SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
Baixar para ler offline
หนานอก            บอกความสดใส
                 หนาใน             บอกความดี
                 หนาที่บอก         ความสามารถ
อายุสั้น อายุยืน มีสาเหตุมาจากกรรมที่ทํามากอนและสภาพแวดลอมในปจจุบัน
                          อาหาร ๓ มื้อที่พระพุทธเจาตรัสไว
มื้อเชาบํารุงรางกาย มื้อกลางวันบํารุงสมอง         มื้อค่ําบํารุงกาม
                             
คําวา “ดา” กับ “ชี้ขุมทรัพย” เปนคําๆ เดียวกัน แตใชไมเหมือนกัน
ถามีความปรารถนาดี เปนการชี้ขุมทรัพย ถามีความปรารถนาราย เปนการดา
                             
     ไดเงาอยาลืมรม ไดพรมอยาลืมเสือ ไดเสื้ออยาลืมใส
                                      ่
           ไดกําไรจากการคาขาย ก็อยาลืมทําบุญ
                             
จะทําบุญทุกครั้งใหอธิษฐานจิต จะทําบุญทุกชนิดใหตั้งจิตอธิษฐาน
                             
ทําดีเอาไวใหลูก ทําถูกเอาไวใหหลาน    ไมทําชั่วสามานยใหลูกหลานเห็น
                             
     ขอใหโชคดีมีชัยทั้งไปและกลับ        โชคดีมีทรัพยทั้งกลับและไป
                             
           ใจจริงเขาถึงพระพุทธ ใจบริสุทธิ์เขาถึงพระธรรม
           ใจงามเขาถึงพระสงฆ ใจไมหลงเขาถึงนิพพาน
                             
     เราทําดีความดีไมหนีหาง ลิขิตทางเดินเองอยาเกรงกริง
                                                        ่
     ชีวิตนีมีคาหากทําจริง หากหยุดนิงก็คลายตายทั้งเปน
            ้                           ่
                             
     วันไหนไหน               ไมสําคัญ        เทาวันนี้
     เปนวันที่              ที่สําคัญ        กวาวันไหน
     วันพรุงนี้             มะรืนนี้         ดีอยางไร
     ก็ยังไม                สําคัญ           เทาวันนี้
                             
อยูอยางต่ํา ทําอยางสูง เปนลักษณะอยางหนึ่งของบัณฑิต
ของดีจะมีอยูกับผูมบุญเทานัน เพราะของดียอมควรแกคนดี
                    ี        ้
                      หาควรแกคนชั่วไม
                             
ความรักของผูหญิง     ความสงสารมากอน           ตามดวยความเห็นอก
เห็นใจ
                      และความรักเปนที่สุด
สวนความรักของผูชาย ความใครมากอน ตามดวยความเห็นใจ
                
               และความสงสาร        อันเปนความรักที่สมบูรณ
      ชีวิตคูเสมือนหนึ่ง หนึ่งชีวิต แตสองหัวใจ หัวใจเดียวเรื่อง
มากพอแลว ถาสองหัวใจมารวมกัน เทากับเพิ่มปญหาชีวิตขึ้นเปนสอง
เทา จึงตองมีน้ํายามาประสานใจ นั่นคือ ทั้งสองฝายตองยึดหลัก
๔ อ. ในการครองเรือน คือ
๑. อดทน ๒. อภัย                 ๓. เอาใจ         ๔.อดออม
(๓ อ, แรกเปนเรื่องของคนคูที่จะตองปฏิบัติตอกัน สวน อ, ที่สี่
เปนเรื่องของการบริหารเศรษฐกิจภายใจครอบครัว)
                              

      คอยนึกถึงความผิด                           จะไดคิดแกไข
      คอยนึกถึงความดี                            จะไดมีกําลังใจ
                              
ถาอยากรวย              อยูอยางรวย             ไมมีวันรวย
ถากลัวจน               อยูอยางจน              ไมมีวันจน
                              
* การทําความดี ใหความอิ่มใจในเบื้องหลัง ใหความสมหวังในเบื้องหนา
* รักลูกใหถูกวิธี คือการทําดีใหลูกดู
* การใหคือการไดมา เหมือนการออกกําลัง คือการไดกําลัง

* ชายอกหัก เพราะรักสาวสวย หญิงอกหักเพราะรักหนุมรวย
* วัน เวลา ทุกคนมีเทากัน แตคนขยันตื่นเชา ยอมไดเวลายาว
กวา
* การไมเอานั่นแหละ คือการใหอยูในตัว
* ตราบใดยังมีลมหายใจ ตราบนั้นก็ยังมี
ความหวัง
* คนอัจฉริยะเรียนไดจากธรรมชาติ สวนคนฉลาดเรียนไดจากหนังสือ
* จงเก็บเล็กผสมนอย ไมวาความรูหรือทรัพย
* ที่ที่สงบ ยอมไมมีแกบุคคลผูมีจิตฟุงซาน มีจิตสงไปแลวในอารมณตาง ๆ
                               

