SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
กิจกรรมทางกาย

(Physical Activity)
กิจกรรมทางกายถือเปนรากฐานสําคัญของชีวิต กิจกรรมทางกายทําให
รางกายมีการทํางานเพิ่มขึ้น เชน การทํางานเพิ่มขึ้นของระบบกลามเนื้อและระบบ
หัวใจและหายใจ การทํางานเพิมขึนของรางกายมีขอดีคอชวยเพิมประสิทธิภาพการ
่ ้
 ื
่
ทํางานของรางกาย หรือสมรรถภาพทางกายใหสงขึน ขณะทีการขาดการมีกจกรรม
ู ้
่
ิ
ทางกาย เชน การนัง ๆ นอน ๆ ถือเปนความสบายทีมผลลดประสิทธิภาพการทํางาน
่
่ี
ของรางกาย กิจกรรมทางกายจึงถือเปนปจจัยสําคัญของการมีสขภาพหรือคุณภาพ
ุ
ชีวิตที่ดีของบุคคล โดยเฉพาะการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน การมีกิจกรรมทาง
กายอยางเพียงพอเหมาะสม ถือเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งตอการมีสภาวะสุขภาพที่ดี
การศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย สมรรถภาพทางกาย และ
สุขภาพ จึงถือเปนสิ่งจําเปนที่บุคคลควรใหความสําคัญ เพื่อที่จะไดนําไปปฏิบัติ
อยางถูกตองเหมาะสมกอใหเกิดประโยชนทางสุขภาพตอไป

คํานิยามของกิจกรรมทางกาย (Physical Activity Definition)
กิจกรรมทางกาย หมายถึง การเคลื่อนไหวของรางกายทุกรูปแบบที่เกิด
จากการหดตัวของกลามเนือและทําใหรางกายมีการใชพลังงานเพิมขึนจากขณะพัก1
้

่ ้
กิจกรรมทางกายจึงมีความสัมพันธกับสุขภาพ นั้นคือ ถามีกิจกรรมทางกายอยาง
เพียงพอจะมีผลดีตอสุขภาพ แตถาขาดการมีกิจกรรมทางกายอยางเพียงพอจะมี
ผลเสียตอสุขภาพ
กิจกรรมทางกายสามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมทางกาย
ในชีวิตประจําวัน (daily-routine physical activity) และกิจกรรมทางกายใน
ยามวาง (leisure-time physical activity) กิจกรรมทางกายในชีวตประจําวัน เชน
ิ
การทํางานบาน การเดินทาง และการประกอบอาชีพ ถามีการปฏิบตอยางเพียงพอ
ัิ
ก็จะมีผลดีตอสุขภาพ ถึงแมวาจะเปนผูท่ีขาดการมีกิจกรรมทางกายในยามวาง
การทํางานบานเปนประจํา การเดินทางดวยเทา หรือการมีกิจกรรมทางกายเปน
สวนใหญในประกอบอาชีพแตละวันก็อาจจะชวยรักษาระดับสภาวะสุขภาพที่ดีให
คงอยูได
กิจกรรมทางกายในยามวาง ไดแก การเลน (play) การออกกําลังกาย
(exercise) และกีฬา (sport) เปนกิจกรรมที่มีความสัมพันธคอนขางสูงกับสภาวะ
สุขภาพ โดยการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา จะมีความแตกตางกันตาม
ความหนัก (intensity) ระยะเวลาของกิจกรรม (duration) และระดับของการ
แขงขัน (competition levels) การเลนเปนกิจกรรมทางกายที่มีระดับการแขงขัน
นอยกวาการออกกําลังกาย และการออกกําลังกายมีระดับการแขงขันนอยกวากีฬา
โดยปกติการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา จะเปนกิจกรรมทางกาย
ที่มีความหนัก ระยะเวลาที่แนนอน และการแขงขันมากกวากิจกรรมทางกาย
ที่ปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ดังนั้น กิจกรรมทางกายในยามวางจึงถือเปนกิจกรรม
ทางกายที่มีความสัมพันธกับสุขภาพมากกวากิจกรรมทางกายในชีวิตประจําวัน

คํานิยามของการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา (Play, Exercise and
Sport Definitions)

การเล น หมายถึ ง กิ จ กรรมทางกายที่ มี ค วามสนุ ก สนานและความ
เพลิดเพลิน การออกกําลังกาย หมายถึง กิจกรรมทางกายที่ปฏิบัติเพื่อสุขภาพ
โดยตรง เชน การเดิน การวิ่งเหยาะ และรวมถึงการเลนและกีฬาเพื่อสุขภาพ
ขณะทีกฬา หมายถึง กิจกรรมทางกายทีเ่ นนการแขงขัน มุงชัยชนะ และการพัฒนา
่ี

ความสามารถทางการกีฬา
บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)

2
การเลน (Play)
การเลนเปนกิจกรรมทางกายที่มีคุณลักษณะสําคัญคือ ผูปฏิบัติเขารวม
ี
โดยสมัครใจ มีอสระ มีความสนุกสนาน และมีการแขงขันนอย2 แตการเลนก็มการ
ิ
ออกกําลังกายและกีฬาผสมอยูดวย เชน เด็กเลนเกมวิงเปรียวจะมีความสนุกสนาน

่ ้
มีการแขงขัน และมีผลดีตอสุขภาพถาปฏิบัติเปนประจํา เชนเดียวกันการออก
กําลังกายและกีฬาก็มีการเลนผสมอยูดวยเชนกัน แตในกีฬาจะมีคุณลักษณะของ
การเลนผสมอยูคอนขางนอย3 (รูปที่ 1.1)
ความหนัก

ตํ่า

ปานกลาง

สูง

กิจกรรม

เลน

ออกกําลังกาย

กีฬา (การฝก)

ความสนุกสนาน

สุขภาพ

ความสามารถทางการกีฬา

จุดมุงหมาย

รูปที่ 1.1 การแบงกิจกรรมทางกายตามระดับความหนัก
และจุดมุงหมายของแตละกิจกรรม
การออกกําลังกาย (Exercise)
การออกกําลังกายเปนกิจกรรมทางกายที่มีคุณลักษณะสําคัญคือ มี
แบบแผน มีระบบ และมีการปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ เพื่อปรับปรุงหรือคงรักษา
สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) อยางใดอยางหนึ่ง3 การออกกําลังกาย
คอนขางมีรปแบบและระดับการแขงขันมากกวาการเลนแตนอยกวากีฬา ผูออกกําลัง
ู


กายไมจําเปนตองมีผูฝกสอนคอยใหคําแนะนําหรือแนวทางเปนประจํา มีอิสระใน
การเลือกปฏิบัติตามที่ตนเองปรารถนา คุณลักษณะสําคัญอยางหนึ่งของการออก
กําลังกายคือ ผูออกกําลังกายสามารถเลือกทําในสิ่งที่ตนเองรูสึกดีหรือพึงพอใจ
และสามารถมุงความสนใจอยูที่ความสนุกสนานของการเคลื่อนไหว แตรางกายจะ
กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness)

3
ตองมีการออกแรงระดับหนึง มีการออกแรงมากกวาการเลนหรือการทํางานในชีวต
่
ิ
ประจําวัน และมีแนวทางการปฏิบัติเพื่อที่จะบรรลุเปาหมาย เชน มีการออกแบบ
โปรแกรมทีมความเฉพาะเจาะจง เชน การลดนําหนัก การเพิมสมรรถภาพของระบบ
่ี
้
่
หัวใจและหลอดเลือด การปรับสภาพอารมณ และการลดความเครียด

