SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
1. เพื่อใหเกษตรกรผูปลูกสามารถวางแผนการผลิตผักไดตลอดป โดยเลือกผลิต
ผักที่มีราคาและผักที่ปลูกในสภาพนอกโรงเรือนที่มีปญหาแมลงรบกวนมาก จึงมี
การฉีดพนสารฆาแมลงเปนประจํา
2. สามารถกําหนดการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและจัดทํา
โครงการในลักษณะครบวงจร
3. ผูบริโภคมั่นใจไดวาผักที่ปลูกไมมการใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช
                                      ี
4. มีสวนชวยอนุรักษสภาพสิ่งแวดลอม รวมถึงแหลงตนน้ําลําธารจะไดปลอดภัย
จากปญหาพิษตกคางของสารเคมี




จุดดําเนินการทั้งหมดมี 25 โรงเรือน โดยจัดทําในศูนยสงเสริมและผลิตพันธุพืช
สวน ศูนยสงเสริมการเกษตรที่สูง และสํานักงานเกษตรจังหวัด ดังนี้
1. ศูนยสงเสริมและผลิตพันธุพืชสวน 10 ศูนย 10 โรงเรือน ไดแก เชียงใหม
เชียงราย นาน ยโสธร นครราชสีมา เลย สมุทรสาคร ระยอง สุราษฏรธานี กระบี่
2. ศูนยสงเสริมการเกษตรที่สูง 4 จังหวัด 5 โรงเรือน ไดแก เชียงราย ลําพูน
เลย กาญจนบุรี
3. สํานักงานเกษตรจังหวัด 2 จังหวัด 10 โรงเรือน ไดแก อางทอง นครนายก




1. การสรางโรงเรือน
- โรงเรือนเปนโครงเหล็กรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง x ยาว x สูง = 6 x 30 x 2.5
เมตร (ภาพที่ 1)
ภาพที่ 1 ลักษณะโครงสรางของโรงเรือนปลูกผักเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
รายละเอียดและวิธีการสรางโรงเรือนปลูกผัก
1. เสาโรงเรือนปกทุกระยะ 1 เมตร ไปตามความยาวของโรงเรือนเปนระยะ 30
เมตร รวมจํานวน 31 ตน
- ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลางของเสา 3/4 นิ้ว โดยวิธีดัดเหล็กเสนให
รูปรางโคงคลายตัวยูคว่ํา โดยเฉพาะเหล็กกลมดํา 1 เสน ยาว 6 เมตร ใหวัดตาม
ความยาวของเหล็ก 2 เมตร ดัดทํามุม 64 องศา (ภาพที่ 2) ซึ่งปลายเหล็กดาน
หนึ่งจะถูกฝงในดินลึก เพื่อยึดโครงโรงเรือนใหแข็งแรงและเหลือสวนที่พนดิน
ขึ้นมามีความสูง 1.5 เมตร และทําการดัดมุมเหล็กกลมดําความยาวที่เหลืออีก 4
เมตร เปนมุม 142 องศา
- ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลางของเสา 3/4 นิ้ว ที่มีความยาว 2.7 เมตร
โดยดัดเหล็กที่มความยาว 2 เมตร ทํามุม 64 องศา โดยปลายเหล็กดานหนึ่งจะ
                ี
ถูกฝงดินลึก 0.5 เมตร และปลายเหล็กทอนนี้มีความยาว 0.7 เมตร ถูกดัดเปนมุม
142 องศา นํามาเชื่อมตอกันกับเหล็กกลมทอนแรก จะใชการเจาะรูดวยน็อต
หรือใชตาบเกลียวและใชขอตอชวยยึดก็ได
สรุป ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลาง 3/4 นิ้ว ความยาวทอนละ 6 เมตร
รวม 47 ทอนตอ 1 โรงเรือน




                ภาพที่ 2 ภาพตัดขวางดานหนาของโรงเรือน
2. เสาโรงเรือนใชประกอบโครงดานหนาและดานหลังโรงเรือน มีเสาดานละ 4
ตน (ภาพที่ 3) ใชเสากลมดําขนาดเสนผาศูนยกลางของเสา 1 นิ้ว ความสูงของ
เสาคูกลางยาว 3.0 เมตร และความสูงของเสาคูถัดไปมีความยาว 2.8 เมตร โดย
เสาทุกตนฝงดินลึกลงไป 0.5 เมตรทุกตน
สรุป ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว ความยาวทอนละ 6 เมตร
รวม 4 ทอนตอ 1 โรงเรือน
ภาพที่ 3 การประกอบเสาค้ําโครงสรางโรงเรือนที่บริเวณดานหนาและดานหลัง
                  เพื่อทําเปนประตู ทางเขาออกโรงเรือน
3. เหล็กที่ใชประกอบโครงดานหนาและดานหลังโรงเรือน โดยคาดขวางดานละ
2 ตน ใชเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว ในแนวเปนคานลางและคานบนโดย
ทอนลาง (ภาพที่ 4) ใชความยาวทอนละ 6 เมตร สวนความยาวทอนบนใชเหล็ก
ขนาดความยาว 6 เมตร มาตัดตอประกอบกับโครงของโรงเรือน โดยตองคํานวณ
ความยาวของเหล็กทอนบนใหเหมาะสมดวย
นอกจากนี้ที่บริเวณตําแหนงหมายเลข 1-8 ไปตามแนวความยาวของโรงเรือนจะ
มีเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว เชื่อมตอระหวางเสาโคงรูปตัวยูคว่ําตั้งแต
ดานหนาโรงเรือนไปจนถึงเสาคูทายสุดของโรงเรือน (ภาพที่ 5)
สรุป ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว ความยาวทอนละ 6 เมตร
รวม 40 ทอนตอ 1 โรงเรือน