* บานไมมีบุตรสืบสกุล บอไมมีน้ํา ตนไมไมมียอด ปากไมมีสัจจะ ยอมเสื่อม
* วัยหนึ่งไมเรียนรูวิชา วัยสองไมหาทรัพย วัยสามไมรักษาศีล
  วัยสี่จะทําอะไรได
* คนที่พูดปดยอมไมมีใครเชื่อถือ                เมื่อเขาพูดจริง

* จงเปดใจใหกวาง ในการที่จะรับฟงคนอื่น ยอมไมเปน เปนใหญยาก
* เงินเปนของมีคาสําหรับคนที่ใชเปน แต..จักไมมีคาสําหรับคนไมรูจักใช
* จะดูหญิง ใหดูทความละอาย
                 ี่                       จะดูชาย        ใหดูทความกลา
                                                               ี่
หาญ




                           
อยานอนตื่นสาย อยาอายทํากิน
อยาหมิ่นเงินนอย อยาคอยวาสนา
อยาเสวนาคนชั่ว อยามั่วอบายมุข
อยาสุกกอนหาม อยาพลามกอนทํา
อยารํากอนเพลง อยาขมเหงผูนอย
อยาคอยแตประจบ อยาคบแตเศรษฐี
อยาดีแตตัว       อยาชั่วแตคนอืน
                                  ่
อยาฝาฝนกฎระเบียบ อยาเอาเปรียบสังคม
อยาชืนชมคนผิด อยาคิดเอาแตได
      ่
อยาใสรายคนดี อยากลาววจีมุสา
อยานินทาพระเจา อยาขลาดเขลาเมื่อทุกข
อยาสุขจนลืมตัว อยาเกรงกลัวงานหนัก
อยาพิทักษพาลชน อยาลืมตนเมือมั่งมี ฯ
                             ่



              มงคลธรรม

   ถาทานทําตัวแขงกับสังคม
       ทางแหงความลมจมกําลังจะตามมา
   ถาทานทํางานเห็นแกหนา
       ทานจะพบกับปญหาเรือยไป
                             ่
   ถาทานทําตัวเห็นแกได
       ทานอยาหวังน้ําใจจากเพือนฝูง
                               ่
   ถาทานกลัวจนเกินไป
       ทานจะทําอะไรไมไดความ
   ถาทานกลาจนเกินงาม
       ทานจะพบกับความเดือดรอน
ถาทานขาดความพอดี
       ทานจะเปนหนี้เขาตลอดกาล
   ถาทานหวังแตความสนุก
       ทานจะทุกขมหาศาล
   ถาทานขาดความยั้งคิด
       ชีวิตทั้งชีวิตจะหมดความหมาย
   ถาทานทําใจใหสงบ
       ทานจะพบกับความสุขที่เยือกเย็น ฯ


    คนจะดีนี้ตองฝกและศึกษา
       กายวาจาตองอบรมบมนิสัย
       ตองฝกกันใหแนนหนักเปนหลักชัย
       ชนะภัยสาระพัดสวัสดี ฯ
    คนจะดีบางทีตองมีเพือน
                          ่
       ชวยตักเตือนเงื่อนงําตามวิสัย
       แตบางทีเพื่อนนี้ก็เปนภัย
       เปนปจจัยใหเราตองเผาเรือน ฯ
มีศีลธรรมนําเราใหเรืองรุง
มีศีลธรรมสิ่งที่มุงยอมไดสม
มีศีลธรรมนําใหสลายอารมณ
มีศีลธรรมคนนิยมทั่วแผนดิน ฯ
    คนจะดี ก็เพราะมี ดีอยูดวย 
ดีไมชวย คนจะดี ไดที่ไหน
     ดีในคน จําตองปน กับคนไป
     ดีแตตน คนไมใช     ก็ชวดดี ฯ
ชีวิตเรา เราลิขิต     มิตรชายหญิง
ทุกๆ สิ่ง เราทํากรรม กรรมสนอง
จะชั่วดี มีหรือจน ตนครอบครอง
ทุกคนตอง รับผลกรรม ที่ทําเอง ฯ