กิจกรรมทางกายถือเปนรากฐานสําคัญของชีวิต
กีฬา (Sport)
กีฬาเปนกิจกรรมทางกายที่มีคุณลักษณะสําคัญคือ ตองใชทักษะและ
มีการแขงขันสูง มีความเฉพาะเจาะจงมากกวาการออกกําลังกาย ตองการระดับ
สมรรถภาพทางกาย ทักษะการเคลื่อนไหว การแขงขัน และชัยชนะ มีรูปแบบ
กฎกติกาชัดเจน ตองการผูฝกสอน ยุทธวิธี และคูแขงขัน ผลของกีฬาคือชนะหรือ
แพ การแขงขันและชัยชนะถือเปนเปาหมายสําคัญของกีฬา การจะใหไดมาซึ่ง
ชัยชนะ นักกีฬาตองมีการฝกซอมพัฒนาทักษะ รางกาย และจิตใจของตน อยางไร
ก็ตาม กีฬาก็มการเลนผสมอยูดวย ตามทฤษฎี บุคคลเริมเลนกีฬาไมใชเพราะรางวัล
ี

่
ภายนอก (extrinsic reward) แตเปนเพราะความรูสึกพึงพอใจภายใน (intrinsic
pleasure)4 เชน เพื่อพัฒนาทักษะ สนุกกับการเคลื่อนไหว ความทาทาย และ
ปฏิสัมพันธทางสังคม อยางไรก็ตาม กีฬามีการเลนผสมอยูนอย และนักกีฬาสวน
บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)

4
ใหญจะสูญเสียคุณลักษณะของการเลน เชน ความมีอิสระ ความสนุกสนาน เมื่อ
เขาสูกระบวนการฝกกีฬา ซึ่งถือเปนเรื่องปกติที่นักกีฬาจะไมสามารถรักษาความ
สนุกสนานไวไดเมือมีการฝกซอมหรือการแขงขันกีฬา การใหความสําคัญกับผลการ
่
้
แขงขันมีผลลดความสนุกสนานในการเลนกีฬา นอกจากนันกีฬายังมีการออกกําลัง
กายผสมอยูดวย การฝกกีฬาถือเปนการออกกําลังกาย แตดวยคุณลักษณะของกีฬา


ทีมงพัฒนาความสามารถสูงสุดทางการกีฬา (sport performance) การออกกําลัง
่ ุ
กายในกีฬาจึงเปลี่ยนเปนการฝก (training) เนื่องจากการฝกมีเปาหมายเฉพาะ
ตองการทักษะ ความรู ความเชี่ยวชาญ และมีความหนักสูงมากกวาการออก
กําลังกาย

ความสัมพันธระหวางการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา (Play, Exercise
and Sport Correlations)
การเลน การออกกําลังกาย และกีฬา ถึงจะมีความแตกตางกันแตก็มี
ความสัมพันธกน (รูปที่ 1.2) การเลนเปนศิลปะ การออกกําลังกายเปนวิทยาศาสตร
ั
ขณะทีกฬาเปนทังศิลปะและวิทยาศาสตร5 การเลนมีการแขงขันนอย เปนกิจกรรม
่ี
้
ตามธรรมชาติ มีกฎกติกานอย มีความสนุกสนาน และมีคุณลักษณะของการออก
กําลังกายผสมอยูดวย การออกกําลังกายมีเปาหมาย มีรูปแบบมากกวาการเลน
มีความสัมพันธกบสุขภาพ ความเครียด และสมรรถภาพทางกาย มีคณลักษณะของ
ั
ุ
การเลนผสมอยู แตจะไมมคณลักษณะของกีฬาผสมอยู และเปนคุณลักษณะสําคัญ
ีุ
ประการหนึ่งในกีฬา ขณะที่กีฬามีการแขงขันสูง ตองมีการฝกเพื่อพัฒนาทักษะ
รางกาย และจิตใจ และหวังผลทางดานชัยชนะเปนสําคัญ และมีคุณลักษณะของ
การออกกําลังกายผสมอยูดวย

กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness)

5
รูปที่ 1.2 ตัวอยางกิจกรรมทางกายตามคุณลักษณะของการเลน
การออกกําลังกายและกีฬา

กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ (Physical Activity for Health)
บุคคลสามารถใชการเลนและกีฬาเปนกิจกรรมทางกายเพือพัฒนาสุขภาพ
่
ได แมวาธรรมชาติของการเลนและกีฬาจะไมไดมคณลักษณะสําคัญเพือการพัฒนา