 ภาพที่ 4 ภาพประกอบคานบนและคานลางที่บริเวณเฉพาะเสาโคงคูหนาและคู
  หลังของโรงเรือน สวนตําแหนงหมายเลข 1-8 แสดงจุดเชื่อมตอคานไปตาม
   ความยาวของโรงเรือน เพื่อสรางความแข็งแรงใหกับโครงสรางโรงเรือน
ภาพที่ 5 ลักษณะโครงสรางของโรงเรือนปลูกผักมาตรฐาน
2. การประกอบผาพลาสติกทําหลังคาโรงเรือนและคลุมดานขาง
โรงเรือนดวยมุงไนลอน
หลังคาของโรงเรือนเปนรูปตัวยู สวนโคงของหลังคาคลุมดวยผาพลาสติกเคลือบ
สารยูวี (UV stabilizer) ขนาดความหนา 200 ไมครอน (ภาพที่ 6) ซึ่งสารยูวี
(UV stabilizer) นี้ มีคุณสมบัติชวยลดความเขมของแสงลง และมีอายุการใชงาน
ทนนานกวาผาพลาสติกทัวไป การคลุมผาพลาสติกในฤดูฝนมักจะเกิดมีน้ําขัง
                          ่
เปนทองชาง ตรงจุดสูงสุดของตัวโครงหลังคา การแกไขใชเสนลวดขึงไปตาม
ความยาวของโรงเรือนกอนคลุมผาพลาสติก เพื่อเสริมไมใหผาพลาสติกตกหอย
ลงมาเวลาฝนตก
ดานขางของโรงเรือนคลุมดวยมุงไนลอนสีขาวตาถี่มีจํานวนเสนทอ 32 เสน/
ความยาว 1 นิ้ว (mesh) หนากวาง 2.50 เมตร ความยาว 50 เมตร/1 มวน มุงไน
ลอนชนิดนี้ ปองกันการเขารบกวนจากเพลี้ยไฟและหมัดกระโดดได การคลุมดวย
มุงไนลอนควรคลุมไปตามความยาวของโรงเรือน ซึ่งมีความยาวทั้งสิ้น 72 เมตร
ใชมุงจํานวน 2 มวน จุดตอกันระหวางมวนที่ 1 กับมวนที่ 2 ดึงผามุงใหเหลื่อม
ทับซอนกันแลวใชกระกับพลาสติกยึดจับเสาไว ดานขางของโรงเรือนใชผามุงที่
เหลือมาพาดคลุม 2 ดาน คือ หัว-ทาย ทั้งนี้เพราะผามุงจะระบายอากาศภายใน
โรงเรือนไดดี การใชประกับพลาสติกยึดจับมุงไนลอนใหตึงเปนชวง ๆ จํานวนเสา
ละ 3 อัน ประตูทางเขาของโรงเรือนใชผามุงไนลอนคลุมซอนเกยกันอยู 2 ชั้น
เหมือนประตูเขามุงนอน




        ภาพที่ 6 การคลุมหลังคาโรงเรือนดวยผาพลาสติกเคลือบสารยูวี
สวนบริเวณดานขางทั้งสี่ดานของโรงเรือนคลุมดวยมุงไนลอนสีขาวขนาด 32 ตา
                                         ถี่
   3. ทิศทางของโรงเรือน
   - ควรวางแนวอยูในแนวเหนือ-ใต
   4. การเตรียมแปลงปลูกในโรงเรือน
   - ปรับพื้นที่สม่ําเสมอเปนรูปกระทงนา โดยใชรถไถขนาดเล็ก (ภาพที่ 7) ปรับดิน
   สูง 0.2 เมตร เฉพาะบริเวณขอบแปลงทั้ง 4 ดาน รวมทั้งแนวทางเดินตรง
   กลางแปลง โดยทางเดินนี้ยาวไปตลอดตามความยาวของโรงเรือน ซึ่งแนวทาง
   เดินและขอบแปลงทั้ง 4 ดาน มีความกวาง 0.5 เมตร