*ลูกลืมพอแม กระแตลืมปา หมาลืมเจาของ อยาเขาใกล*

         บทสวดมนตไหวพระกอนนอน
            คําบูชาพระรัตนตรัย
               (กราบ ๓ ครั้ง แลวกลาววา)
๑. อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อภิปูชยามิ
       อิมินา สักกาเรนะ ตัง ธัมมัง อภิปูชยามิ
       อิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อภิปูชยามิ
       อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
       พุทธัง ภะคะวันตัง        อภิวาเทมิ, (กราบ)
       สวากขาโต ภะคะวะโต ธัมโม
       ธัมมัง นมัสสามิ,                    (กราบ)
       สุปฏิปนโน     ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
       สังฆัง นะมามิ                       (กราบ)
มัยหัง มาตาปตูนังวะ ปาเท วันทามิ สาทะรัง (กราบ)
ปญญาวุฑฒิกะเร เต เต ทินโนวาเท นะมามิหัง (กราบ)
๒. นะโม ตัสสะ……….(๓ จบ)
๓. พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ…...ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
๔. อิติป โส ภะคะวา……....สวากขาโต……....สุปฏิปนโน
๕. กรวดน้ํา อิมินา……….
๖. นั่งสมาธิ ๑๐ นาที หรือมากกวานั้น ตามสมควร
๗. แผสวนกุศล แผเมตตา
๘. กราบ ๓ ครั้ง ตั้งใจนอนหลับดวยความมีสติ
                     ประโยชนของการสวดมนต
๑.   ทําใหอานหนังสือคลอง ออกเสียงไดถูกตอง
     สมองไดรับการพัฒนา
๒.   ขับไลความเกียจคราน จิตใจแชมชื่นเบิกบาน
๓.   ตัดความเห็นแกตัวได เพราะโลภะ โทสะ โมหะ ไมเกิด
      ขณะสวดมนต
๔.   จิตเยือกเย็นเปนสมาธิ ไมฟุงซาน
๕.   ไดปญญารูหลักคําสอนของพระพุทธเจา
๖.   ถึงพรอมดวยศีล สมาธิ ปญญา และไดเขาเฝาพระพุทธเจา

      ตนไมใหความชุมชื่นแกชีวต
                                 ิ
          นกตัวนิดใหเสียงเพลงแกโลกหลา
ดอกไมหอมใหความงามผานสายตา
           แมตนหญาก็ยงใหออกซิเจน
                             ั
      แลวตัวเราเกิดมาในโลกนี้
           ทําสิ่งดีอะไรใหโลกเห็น
           กินนอนเลนเทานั้นหรือทีจําเปน
                                         ่
           ไมดีเดนกวาบรรดาตนหญาเอย…
                      ใหรูไว เวลาวาง สรางประโยชน
                      รูคุณโทษ รูสังเกต รูเหตุผล
                      รูสังคม รูชีวิต รูคิดคน
                      รูจักตน ใหรรัก สามัคคีฯ
                                      ู
      เปนอนาคต ของชาติ ที่อาจหาญ
      เปนแรงตาน อธรรม ความกดขี่
      เปนผูทรง คุณคา ประเพณี
      ไมเปนที่      หนักใจ คนใกลชด ฯ    ิ
หมูนกจอง            มองเทาไร              ไมเห็นฟา
ถึงฝูงปลา             ก็ไมเห็น              น้ําเย็นใส
ไสเดือนมอง           ไมเห็นดิน             ที่กินไป
หนอนก็ไม             มองเห็นคูถ             ที่ดูดกิน
คนทั่วไป              ก็ไม                  มองเห็นโลก
ตองทุกขโศก          เศราจิต               เปนนิจสิน
สวนชาวพุทธ           ประพฤติธรรม ตามระบิล
เห็นหมดสิ้น           ทุกสิ่ง                ตามจริงเอย…
                          พุทธภาษิต
 
   
    

   

 



                

 

                

 

 
   

   พึงผู้อืน            พึงได้      แต่ ภายนอน
   ท่ านเพียงบอก        ชี บอก      หรื อพรําสอน
   ต้ องเพียรเอง        ทําเอง      ทุกขันตอน
   นีจึ งถอน            ตัวได้      ไม่ อับจน ฯ
งามผิวพรรณนอกนั้น                ผานวัย
งามอยูไมไมเทาไร              เปลี่ยนได
งามในเพราะ มีใจ                  ยึดสัตย ศีลแฮ
งามอยูดวยธรรมไซร                 แกแลว ยังงาม…
     
     
                     
อันทรัพยสินถิ่นฐานทั้งบานชอง    อีกเงินทองไรนามหาศาล
เปนสมบัติของตัวไดชั่วกาล         จะตองผานจากกันเมื่อวันตาย
สวนความดีมีความสัตยสมบัติแท    ถึงตัวแกกายดับไมลับหาย
จะสถิตติดแนนแทนรางกาย           ชนทังหลายสรรเสริญเจริญพร..
                                       ้

         เงินกับงานการศึกษาตองมากอน
             อยารีบรอนหารักมักจะเสีย
                            กมั
          ถาขาดเงินขาดงานพาลขาดเมีย
             งานไมเสียเมียก็มาเงินก็มี

* วิชาเปนอํานาจ มารยาทเปนเสนห
* โลกพินาศก็เพราะขาดเมตตา โลกโศกาก็เพราะมีเมตตาค้ําจุน
* นกไมมีขน คนไมมีความรู       จะขึ้นสูที่สูงไมได
* อยากเปนคนดังในอนาคต ตองเปนคนทรหดในปจจุบัน
* อดีตไมขยัน ปจจุบันไมขวนขวาย       ไมตองถามถึงอนาคต

                              

ผีที่หนึ่ง ชอบสุราเปนอาจินต ไมชอบกินขาวปลาเปนอาหาร
ผีที่สอง ชอบเที่ยวยามวิกาล ไมรักบานรักลูกรักเมียตน
ผีที่สาม   ชอบดูการละเลน       ไมละเวนบารคลับละครโขน
ผีที่สี่   คบคนชั่วมั่วกับโจร หนีไมพนอาญาตราแผนดิน
ผีที่หา   ชอบเลนมากีฬาบัตร สารพัดถั่วโปไฮโลสิ้น
ผีที่หก    ชอบเกียจครานการทํากิน มีทั้งสิ้น ๖ ผีอัปรียเอย