ีุ
่
สุขภาพ แตเมื่อใชการเลนเปนกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ (เลนเพื่อสุขภาพ) การ
เลนจะเปลียนคุณสมบัตเิ ปนการออกกําลังกาย เชน มีการลดลงของความสนุกสนาน
่
ทํานองเดียวกัน เมือใชกฬาเปนกิจกรรมทางกายเพือสุขภาพ (กีฬาเพือสุขภาพ) กีฬา
่ ี
่
่
ก็จะเปลี่ยนคุณสมบัติเปนการออกกําลังกาย เชน มีการลดลงของการแขงขันหรือ
การมุงผลแพชนะ ถึงกระนันก็ตาม เมือใชการเลนเปนกิจกรรมทางกายเพือสุขภาพ

้
่
่
การปฏิบัติที่ดีควรมีการรักษาสมดุลระหวางคุณลักษณะของการเลนและการออก
กําลังกายใหเหมาะสม คือคงความสนุกสนานของการเลนและก็กอใหเกิดประโยชน

ตอสุขภาพ เชนเดียวกัน เมื่อใชกีฬาเปนกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ การปฏิบัติ
ที่ดีควรมีการรักษาสมดุลระหวางคุณลักษณะของกีฬาและการออกกําลังกายให
เหมาะสม คือลดความสําคัญของการแขงขันหรือชัยชนะลงและกอใหเกิดประโยชน
ตอสุขภาพ แตถาจะใหดทสดสําหรับการมีกจกรรมทางกายเพือสุขภาพ (ออกกําลัง

ี ี่ ุ
ิ
่
บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)

6
กายเพื่อสุขภาพ) การปฏิบัติที่ดีควรมีการรักษาสมดุลของคุณลักษณะของการเลน
การออกกําลังกาย และกีฬาไวดวยกัน กลาวคือ เปนกิจกรรมที่มีความสนุกสนาน
มีการแขงขันเล็กนอย และเกิดประโยชนตอสุขภาพ ซึ่งจะถือเปนหลักสําคัญของ
การจัดกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ

กิจกรรมทางกายและการออกกําลังกาย (Physical Activity and Exercise)
เนื่องจากการออกกําลังกายมีคุณลักษณะสําคัญคือ การพัฒนาสุขภาพ
เมือกลาวถึงสุขภาพบุคคลจึงมักจะนึกถึงการออกกําลังกายมากกวาการเลนและกีฬา
่
คําวา “การออกกําลังกาย” จึงมักถูกใชแทนคําวา “กิจกรรมทางกาย” เมือกลาวถึง
่
สุขภาพ อยางไรก็ตาม การมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจําวันอยางเพียงพอก็จะ
มีผลดีตอสภาวะสุขภาพ เชนเดียวกับการเลนและกีฬาที่สามารถใชเปนกิจกรรม
เพื่อพัฒนาสุขภาพได ดังนั้น คําวา “กิจกรรมทางกาย” และ “การออกกําลังกาย”
บอยครั้งจะถูกใชแทนกัน (interchangeable) เชนเดียวกับหนังสือเลมนี้ บางครั้ง
ผูเขียนจะใชคําวากิจกรรมทางกาย ซึ่งจะสื่อในภาพกวางถึงกิจกรรมทางกายทุก
รูปแบบทั้งในชีวิตประจําวันและในยามวาง เชนใชคําวา “กิจกรรมทางกายมีผลดี
ตอสุขภาพ” แทนที่จะกลาววา “การออกกําลังกายมีผลดีตอสุขภาพ” ซึ่งก็สามารถ
กลาวไดเชนกัน เพียงแตวาการออกกําลังกายไมครอบคลุมกิจกรรมทางกายในชีวต