      ภาพที่ 7 การใชรถไถขนาดเล็กเพือการเตรียมดินภายในโรงเรือนปลูกผัก
                                    ่
   5. การทําความสะอาดดินในโรงเรือนปลูกผัก
   หลังไถเตรียมดินเสร็จใหอบดินดวยสารเคมีทําความสะอาดดินดาโซเมท
   (dazomet) 98% G. เพื่อกําจัดโรคแมลงที่อาศัยในดิน เชน ไสเดือนฝอย เชือรา   ้
   แมลง และวัชพืชในดิน
   วิธีการใชสารเคมีทําความสะอาดดิน
   - ยอยดินใหละเอียด เก็บเศษวัชพืชที่ตกคางในแปลงใหหมด รดน้ําใหดินมี
   ความชื้นกอนหวานดาโซเมทลงบนดินที่เตรียมไว ถาตองการกําจัดวัชพืช รดน้ํา
   ใหชุมปลอยทิ้งไว 5-14 วัน เพื่อใหเมล็ดวัชพืชงอกกอนหวานหลังจากเก็บเศษ
   วัชพืชแลวจึงหวานดาโซเมท
   - การหวาน ดาโซเมท โดยอาศัยการเจาะฝากระปองสารดาโซเมทใหเปนรูคลาย
   กระปองแปงฝุน แลวโรยลงบนดินตามอัตราทีกําหนดขางฉลาก (ภาพที่ 8) ใช
                                                  ่
   จอบหรือรถไถขนาดเล็ก พลิกหนาดินที่โรยดาโซเมทนั้นลงดานลางทันที โดย
   ใหฟนกลบดินลึก 20-25 เซนติเมตร ใชจอบหรือลูกกลิ้งทุบหนาดินใหแนน แลว
   รดน้ําอีกครั้ง อบดินทิ้งไว 5-7 วัน นับจากวันแรกที่หวานดาโซเมท ระยะนี้ถา
   อากาศรอนตองระวังอยาปลอยใหผิวดินแตก ถาผิวหนาดินแหง ใหรดน้ําอีกใน
   วันที่ 3 หรือที่ 4 หลังจากที่ไดอบดินแลวตอจากนั้นอีก 5-7 วัน ใชจอบฟนเปด
   ดินใหถึงชั้นดินที่มดาโซเมทอยูเพือใหแกซพิษระเหยออกไปใหหมดแลวปลอย
                       ี               ่
   ทิ้งไวตามตารางดังนี้
  อุณหภูมิของดินที่ความลึก 10         ระยะเวลาตั้งแตอบดินถึงปลูกพืชได
           เซนติเมตร                                (วัน)
20 องศาเซลเซียส                       10-14
15-20 องศาเซลเซียส                    16-18
10-15 องศาเซลเซียส                    25
ดาโซเมทเปนวัตถุที่มีพิษกอนใชควรศึกษารายละเอียด และปฏิบัติดวย
                           ความระมัดระวัง




ภาพที่ 8 การโรยสารทําความสะอาดดินลงในแปลงขณะเตรียมดินกอนเริ่มปลูก
                           พืชนาน 15 วัน
6. การปรับสภาพและบํารุงความอุดมสมบูรณของดิน
- ใชปุยอินทรียโดยทั่วไปเปนชนิดผงละเอียดหรือชนิดเม็ด สําหรับการบํารุงและ
ปรับสภาพดินในโรงเรือนปลูกผักของตางประเทศใชปุยขี้ไกอัดเม็ด (ภาพที่ 9)
ปจจุบันในประเทศไทยมีการผลิตปุยขี้ไกอัดเม็ดเปนการคากันแลว คุณสมบัติ
ของปุยขี้ไกอัดเม็ดนี้ จะไมมีกลิ่นฉุนเหมือนปุยอินทรียทั่วไป และผาน
กระบวนการกําจัดสิ่งเจือปน เชน เศษวัชพืชออกหมด
- ปุยวิทยาศาสตรใชเพื่อเปนตัวเรงการเจริญเติบโตของผักที่ปลูกในโรงเรือนให
เก็บเกี่ยวไดพรอมกัน นอกจากใชปุยอินทรียและปุยวิทยาศาสตรแลวควรใชปูน
                                                    
ขาวเพื่อปรับสภาพ pH ของดิน ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่




                        ภาพที่ 9 ปุยขี้ไกชนิดอัดเม็ด
7. การใหน้ําในแปลง
โดยติดตั้งระบบใหน้ําที่มีวาวลเปด-ปดน้ําอยูตดดานหัวแปลงแลวตอสายยางเขา
                                                ิ
ไปในโรงเรือนปลอยใหน้ําไหลอาบน้ําเขาไปในแปลง (ภาพที่ 10-11) แทนการ
ลากสายยางเดินรดน้ําไปตามตนผักทีละตน
การใหน้ํา 2 ครั้ง/วัน เชา-เย็น หรือใหตามความเหมาะสม โดยพิจารณาความชื้น
ของดินในโรงเรือน ถาชื้นมากควรเวนระยะการใหน้ําออกไป วิธีการใหน้ําแบบนี้
ชวยปองกันเชื้อราเขารบกวนบนใบผัก เพราะใบผักจะไมเปยกน้ํา ขณะที่บริเวณ
รากของผักจะชุมชื้นแทน รวมทั้งรูปแบบการใหน้ําแบบนี้จะใหน้ําแบบสลับรองใน
แปลงปลูก เพื่อคนงานจะไดเขาไปทํางานไดโดยไมเหยียบย่ําแปลงขณะที่แปลง
แฉะ ชวยปองกันไมใหโครงสรางของดินเสียหาย