                  

 
 

 
 

 
 

 
 

 
 

 
 

 
 

 
 

 
 

    คนที่ไมเรียน        คือคนพาล
    คนไมทํางาน          คือคนรกโลก
    คนถือแตโชค          คือคนประมาท
                           อคนประมาท
    คนที่ฉลาด            คือคนรูจักสรางตนเอง

    อยากเห็นตองดู       อยากรูตองถาม
    อยากงามตองแตง      อยากแข็งแรงตองออกกําลังกาย
    อยากดังตองสงบ       อยากพบของจริงอยาทิ้งพระ

คนดีชอบแกไข       คนจัญไรชอบแกตัว
   คนชั่วชอบทําลาย    คนมักงายชอบทิ้ง
      คนจริงชอบทํา    คนระยําชอบติ


การจากไป     เปนนิยาม   ของความรัก
การอกหัก     เปนนิยาม   ของความหลง
การภักดี     เปนนิยาม   ของความมั่นคง
การซื่อตรง   เปนนิยาม   ของความศรัทธา
การรองไห   เปนนิยาม   ของความพายแพ
การปรวนแปร เปนนิยาม       ของความใฝหา
การปราชัย เปนนิยาม        ของน้ําตา
การจากลา เปนนิยาม         ของความจริง…




                       


                                   
                        
 
                            
 
                        
                 
          
                 
          
                        
                                 
                  
                         
                  
                       
                 
          
                 
         
                                                                        

                                 
 

        

        
  
 
 
       ชี วิตอนิจจัง
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
    
    

    
    
     
    
    
     
    
    
     
    
    
      
     
     
        
เปลี่ยนความราย         เปน   ความดี
เปลี่ยนความตระหนี่      เปน   เสียสละ
เปลี่ยนโลภะ             เปน   รูจักพอ
เปลี่ยนความหลง          เปน   ความรู (แจง)
เปลี่ยนความเห็นแกตัว   เปน   เห็นแกสวนรวม
เปลี่ยนความโกรธ         เปน   เมตตา
เปลี่ยนความริษยา        เปน   ยินดี
เปลี่ยนรังเกียจ          เปน   ใหเกียรติ
เปลี่ยนพยาบาท            เปน   อภัย
เปลี่ยนเหลวไหล           เปน   จริงจัง
เปลี่ยนอยากดัง           เปน   อยากดี
เปลี่ยนลําเอียง          เปน   เที่ยงธรรม
เปลี่ยนพูดมากกวาทํา เปน       ทํามากกวาพูด
เปลี่ยนแกแคน           เปน   แกไข
เปลี่ยนระเบียบวินัยไมมี เปน   มีระเบียบวินัย
เปลี่ยนทําลาย            เปน   สรางสรรค
เปลี่ยนกระดาง           เปน   ออนโยน
เปลี่ยนแตกแยก            เปน   รูรัก-สามัคคี
เปลี่ยนฟุงเฟอ          เปน   ประหยัด
เปลี่ยนประมาท            เปน   ระวัง
เปลี่ยนหวาดระแวง เปน           ไววางใจ
เปลี่ยนมักงาย           เปน   รอบคอบ
เปลี่ยนออนแอ            เปน   เขมแข็ง
เปลี่ยนขัดคอ             เปน   ขัดสี
เปลี่ยนขัดใจ             เปน   เขาใจ
เปลี่ยนเปราะบาง          เปน   หนักแนน
เปลี่ยนเกียจคราน
                าน       เปน   หนักเอาเบาสู
เปลี่ยนศัตรู             เปน   มิตร
เปลี่ยนนินทา             เปน   สรรเสริญ
เปลี่ยนนิ่งดูดาย         เปน   ขวนขวายชวยกัน
เปลี่ยนมองโลกแงราย เปน       มองโลกแงดี
                         ฯลฯ
กลอน
กลอน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่ง
Tongsamut vorasan
 
แหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรมแหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรม
Tongsamut vorasan
 
พระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมพระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวม
Wataustin Austin
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
Tongsamut vorasan
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
Kiat Chaloemkiat
 
คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์
PomPam Comsci
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
Kiat Chaloemkiat
 

Mais procurados (20)

แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่ง
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
 
แหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรมแหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรม
 
พระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมพระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวม
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
กลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญากลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญา
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
 

Destaque

5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
Tongsamut vorasan
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
Tongsamut vorasan
 
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้นกรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
Tongsamut vorasan
 
