิทยา จำานวน 62 คน แบ่งเป็นนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 31 คน
โดยนักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการ
และนักเรียนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ เครื่อง
มือที่ใช้ในการทดลองคือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการ
และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม
ข้อมูล คือ แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ และแบบวัดความสามารถในการ
เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยนำามาหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่า
มัชฌิมเลขคณิตร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t-test)

       ผลการวิจัยพบว่า

        1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แบบบูรณาการมีความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัย
สำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
        2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์
        แบบบูรณาการมีความคิดสร้างสรรค์ทาง
                คณิตศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ
        อย่างมีนยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
                 ั
        3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แบบบูรณาการมีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนการ
ทดลองอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
        4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์
        แบบบูรณาการมีความสามารถในการ
เชื่อมโยงความรู้ทางการเรียนคณิตศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้
คณิตศาสตร์แบบปกติอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ภาควิชา                 หลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา........                 ลายมือชื่อ
นิสิต.....................................................................
สาขาวิชา                การศึกษาคณิตศาสตร์......................................
ลายมือชื่อ อ. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก……………….……...
ปีการศึกษา     2551..............................................................



# # 48833656227 : MAJOR MATHEMATICS EDUCATION
KEY WORD : EFFECTS OF ORGANIZING INTEGRATED MATHEMATICS
LEARNING ACTIVITIES ON MATHEMATICAL
          CREATIVITY AND MATHEMATICAL KNOWLEDGE
CONNECTION ABILITY OF NINTH GRADE STUDENTS
          IN SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION
COMMISSION, BANGKOK.
      PRINCIPAL THESIS ADVISOR: YURAWAT KAIMONGKOL, Ph.D.,
170 pp.

       The purposes of this research were: 1) to study mathematical
creativity and mathematical knowledge connection ability of ninth
grade students being taught by integrated mathematics learning
activities. 2) to compare mathematical creativity of ninth grade
students between groups being taught by integrated mathematics
learning activities and by conventional approach. 3) to compare
mathematical knowledge connection ability of ninth grade students
between groups being taught by integrated mathematics learning
activities and by conventional approach.

       The population of this research was ninth grade students in
schools under the Office of The Basic Education Commission, Bangkok.
The samples were 62 ninth grade students of Puttajugwittaya School
in academic year 2007.They were divided into two groups, one
experimental group with 31 students and one control group with 31
students. The students in experimental group were taught by
integrated mathematics learning activities and those in control group
were taught by conventional approach. The experimental instruments
were the lesson plans divided into treatment plans and conventional
plans. The data collection instruments were the mathematical
creativity test and mathematical knowledge connection ability test.
The data were analyzed by means of arithmetic mean, percentage of
mean, standard deviation and t - test.

      The results of the study were as follow:
      1. Mathematical creativity of ninth grade students being taught
by Integrated mathematics learning activities was higher than that
before using Integrated mathematics learning activities approach at a .
05 level of significance.
       2. Mathematical creativity of ninth grade students being taught
by Integrated mathematics learning activities was higher than that of
students being taught by conventional approach at a .05 level of
significance.
       3. Mathematical knowledge connection ability of ninth grade
students being taught by Integrated mathematics learning activities
was higher than that before using Integrated mathematics learning
activities approach at a .05 level of significance.
       4. Mathematical knowledge connection ability of ninth grade
students being taught by Integrated mathematics learning activities
was higher than that of students being taught by conventional
approach at a .05 level of significance.




Department       : Curriculum, Instruction, and Educational
Technology     Student’ s signature ………….…………..…..
Field of Study : Mathematics Education…………………………………
Principal advisor’ s signature ………..…...…
Academic Year : 2008……………………………………………………….