          ภาพที่ 10 การติดตั้งระบบใหน้ําสําหรับปลูกผักในโรงเรือน




 ภาพที่ 11 วิธีการใหน้ําสําหรับปลูกผักในโรงเรือน โดยปลอยปลายสายยางเขา
                   ไปในโรงเรือน ใหน้ําไหลอาบเขาแปลงผัก
8. ชนิดผักในโรงเรือนที่แนะนําใหปลูก

ผักที่จะใชทดสอบในโรงเรือนนั้น พิจารณาจาก

8.1 ผักที่มอัตราการใชสารเคมีมากและออนแอตอโรค-แมลง
            ี
8.2 ผักที่มีราคา
ผักที่คดเลือกปลูกในโรงเรือน ไดแก
       ั
- ผักกินผล เชน แคนตาลูป พันธุลูกผสม พริกสดผลยาว
- ผักกินใบ เชน ผักนวลจันทร ฮองเฮา คะนาสีทอง (ภาพที่ 12)
ภาพที่ 12 ผักกินใบเจริญเติบโตไดดีในโรงเรือนที่ปลูกผัก
9. แนวทางการผลิตผัก
ใหมีการผลิตตามแผนการผลิตที่วางไว โดยภาคเอกชนที่เขารวมโครงการและ
ชวยในเรื่องรับซื้อผลิตผลจากเกษตรกรจะชวยกําหนดชนิดผักที่จะปลูกในแตละ
ฤดูกาล เพื่อใหเกษตรกรสามารถผลิตไดตอเนื่องตลอดป
                                     
10. การดูแลรักษาและเก็บเกี่ยวตลอดจนการขนสง

ปฏิบัติตามคําแนะนําในการดูแลรักษาผักแตละชนิด และเก็บเกี่ยวผลิตผลใน
ระยะที่เหมาะสม (ภาพที่ 13) รวมทั้งทําการขนสงทําดวยความปราณีต ทําให
ผลิตผลมีคุณภาพดีและเกิดการสูญเสียนอยลง เชน การขนสงโดยอาศัยรถหอง
เย็น (ภาพที่ 14)




      ภาพที่ 13 ภาพเกษตรกรผูปลูกควรเก็บเกี่ยวผักในระยะที่เหมาะสม




ภาพที่ 14 การขนสงผักสดควรใชรถหองเย็นปรับอุณหภูมิเพื่อชวยถนอมคุณภาพ
                             ของผลผลิต
11. ประสานงานการขายใหครบวงจร
ในปแรกของโครงการ ผลผลิตในโรงเรือนปลูกผักทีดําเนินการในศูนยฯ ตาง ๆ
                                                   ่
จะเปนการเผยแพรและขยายผลใหหนวยงานราชการเอกชน ผูสนใจ ไดศกษาหา    ึ
ความรูและประชาสัมพันธโครงการในพื้นที่ใกลเคียงของศูนยแตละแหง สวนที่
จัดทําในแปลงของเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตรจะเปนผูประสานงานระหวาง
ผูซื้อและผูผลิต โดยไดเชิญบริษัทที่สนใจเขารวมโครงการ การรับซื้อผลผลิต
โดยมีการประกันราคาเพื่อความมั่นใจของเกษตรกรวาผลิตแลวมีตลาดรับซื้อใน
สวนของผูปลูกเอง
12. ตนทุนการผลิต

โครงการปลูกผักในโรงเรือนเปนการวัดผลในระยะยาวถึงแมตนทุนการผลิตจะสูง
กวาการปลูกผักโดยทั่วไป ซึ่งตนทุนในปแรกนั้นเกษตรกรจะลงทุนหนักในดาน
การสรางโรงเรือนประมาณ 30,000-40,000 บาท/โรงเรือน ก็ตาม แตผลที่ไดรับ
จะคุมคา โดยเฉพาะที่เคยจัดทําในประเทศไตหวัน สามารถคืนทุนไดในเวลา 3 ป
โดยการปลูกผักในโรงเรือนแบบนี้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16noeiinoii
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16Noonnu Ka-noon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 

Mais procurados (7)

Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
แผ่นพับข้าวอินทรีย์
แผ่นพับข้าวอินทรีย์แผ่นพับข้าวอินทรีย์
แผ่นพับข้าวอินทรีย์
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
พืชไร้ดิน Hydroponics
พืชไร้ดิน Hydroponicsพืชไร้ดิน Hydroponics
พืชไร้ดิน Hydroponics
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 