วิธีจองตั๋วเครื่องบิน โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร
วิธีจองตั๋วเครื่องบิน  โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโรวิธีจองตั๋วเครื่องบิน  โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร
วิธีจองตั๋วเครื่องบิน โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร
Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง มรรค
สุภีร์ ทุมทอง   มรรคสุภีร์ ทุมทอง   มรรค
สุภีร์ ทุมทอง มรรค
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง อริยสัจ
สุภีร์ ทุมทอง   อริยสัจสุภีร์ ทุมทอง   อริยสัจ
สุภีร์ ทุมทอง อริยสัจ
Tongsamut vorasan
 
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
Tongsamut vorasan
 
ตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูต
ตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูตตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูต
ตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูต
Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
Tongsamut vorasan
 
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
Tongsamut vorasan
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
Tongsamut vorasan
 
กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12
กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12
กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12
Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
Tongsamut vorasan
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
Tongsamut vorasan
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
Tongsamut vorasan
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
Tongsamut vorasan
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนี
Tongsamut vorasan
 

Destaque (20)

5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้นกรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
 
วิธีจองตั๋วเครื่องบิน โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร
วิธีจองตั๋วเครื่องบิน  โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโรวิธีจองตั๋วเครื่องบิน  โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร
วิธีจองตั๋วเครื่องบิน โดยพระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร
 
สุภีร์ ทุมทอง มรรค
สุภีร์ ทุมทอง   มรรคสุภีร์ ทุมทอง   มรรค
สุภีร์ ทุมทอง มรรค
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สุภีร์ ทุมทอง อริยสัจ
สุภีร์ ทุมทอง   อริยสัจสุภีร์ ทุมทอง   อริยสัจ
สุภีร์ ทุมทอง อริยสัจ
 
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
สดุดีสมเด็จพุทธชินวงศ์
 
ตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูต
ตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูตตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูต
ตัวอย่างแบบฟอร์ม หนังสือขอพระธรรมทูต
 
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘สุภีร์ ทุมทอง   อริยมรรค ๘
สุภีร์ ทุมทอง อริยมรรค ๘
 
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
6. ----------------- ---6
6. ----------------- ---66. ----------------- ---6
6. ----------------- ---6
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12
กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12
กลอนธรรมะ จาก พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 12
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนี
 

Semelhante a กลอน

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
Tongsamut vorasan
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
Achara Sritavarit
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
Tongsamut vorasan
 

Semelhante a กลอน (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
 
เสียดาย....
เสียดาย....เสียดาย....
เสียดาย....
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ประเพณีทำบุญตายาย
ประเพณีทำบุญตายายประเพณีทำบุญตายาย
ประเพณีทำบุญตายาย
 
Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 
โต้วาทีวันสามเณร
โต้วาทีวันสามเณรโต้วาทีวันสามเณร
โต้วาทีวันสามเณร
 