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a บทคัดย่อวิทยานิพนธ์

การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
Apinun Nadee
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1
Aekapong Hemathulin
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
an1030
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
apiwat97
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
krupornpana55
 

Semelhante a บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ (20)

Document (2)
Document (2)Document (2)
Document (2)
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
1
11
1
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
เกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfเกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdf
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้งบทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
 

บทคัดย่อวิทยานิพนธ์

  • 1. กฤษณา ไสยาศรี : ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ บูรณาการ ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการ เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร (EFFECTS OF ORGANIZING INTEGRATED MATHEMATICS LEARNING ACTIVITIES ON MATHEMATICAL CREATIVITY AND MATHEMATICAL KNOWLEDGE CONNECTION ABILITY OF NINTH GRADE STUDENTS IN SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION, BANGKOK) อ. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก: อาจารย์ ดร. ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล, 170 หน้า การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทางการเรียน ้ คณิตศาสตร์และความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการ 2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการกับกลุ่มปกติ 3) เปรียบ เทียบความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการกับกลุ่มปกติ ประชากรของการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนพุทธจักร วิทยา จำานวน 62 คน แบ่งเป็นนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 31 คน โดยนักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการ และนักเรียนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ เครื่อง มือที่ใช้ในการทดลองคือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการ และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม ข้อมูล คือ แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ และแบบวัดความสามารถในการ เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยนำามาหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่า มัชฌิมเลขคณิตร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แบบบูรณาการมีความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัย สำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แบบบูรณาการมีความคิดสร้างสรรค์ทาง คณิตศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ อย่างมีนยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ั 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แบบบูรณาการมีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนการ ทดลองอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แบบบูรณาการมีความสามารถในการ เชื่อมโยงความรู้ทางการเรียนคณิตศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ คณิตศาสตร์แบบปกติอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
  • 2. ภาควิชา หลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา........ ลายมือชื่อ นิสิต..................................................................... สาขาวิชา การศึกษาคณิตศาสตร์...................................... ลายมือชื่อ อ. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก……………….……... ปีการศึกษา 2551.............................................................. # # 48833656227 : MAJOR MATHEMATICS EDUCATION KEY WORD : EFFECTS OF ORGANIZING INTEGRATED MATHEMATICS LEARNING ACTIVITIES ON MATHEMATICAL CREATIVITY AND MATHEMATICAL KNOWLEDGE CONNECTION ABILITY OF NINTH GRADE STUDENTS IN SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION, BANGKOK. PRINCIPAL THESIS ADVISOR: YURAWAT KAIMONGKOL, Ph.D., 170 pp. The purposes of this research were: 1) to study mathematical creativity and mathematical knowledge connection ability of ninth grade students being taught by integrated mathematics learning activities. 2) to compare mathematical creativity of ninth grade students between groups being taught by integrated mathematics learning activities and by conventional approach. 3) to compare mathematical knowledge connection ability of ninth grade students between groups being taught by integrated mathematics learning activities and by conventional approach. The population of this research was ninth grade students in schools under the Office of The Basic Education Commission, Bangkok. The samples were 62 ninth grade students of Puttajugwittaya School in academic year 2007.They were divided into two groups, one experimental group with 31 students and one control group with 31 students. The students in experimental group were taught by integrated mathematics learning activities and those in control group were taught by conventional approach. The experimental instruments were the lesson plans divided into treatment plans and conventional plans. The data collection instruments were the mathematical creativity test and mathematical knowledge connection ability test. The data were analyzed by means of arithmetic mean, percentage of mean, standard deviation and t - test. The results of the study were as follow: 1. Mathematical creativity of ninth grade students being taught by Integrated mathematics learning activities was higher than that before using Integrated mathematics learning activities approach at a .
  • 3. 05 level of significance. 2. Mathematical creativity of ninth grade students being taught by Integrated mathematics learning activities was higher than that of students being taught by conventional approach at a .05 level of significance. 3. Mathematical knowledge connection ability of ninth grade students being taught by Integrated mathematics learning activities was higher than that before using Integrated mathematics learning activities approach at a .05 level of significance. 4. Mathematical knowledge connection ability of ninth grade students being taught by Integrated mathematics learning activities was higher than that of students being taught by conventional approach at a .05 level of significance. Department : Curriculum, Instruction, and Educational Technology Student’ s signature ………….…………..….. Field of Study : Mathematics Education………………………………… Principal advisor’ s signature ………..…...… Academic Year : 2008……………………………………………………….