Semelhante a เกษตร

บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวBenjamart2534
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์dechathon
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaRn Tik Tok
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชvarut
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ploymhud
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้Aungkana Na Na
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 

Semelhante a เกษตร (20)

บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
 
หญ้าแฝก
หญ้าแฝกหญ้าแฝก
หญ้าแฝก
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
Rubber
RubberRubber
Rubber
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 

Mais de ดอเลาะหะมิ อุแซดอเลาะ (7)

งานและหน้าที่
งานและหน้าที่งานและหน้าที่
งานและหน้าที่
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
seen
seenseen
seen
 
อาคาร2
อาคาร2อาคาร2
อาคาร2
 
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบผู้บริหารทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
 
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบผู้บริหารทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
 
fresent
fresentfresent
fresent
 

เกษตร

  • 1. 1. เพื่อใหเกษตรกรผูปลูกสามารถวางแผนการผลิตผักไดตลอดป โดยเลือกผลิต ผักที่มีราคาและผักที่ปลูกในสภาพนอกโรงเรือนที่มีปญหาแมลงรบกวนมาก จึงมี การฉีดพนสารฆาแมลงเปนประจํา 2. สามารถกําหนดการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและจัดทํา โครงการในลักษณะครบวงจร 3. ผูบริโภคมั่นใจไดวาผักที่ปลูกไมมการใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช ี 4. มีสวนชวยอนุรักษสภาพสิ่งแวดลอม รวมถึงแหลงตนน้ําลําธารจะไดปลอดภัย จากปญหาพิษตกคางของสารเคมี จุดดําเนินการทั้งหมดมี 25 โรงเรือน โดยจัดทําในศูนยสงเสริมและผลิตพันธุพืช สวน ศูนยสงเสริมการเกษตรที่สูง และสํานักงานเกษตรจังหวัด ดังนี้ 1. ศูนยสงเสริมและผลิตพันธุพืชสวน 10 ศูนย 10 โรงเรือน ไดแก เชียงใหม เชียงราย นาน ยโสธร นครราชสีมา เลย สมุทรสาคร ระยอง สุราษฏรธานี กระบี่ 2. ศูนยสงเสริมการเกษตรที่สูง 4 จังหวัด 5 โรงเรือน ไดแก เชียงราย ลําพูน เลย กาญจนบุรี 3. สํานักงานเกษตรจังหวัด 2 จังหวัด 10 โรงเรือน ไดแก อางทอง นครนายก 1. การสรางโรงเรือน - โรงเรือนเปนโครงเหล็กรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง x ยาว x สูง = 6 x 30 x 2.5 เมตร (ภาพที่ 1)
  • 2. ภาพที่ 1 ลักษณะโครงสรางของโรงเรือนปลูกผักเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา รายละเอียดและวิธีการสรางโรงเรือนปลูกผัก 1. เสาโรงเรือนปกทุกระยะ 1 เมตร ไปตามความยาวของโรงเรือนเปนระยะ 30 เมตร รวมจํานวน 31 ตน - ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลางของเสา 3/4 นิ้ว โดยวิธีดัดเหล็กเสนให รูปรางโคงคลายตัวยูคว่ํา โดยเฉพาะเหล็กกลมดํา 1 เสน ยาว 6 เมตร ใหวัดตาม ความยาวของเหล็ก 2 เมตร ดัดทํามุม 64 องศา (ภาพที่ 2) ซึ่งปลายเหล็กดาน