Lion
LionLion
Lion
 

Mais de Tongsamut vorasan

เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 

Mais de Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

กลอน

  • 1. หนานอก  บอกความสดใส หนาใน  บอกความดี หนาที่บอก  ความสามารถ อายุสั้น อายุยืน มีสาเหตุมาจากกรรมที่ทํามากอนและสภาพแวดลอมในปจจุบัน อาหาร ๓ มื้อที่พระพุทธเจาตรัสไว มื้อเชาบํารุงรางกาย มื้อกลางวันบํารุงสมอง มื้อค่ําบํารุงกาม  คําวา “ดา” กับ “ชี้ขุมทรัพย” เปนคําๆ เดียวกัน แตใชไมเหมือนกัน ถามีความปรารถนาดี เปนการชี้ขุมทรัพย ถามีความปรารถนาราย เปนการดา  ไดเงาอยาลืมรม ไดพรมอยาลืมเสือ ไดเสื้ออยาลืมใส ่ ไดกําไรจากการคาขาย ก็อยาลืมทําบุญ  จะทําบุญทุกครั้งใหอธิษฐานจิต จะทําบุญทุกชนิดใหตั้งจิตอธิษฐาน  ทําดีเอาไวใหลูก ทําถูกเอาไวใหหลาน ไมทําชั่วสามานยใหลูกหลานเห็น  ขอใหโชคดีมีชัยทั้งไปและกลับ โชคดีมีทรัพยทั้งกลับและไป  ใจจริงเขาถึงพระพุทธ ใจบริสุทธิ์เขาถึงพระธรรม ใจงามเขาถึงพระสงฆ ใจไมหลงเขาถึงนิพพาน  เราทําดีความดีไมหนีหาง ลิขิตทางเดินเองอยาเกรงกริง ่ ชีวิตนีมีคาหากทําจริง หากหยุดนิงก็คลายตายทั้งเปน ้ ่  วันไหนไหน ไมสําคัญ เทาวันนี้ เปนวันที่ ที่สําคัญ กวาวันไหน วันพรุงนี้ มะรืนนี้ ดีอยางไร ก็ยังไม สําคัญ เทาวันนี้  อยูอยางต่ํา ทําอยางสูง เปนลักษณะอยางหนึ่งของบัณฑิต ของดีจะมีอยูกับผูมบุญเทานัน เพราะของดียอมควรแกคนดี ี ้ หาควรแกคนชั่วไม  ความรักของผูหญิง ความสงสารมากอน ตามดวยความเห็นอก เห็นใจ และความรักเปนที่สุด
  • 2. สวนความรักของผูชาย ความใครมากอน ตามดวยความเห็นใจ  และความสงสาร อันเปนความรักที่สมบูรณ ชีวิตคูเสมือนหนึ่ง หนึ่งชีวิต แตสองหัวใจ หัวใจเดียวเรื่อง มากพอแลว ถาสองหัวใจมารวมกัน เทากับเพิ่มปญหาชีวิตขึ้นเปนสอง เทา จึงตองมีน้ํายามาประสานใจ นั่นคือ ทั้งสองฝายตองยึดหลัก ๔ อ. ในการครองเรือน คือ ๑. อดทน ๒. อภัย ๓. เอาใจ ๔.อดออม (๓ อ, แรกเปนเรื่องของคนคูที่จะตองปฏิบัติตอกัน สวน อ, ที่สี่ เปนเรื่องของการบริหารเศรษฐกิจภายใจครอบครัว)  คอยนึกถึงความผิด จะไดคิดแกไข คอยนึกถึงความดี จะไดมีกําลังใจ  ถาอยากรวย อยูอยางรวย ไมมีวันรวย ถากลัวจน อยูอยางจน ไมมีวันจน  * การทําความดี ใหความอิ่มใจในเบื้องหลัง ใหความสมหวังในเบื้องหนา * รักลูกใหถูกวิธี คือการทําดีใหลูกดู * การใหคือการไดมา เหมือนการออกกําลัง คือการไดกําลัง * ชายอกหัก เพราะรักสาวสวย หญิงอกหักเพราะรักหนุมรวย * วัน เวลา ทุกคนมีเทากัน แตคนขยันตื่นเชา ยอมไดเวลายาว กวา * การไมเอานั่นแหละ คือการใหอยูในตัว * ตราบใดยังมีลมหายใจ ตราบนั้นก็ยังมี ความหวัง * คนอัจฉริยะเรียนไดจากธรรมชาติ สวนคนฉลาดเรียนไดจากหนังสือ * จงเก็บเล็กผสมนอย ไมวาความรูหรือทรัพย * ที่ที่สงบ ยอมไมมีแกบุคคลผูมีจิตฟุงซาน มีจิตสงไปแลวในอารมณตาง ๆ  * บานไมมีบุตรสืบสกุล บอไมมีน้ํา ตนไมไมมียอด ปากไมมีสัจจะ ยอมเสื่อม
  • 3. * วัยหนึ่งไมเรียนรูวิชา วัยสองไมหาทรัพย วัยสามไมรักษาศีล วัยสี่จะทําอะไรได * คนที่พูดปดยอมไมมีใครเชื่อถือ เมื่อเขาพูดจริง * จงเปดใจใหกวาง ในการที่จะรับฟงคนอื่น ยอมไมเปน เปนใหญยาก * เงินเปนของมีคาสําหรับคนที่ใชเปน แต..จักไมมีคาสําหรับคนไมรูจักใช * จะดูหญิง ใหดูทความละอาย ี่ จะดูชาย ใหดูทความกลา ี่ หาญ  อยานอนตื่นสาย อยาอายทํากิน อยาหมิ่นเงินนอย อยาคอยวาสนา อยาเสวนาคนชั่ว อยามั่วอบายมุข อยาสุกกอนหาม อยาพลามกอนทํา อยารํากอนเพลง อยาขมเหงผูนอย อยาคอยแตประจบ อยาคบแตเศรษฐี อยาดีแตตัว อยาชั่วแตคนอืน ่ อยาฝาฝนกฎระเบียบ อยาเอาเปรียบสังคม
  • 4. อยาชืนชมคนผิด อยาคิดเอาแตได ่ อยาใสรายคนดี อยากลาววจีมุสา อยานินทาพระเจา อยาขลาดเขลาเมื่อทุกข อยาสุขจนลืมตัว อยาเกรงกลัวงานหนัก อยาพิทักษพาลชน อยาลืมตนเมือมั่งมี ฯ ่ มงคลธรรม ถาทานทําตัวแขงกับสังคม ทางแหงความลมจมกําลังจะตามมา ถาทานทํางานเห็นแกหนา ทานจะพบกับปญหาเรือยไป ่ ถาทานทําตัวเห็นแกได ทานอยาหวังน้ําใจจากเพือนฝูง ่ ถาทานกลัวจนเกินไป ทานจะทําอะไรไมไดความ ถาทานกลาจนเกินงาม ทานจะพบกับความเดือดรอน
  • 5. ถาทานขาดความพอดี ทานจะเปนหนี้เขาตลอดกาล ถาทานหวังแตความสนุก ทานจะทุกขมหาศาล ถาทานขาดความยั้งคิด ชีวิตทั้งชีวิตจะหมดความหมาย ถาทานทําใจใหสงบ ทานจะพบกับความสุขที่เยือกเย็น ฯ คนจะดีนี้ตองฝกและศึกษา กายวาจาตองอบรมบมนิสัย ตองฝกกันใหแนนหนักเปนหลักชัย ชนะภัยสาระพัดสวัสดี ฯ คนจะดีบางทีตองมีเพือน  ่ ชวยตักเตือนเงื่อนงําตามวิสัย แตบางทีเพื่อนนี้ก็เปนภัย เปนปจจัยใหเราตองเผาเรือน ฯ มีศีลธรรมนําเราใหเรืองรุง มีศีลธรรมสิ่งที่มุงยอมไดสม มีศีลธรรมนําใหสลายอารมณ มีศีลธรรมคนนิยมทั่วแผนดิน ฯ คนจะดี ก็เพราะมี ดีอยูดวย 
  • 6. ดีไมชวย คนจะดี ไดที่ไหน ดีในคน จําตองปน กับคนไป ดีแตตน คนไมใช ก็ชวดดี ฯ ชีวิตเรา เราลิขิต มิตรชายหญิง ทุกๆ สิ่ง เราทํากรรม กรรมสนอง จะชั่วดี มีหรือจน ตนครอบครอง ทุกคนตอง รับผลกรรม ที่ทําเอง ฯ *ลูกลืมพอแม กระแตลืมปา หมาลืมเจาของ อยาเขาใกล* บทสวดมนตไหวพระกอนนอน คําบูชาพระรัตนตรัย (กราบ ๓ ครั้ง แลวกลาววา)
  • 7. ๑. อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อภิปูชยามิ อิมินา สักกาเรนะ ตัง ธัมมัง อภิปูชยามิ อิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อภิปูชยามิ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ, (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะโต ธัมโม ธัมมัง นมัสสามิ, (กราบ) สุปฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ) มัยหัง มาตาปตูนังวะ ปาเท วันทามิ สาทะรัง (กราบ) ปญญาวุฑฒิกะเร เต เต ทินโนวาเท นะมามิหัง (กราบ) ๒. นะโม ตัสสะ……….(๓ จบ) ๓. พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ…...ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ๔. อิติป โส ภะคะวา……....สวากขาโต……....สุปฏิปนโน ๕. กรวดน้ํา อิมินา………. ๖. นั่งสมาธิ ๑๐ นาที หรือมากกวานั้น ตามสมควร ๗. แผสวนกุศล แผเมตตา ๘. กราบ ๓ ครั้ง ตั้งใจนอนหลับดวยความมีสติ ประโยชนของการสวดมนต ๑. ทําใหอานหนังสือคลอง ออกเสียงไดถูกตอง สมองไดรับการพัฒนา ๒. ขับไลความเกียจคราน จิตใจแชมชื่นเบิกบาน ๓. ตัดความเห็นแกตัวได เพราะโลภะ โทสะ โมหะ ไมเกิด ขณะสวดมนต ๔. จิตเยือกเย็นเปนสมาธิ ไมฟุงซาน ๕. ไดปญญารูหลักคําสอนของพระพุทธเจา ๖. ถึงพรอมดวยศีล สมาธิ ปญญา และไดเขาเฝาพระพุทธเจา ตนไมใหความชุมชื่นแกชีวต ิ นกตัวนิดใหเสียงเพลงแกโลกหลา
  • 8. ดอกไมหอมใหความงามผานสายตา แมตนหญาก็ยงใหออกซิเจน ั แลวตัวเราเกิดมาในโลกนี้ ทําสิ่งดีอะไรใหโลกเห็น กินนอนเลนเทานั้นหรือทีจําเปน ่ ไมดีเดนกวาบรรดาตนหญาเอย… ใหรูไว เวลาวาง สรางประโยชน รูคุณโทษ รูสังเกต รูเหตุผล รูสังคม รูชีวิต รูคิดคน รูจักตน ใหรรัก สามัคคีฯ ู เปนอนาคต ของชาติ ที่อาจหาญ เปนแรงตาน อธรรม ความกดขี่ เปนผูทรง คุณคา ประเพณี ไมเปนที่ หนักใจ คนใกลชด ฯ ิ หมูนกจอง มองเทาไร ไมเห็นฟา ถึงฝูงปลา ก็ไมเห็น น้ําเย็นใส ไสเดือนมอง ไมเห็นดิน ที่กินไป หนอนก็ไม มองเห็นคูถ ที่ดูดกิน คนทั่วไป ก็ไม มองเห็นโลก ตองทุกขโศก เศราจิต เปนนิจสิน สวนชาวพุทธ ประพฤติธรรม ตามระบิล เห็นหมดสิ้น ทุกสิ่ง ตามจริงเอย… พุทธภาษิต