หนึ่งจะถูกฝงในดินลึก เพื่อยึดโครงโรงเรือนใหแข็งแรงและเหลือสวนที่พนดิน ขึ้นมามีความสูง 1.5 เมตร และทําการดัดมุมเหล็กกลมดําความยาวที่เหลืออีก 4 เมตร เปนมุม 142 องศา - ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลางของเสา 3/4 นิ้ว ที่มีความยาว 2.7 เมตร โดยดัดเหล็กที่มความยาว 2 เมตร ทํามุม 64 องศา โดยปลายเหล็กดานหนึ่งจะ ี ถูกฝงดินลึก 0.5 เมตร และปลายเหล็กทอนนี้มีความยาว 0.7 เมตร ถูกดัดเปนมุม 142 องศา นํามาเชื่อมตอกันกับเหล็กกลมทอนแรก จะใชการเจาะรูดวยน็อต หรือใชตาบเกลียวและใชขอตอชวยยึดก็ได สรุป ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลาง 3/4 นิ้ว ความยาวทอนละ 6 เมตร รวม 47 ทอนตอ 1 โรงเรือน ภาพที่ 2 ภาพตัดขวางดานหนาของโรงเรือน 2. เสาโรงเรือนใชประกอบโครงดานหนาและดานหลังโรงเรือน มีเสาดานละ 4 ตน (ภาพที่ 3) ใชเสากลมดําขนาดเสนผาศูนยกลางของเสา 1 นิ้ว ความสูงของ เสาคูกลางยาว 3.0 เมตร และความสูงของเสาคูถัดไปมีความยาว 2.8 เมตร โดย เสาทุกตนฝงดินลึกลงไป 0.5 เมตรทุกตน สรุป ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว ความยาวทอนละ 6 เมตร รวม 4 ทอนตอ 1 โรงเรือน
  • 3. ภาพที่ 3 การประกอบเสาค้ําโครงสรางโรงเรือนที่บริเวณดานหนาและดานหลัง เพื่อทําเปนประตู ทางเขาออกโรงเรือน 3. เหล็กที่ใชประกอบโครงดานหนาและดานหลังโรงเรือน โดยคาดขวางดานละ 2 ตน ใชเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว ในแนวเปนคานลางและคานบนโดย ทอนลาง (ภาพที่ 4) ใชความยาวทอนละ 6 เมตร สวนความยาวทอนบนใชเหล็ก ขนาดความยาว 6 เมตร มาตัดตอประกอบกับโครงของโรงเรือน โดยตองคํานวณ ความยาวของเหล็กทอนบนใหเหมาะสมดวย นอกจากนี้ที่บริเวณตําแหนงหมายเลข 1-8 ไปตามแนวความยาวของโรงเรือนจะ มีเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว เชื่อมตอระหวางเสาโคงรูปตัวยูคว่ําตั้งแต ดานหนาโรงเรือนไปจนถึงเสาคูทายสุดของโรงเรือน (ภาพที่ 5) สรุป ใชเหล็กกลมดําขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว ความยาวทอนละ 6 เมตร รวม 40 ทอนตอ 1 โรงเรือน ภาพที่ 4 ภาพประกอบคานบนและคานลางที่บริเวณเฉพาะเสาโคงคูหนาและคู หลังของโรงเรือน สวนตําแหนงหมายเลข 1-8 แสดงจุดเชื่อมตอคานไปตาม ความยาวของโรงเรือน เพื่อสรางความแข็งแรงใหกับโครงสรางโรงเรือน
  • 4. ภาพที่ 5 ลักษณะโครงสรางของโรงเรือนปลูกผักมาตรฐาน 2. การประกอบผาพลาสติกทําหลังคาโรงเรือนและคลุมดานขาง โรงเรือนดวยมุงไนลอน หลังคาของโรงเรือนเปนรูปตัวยู สวนโคงของหลังคาคลุมดวยผาพลาสติกเคลือบ สารยูวี (UV stabilizer) ขนาดความหนา 200 ไมครอน (ภาพที่ 6) ซึ่งสารยูวี (UV stabilizer) นี้ มีคุณสมบัติชวยลดความเขมของแสงลง และมีอายุการใชงาน ทนนานกวาผาพลาสติกทัวไป การคลุมผาพลาสติกในฤดูฝนมักจะเกิดมีน้ําขัง ่ เปนทองชาง ตรงจุดสูงสุดของตัวโครงหลังคา การแกไขใชเสนลวดขึงไปตาม ความยาวของโรงเรือนกอนคลุมผาพลาสติก เพื่อเสริมไมใหผาพลาสติกตกหอย ลงมาเวลาฝนตก ดานขางของโรงเรือนคลุมดวยมุงไนลอนสีขาวตาถี่มีจํานวนเสนทอ 32 เสน/ ความยาว 1 นิ้ว (mesh) หนากวาง 2.50 เมตร ความยาว 50 เมตร/1 มวน มุงไน ลอนชนิดนี้ ปองกันการเขารบกวนจากเพลี้ยไฟและหมัดกระโดดได การคลุมดวย มุงไนลอนควรคลุมไปตามความยาวของโรงเรือน ซึ่งมีความยาวทั้งสิ้น 72 เมตร ใชมุงจํานวน 2 มวน จุดตอกันระหวางมวนที่ 1 กับมวนที่ 2 ดึงผามุงใหเหลื่อม ทับซอนกันแลวใชกระกับพลาสติกยึดจับเสาไว ดานขางของโรงเรือนใชผามุงที่ เหลือมาพาดคลุม 2 ดาน คือ หัว-ทาย ทั้งนี้เพราะผามุงจะระบายอากาศภายใน โรงเรือนไดดี การใชประกับพลาสติกยึดจับมุงไนลอนใหตึงเปนชวง ๆ จํานวนเสา ละ 3 อัน ประตูทางเขาของโรงเรือนใชผามุงไนลอนคลุมซอนเกยกันอยู 2 ชั้น เหมือนประตูเขามุงนอน ภาพที่ 6 การคลุมหลังคาโรงเรือนดวยผาพลาสติกเคลือบสารยูวี
  • 5. สวนบริเวณดานขางทั้งสี่ดานของโรงเรือนคลุมดวยมุงไนลอนสีขาวขนาด 32 ตา ถี่ 3. ทิศทางของโรงเรือน - ควรวางแนวอยูในแนวเหนือ-ใต 4. การเตรียมแปลงปลูกในโรงเรือน - ปรับพื้นที่สม่ําเสมอเปนรูปกระทงนา โดยใชรถไถขนาดเล็ก (ภาพที่ 7) ปรับดิน สูง 0.2 เมตร เฉพาะบริเวณขอบแปลงทั้ง 4 ดาน รวมทั้งแนวทางเดินตรง กลางแปลง โดยทางเดินนี้ยาวไปตลอดตามความยาวของโรงเรือน ซึ่งแนวทาง เดินและขอบแปลงทั้ง 4 ดาน มีความกวาง 0.5 เมตร ภาพที่ 7 การใชรถไถขนาดเล็กเพือการเตรียมดินภายในโรงเรือนปลูกผัก ่ 5. การทําความสะอาดดินในโรงเรือนปลูกผัก หลังไถเตรียมดินเสร็จใหอบดินดวยสารเคมีทําความสะอาดดินดาโซเมท (dazomet) 98% G. เพื่อกําจัดโรคแมลงที่อาศัยในดิน เชน ไสเดือนฝอย เชือรา ้ แมลง และวัชพืชในดิน วิธีการใชสารเคมีทําความสะอาดดิน - ยอยดินใหละเอียด เก็บเศษวัชพืชที่ตกคางในแปลงใหหมด รดน้ําใหดินมี ความชื้นกอนหวานดาโซเมทลงบนดินที่เตรียมไว ถาตองการกําจัดวัชพืช รดน้ํา ใหชุมปลอยทิ้งไว 5-14 วัน เพื่อใหเมล็ดวัชพืชงอกกอนหวานหลังจากเก็บเศษ วัชพืชแลวจึงหวานดาโซเมท - การหวาน ดาโซเมท โดยอาศัยการเจาะฝากระปองสารดาโซเมทใหเปนรูคลาย กระปองแปงฝุน แลวโรยลงบนดินตามอัตราทีกําหนดขางฉลาก (ภาพที่ 8) ใช ่ จอบหรือรถไถขนาดเล็ก พลิกหนาดินที่โรยดาโซเมทนั้นลงดานลางทันที โดย ใหฟนกลบดินลึก 20-25 เซนติเมตร ใชจอบหรือลูกกลิ้งทุบหนาดินใหแนน แลว รดน้ําอีกครั้ง อบดินทิ้งไว 5-7 วัน นับจากวันแรกที่หวานดาโซเมท ระยะนี้ถา อากาศรอนตองระวังอยาปลอยใหผิวดินแตก ถาผิวหนาดินแหง ใหรดน้ําอีกใน วันที่ 3 หรือที่ 4 หลังจากที่ไดอบดินแลวตอจากนั้นอีก 5-7 วัน ใชจอบฟนเปด ดินใหถึงชั้นดินที่มดาโซเมทอยูเพือใหแกซพิษระเหยออกไปใหหมดแลวปลอย ี ่ ทิ้งไวตามตารางดังนี้ อุณหภูมิของดินที่ความลึก 10 ระยะเวลาตั้งแตอบดินถึงปลูกพืชได เซนติเมตร (วัน) 20 องศาเซลเซียส 10-14 15-20 องศาเซลเซียส 16-18 10-15 องศาเซลเซียส 25
  • 6. ดาโซเมทเปนวัตถุที่มีพิษกอนใชควรศึกษารายละเอียด และปฏิบัติดวย ความระมัดระวัง ภาพที่ 8 การโรยสารทําความสะอาดดินลงในแปลงขณะเตรียมดินกอนเริ่มปลูก พืชนาน 15 วัน 6. การปรับสภาพและบํารุงความอุดมสมบูรณของดิน - ใชปุยอินทรียโดยทั่วไปเปนชนิดผงละเอียดหรือชนิดเม็ด สําหรับการบํารุงและ ปรับสภาพดินในโรงเรือนปลูกผักของตางประเทศใชปุยขี้ไกอัดเม็ด (ภาพที่ 9) ปจจุบันในประเทศไทยมีการผลิตปุยขี้ไกอัดเม็ดเปนการคากันแลว คุณสมบัติ ของปุยขี้ไกอัดเม็ดนี้ จะไมมีกลิ่นฉุนเหมือนปุยอินทรียทั่วไป และผาน กระบวนการกําจัดสิ่งเจือปน เชน เศษวัชพืชออกหมด - ปุยวิทยาศาสตรใชเพื่อเปนตัวเรงการเจริญเติบโตของผักที่ปลูกในโรงเรือนให เก็บเกี่ยวไดพรอมกัน นอกจากใชปุยอินทรียและปุยวิทยาศาสตรแลวควรใชปูน  ขาวเพื่อปรับสภาพ pH ของดิน ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ ภาพที่ 9 ปุยขี้ไกชนิดอัดเม็ด