  • 9.                             พึงผู้อืน พึงได้ แต่ ภายนอน ท่ านเพียงบอก ชี บอก หรื อพรําสอน ต้ องเพียรเอง ทําเอง ทุกขันตอน นีจึ งถอน ตัวได้ ไม่ อับจน ฯ งามผิวพรรณนอกนั้น ผานวัย งามอยูไมไมเทาไร เปลี่ยนได งามในเพราะ มีใจ ยึดสัตย ศีลแฮ
  • 10. งามอยูดวยธรรมไซร แกแลว ยังงาม…    อันทรัพยสินถิ่นฐานทั้งบานชอง อีกเงินทองไรนามหาศาล เปนสมบัติของตัวไดชั่วกาล จะตองผานจากกันเมื่อวันตาย สวนความดีมีความสัตยสมบัติแท ถึงตัวแกกายดับไมลับหาย จะสถิตติดแนนแทนรางกาย ชนทังหลายสรรเสริญเจริญพร.. ้ เงินกับงานการศึกษาตองมากอน อยารีบรอนหารักมักจะเสีย กมั ถาขาดเงินขาดงานพาลขาดเมีย งานไมเสียเมียก็มาเงินก็มี * วิชาเปนอํานาจ มารยาทเปนเสนห * โลกพินาศก็เพราะขาดเมตตา โลกโศกาก็เพราะมีเมตตาค้ําจุน * นกไมมีขน คนไมมีความรู จะขึ้นสูที่สูงไมได * อยากเปนคนดังในอนาคต ตองเปนคนทรหดในปจจุบัน * อดีตไมขยัน ปจจุบันไมขวนขวาย ไมตองถามถึงอนาคต  ผีที่หนึ่ง ชอบสุราเปนอาจินต ไมชอบกินขาวปลาเปนอาหาร ผีที่สอง ชอบเที่ยวยามวิกาล ไมรักบานรักลูกรักเมียตน
  • 11. ผีที่สาม ชอบดูการละเลน ไมละเวนบารคลับละครโขน ผีที่สี่ คบคนชั่วมั่วกับโจร หนีไมพนอาญาตราแผนดิน ผีที่หา ชอบเลนมากีฬาบัตร สารพัดถั่วโปไฮโลสิ้น ผีที่หก ชอบเกียจครานการทํากิน มีทั้งสิ้น ๖ ผีอัปรียเอย                      
  • 12.       คนที่ไมเรียน คือคนพาล คนไมทํางาน คือคนรกโลก คนถือแตโชค คือคนประมาท อคนประมาท คนที่ฉลาด คือคนรูจักสรางตนเอง อยากเห็นตองดู อยากรูตองถาม อยากงามตองแตง อยากแข็งแรงตองออกกําลังกาย อยากดังตองสงบ อยากพบของจริงอยาทิ้งพระ คนดีชอบแกไข คนจัญไรชอบแกตัว คนชั่วชอบทําลาย คนมักงายชอบทิ้ง คนจริงชอบทํา คนระยําชอบติ การจากไป เปนนิยาม ของความรัก การอกหัก เปนนิยาม ของความหลง การภักดี เปนนิยาม ของความมั่นคง การซื่อตรง เปนนิยาม ของความศรัทธา การรองไห เปนนิยาม ของความพายแพ
  • 13. การปรวนแปร เปนนิยาม ของความใฝหา การปราชัย เปนนิยาม ของน้ําตา การจากลา เปนนิยาม ของความจริง… 
  • 14.                                             
  • 15.                ชี วิตอนิจจัง               
  • 16.                 เปลี่ยนความราย เปน ความดี เปลี่ยนความตระหนี่ เปน เสียสละ เปลี่ยนโลภะ เปน รูจักพอ เปลี่ยนความหลง เปน ความรู (แจง) เปลี่ยนความเห็นแกตัว เปน เห็นแกสวนรวม เปลี่ยนความโกรธ เปน เมตตา เปลี่ยนความริษยา เปน ยินดี
  • 17. เปลี่ยนรังเกียจ เปน ใหเกียรติ เปลี่ยนพยาบาท เปน อภัย เปลี่ยนเหลวไหล เปน จริงจัง เปลี่ยนอยากดัง เปน อยากดี เปลี่ยนลําเอียง เปน เที่ยงธรรม เปลี่ยนพูดมากกวาทํา เปน ทํามากกวาพูด เปลี่ยนแกแคน เปน แกไข เปลี่ยนระเบียบวินัยไมมี เปน มีระเบียบวินัย เปลี่ยนทําลาย เปน สรางสรรค เปลี่ยนกระดาง เปน ออนโยน เปลี่ยนแตกแยก เปน รูรัก-สามัคคี เปลี่ยนฟุงเฟอ เปน ประหยัด เปลี่ยนประมาท เปน ระวัง เปลี่ยนหวาดระแวง เปน ไววางใจ เปลี่ยนมักงาย เปน รอบคอบ เปลี่ยนออนแอ เปน เขมแข็ง เปลี่ยนขัดคอ เปน ขัดสี เปลี่ยนขัดใจ เปน เขาใจ เปลี่ยนเปราะบาง เปน หนักแนน เปลี่ยนเกียจคราน าน เปน หนักเอาเบาสู เปลี่ยนศัตรู เปน มิตร เปลี่ยนนินทา เปน สรรเสริญ เปลี่ยนนิ่งดูดาย เปน ขวนขวายชวยกัน เปลี่ยนมองโลกแงราย เปน มองโลกแงดี ฯลฯ