  • 7. 7. การใหน้ําในแปลง โดยติดตั้งระบบใหน้ําที่มีวาวลเปด-ปดน้ําอยูตดดานหัวแปลงแลวตอสายยางเขา ิ ไปในโรงเรือนปลอยใหน้ําไหลอาบน้ําเขาไปในแปลง (ภาพที่ 10-11) แทนการ ลากสายยางเดินรดน้ําไปตามตนผักทีละตน การใหน้ํา 2 ครั้ง/วัน เชา-เย็น หรือใหตามความเหมาะสม โดยพิจารณาความชื้น ของดินในโรงเรือน ถาชื้นมากควรเวนระยะการใหน้ําออกไป วิธีการใหน้ําแบบนี้ ชวยปองกันเชื้อราเขารบกวนบนใบผัก เพราะใบผักจะไมเปยกน้ํา ขณะที่บริเวณ รากของผักจะชุมชื้นแทน รวมทั้งรูปแบบการใหน้ําแบบนี้จะใหน้ําแบบสลับรองใน แปลงปลูก เพื่อคนงานจะไดเขาไปทํางานไดโดยไมเหยียบย่ําแปลงขณะที่แปลง แฉะ ชวยปองกันไมใหโครงสรางของดินเสียหาย ภาพที่ 10 การติดตั้งระบบใหน้ําสําหรับปลูกผักในโรงเรือน ภาพที่ 11 วิธีการใหน้ําสําหรับปลูกผักในโรงเรือน โดยปลอยปลายสายยางเขา ไปในโรงเรือน ใหน้ําไหลอาบเขาแปลงผัก 8. ชนิดผักในโรงเรือนที่แนะนําใหปลูก ผักที่จะใชทดสอบในโรงเรือนนั้น พิจารณาจาก 8.1 ผักที่มอัตราการใชสารเคมีมากและออนแอตอโรค-แมลง ี 8.2 ผักที่มีราคา ผักที่คดเลือกปลูกในโรงเรือน ไดแก ั - ผักกินผล เชน แคนตาลูป พันธุลูกผสม พริกสดผลยาว - ผักกินใบ เชน ผักนวลจันทร ฮองเฮา คะนาสีทอง (ภาพที่ 12)
  • 8. ภาพที่ 12 ผักกินใบเจริญเติบโตไดดีในโรงเรือนที่ปลูกผัก 9. แนวทางการผลิตผัก ใหมีการผลิตตามแผนการผลิตที่วางไว โดยภาคเอกชนที่เขารวมโครงการและ ชวยในเรื่องรับซื้อผลิตผลจากเกษตรกรจะชวยกําหนดชนิดผักที่จะปลูกในแตละ ฤดูกาล เพื่อใหเกษตรกรสามารถผลิตไดตอเนื่องตลอดป  10. การดูแลรักษาและเก็บเกี่ยวตลอดจนการขนสง ปฏิบัติตามคําแนะนําในการดูแลรักษาผักแตละชนิด และเก็บเกี่ยวผลิตผลใน ระยะที่เหมาะสม (ภาพที่ 13) รวมทั้งทําการขนสงทําดวยความปราณีต ทําให ผลิตผลมีคุณภาพดีและเกิดการสูญเสียนอยลง เชน การขนสงโดยอาศัยรถหอง เย็น (ภาพที่ 14) ภาพที่ 13 ภาพเกษตรกรผูปลูกควรเก็บเกี่ยวผักในระยะที่เหมาะสม ภาพที่ 14 การขนสงผักสดควรใชรถหองเย็นปรับอุณหภูมิเพื่อชวยถนอมคุณภาพ ของผลผลิต 11. ประสานงานการขายใหครบวงจร
  • 9. ในปแรกของโครงการ ผลผลิตในโรงเรือนปลูกผักทีดําเนินการในศูนยฯ ตาง ๆ ่ จะเปนการเผยแพรและขยายผลใหหนวยงานราชการเอกชน ผูสนใจ ไดศกษาหา ึ ความรูและประชาสัมพันธโครงการในพื้นที่ใกลเคียงของศูนยแตละแหง สวนที่ จัดทําในแปลงของเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตรจะเปนผูประสานงานระหวาง ผูซื้อและผูผลิต โดยไดเชิญบริษัทที่สนใจเขารวมโครงการ การรับซื้อผลผลิต โดยมีการประกันราคาเพื่อความมั่นใจของเกษตรกรวาผลิตแลวมีตลาดรับซื้อใน สวนของผูปลูกเอง 12. ตนทุนการผลิต โครงการปลูกผักในโรงเรือนเปนการวัดผลในระยะยาวถึงแมตนทุนการผลิตจะสูง กวาการปลูกผักโดยทั่วไป ซึ่งตนทุนในปแรกนั้นเกษตรกรจะลงทุนหนักในดาน การสรางโรงเรือนประมาณ 30,000-40,000 บาท/โรงเรือน ก็ตาม แตผลที่ไดรับ จะคุมคา โดยเฉพาะที่เคยจัดทําในประเทศไตหวัน สามารถคืนทุนไดในเวลา 3 ป โดยการปลูกผักในโรงเรือนแบบนี้