ิ
ประจําวัน การเลน และกีฬา ซึ่งก็มีผลดีตอสุขภาพเชนกัน การใชคําวา “การออก
กําลังกายมีผลดีตอสุขภาพ” จึงอาจจะไมครอบคลุมเทากับการใชคําวา “กิจกรรม
ทางกายมีผลดีตอสุขภาพ” ซึ่งครอบคลุมมากกวา
ตรงกันขาม ในบางครังผูเ ขียนจะใชคาวาการออกกําลังกายเพราะตองการ
้
ํ
กลาวถึงเฉพาะการออกกําลังกาย เชน “การออกกําลังกายชวยเพิ่มความแข็งแรง
ของกลามเนือ” แทนทีจะกลาววา “กิจกรรมทางกายชวยเพิมความแข็งแรงของกลาม
้
่
่
เนื้อ” ซึ่งก็สามารถกลาวไดเชนกัน เพียงแตวากิจกรรมทางกายบางอยาง เชน การ
ทํางานบาน อาจจะไมสามารถเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อได เนื่องจากมี
กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness)

7
ความหนักคอนขางตํ่า การใชคําวา “การออกกําลังกาย” จึงมีความเฉพาะและ
นาจะสือไดเหมาะสมมากกวา ดังนัน ในหนังสือเลมนี้ คําวา “กิจกรรมทางกาย” จะ
่
้
สือครอบคลุมถึงกิจกรรมทางกายในชีวตประจําวันและกิจกรรมทางกายในยามวาง
่
ิ
(การเลน การออกกําลังกาย และกีฬา) ขณะที่คําวา “การออกกําลังกาย” จะสื่อ
เฉพาะถึงการออกกําลังกาย

สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness)
สมรรถภาพทางกาย หมายถึง การมีสภาพสรีรวิทยาที่ชวยใหบุคคล
สามารถประกอบกิจกรรมในชีวตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือการมีสภาพ
ิ
สรีรวิทยาพื้นฐานสําหรับการมีความสมบูรณทางการกีฬา หรือทั้ง 2 อยาง6 ดวย
ความหมายดังกลาว สมรรถภาพทางกายจึงถูกแบงออกเปนสมรรถภาพที่สัมพันธ
กับสุขภาพ (health-related fitness) ซึ่งมีความสัมพันธกับการมีสุขภาพที่ดี และ
สมรรถภาพที่สัมพันธกับทักษะกีฬา (skill-related fitness) ซึ่งมีความสัมพันธกับ
การมีความสามารถทางการกีฬา
สมรรถภาพทีสมพันธกบสุขภาพ ประกอบดวยความอดทนของระบบหัวใจ
่ั
ั
และหลอดเลือด (cardiovascular endurance) คือ ความสามารถของระบบไหล
เวียนและระบบหายใจในการนําออกซิเจนไปใชขณะมีกิจกรรมทางกาย ความ
แข็งแรงของกลามเนื้อ (muscular strength) คือ ความสามารถของกลามเนื้อที่
จะออกแรงเอาชนะแรงตานทาน ความอดทนของกลามเนือ (muscular endurance)
้
คือ ความสามารถของกลามเนือทีจะออกแรงทํางานอยางตอเนืองโดยไมเกิดความ
้ ่
่
เมื่อยลา ความออนตัว (flexibility) คือ ชวงการเคลื่อนไหวของขอตอ และสัดสวน
ของรางกาย (body composition) คือ ปริมาณสัมพัทธของกลามเนือ ไขมัน กระดูก
้
และอวัยวะสวนอื่น ๆ ของรางกาย7

บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)

8
สมรรถภาพทีสมพันธกบทักษะกีฬา ประกอบดวยเวลาปฏิกรยา (reaction
่ั
ั
ิิ
time) คือ ระยะเวลาระหวางการกระตุนและการเริ่มมีปฏิกิริยาตอการกระตุน
ความเร็ว (speed) คือ ความสามารถในการเคลื่อนไหวภายในระยะเวลาอันสั้น
พลัง (power) คือ ความสามารถหรืออัตราการทํางาน ความวองไว (agility) คือ
ความสามารถในการเปลี่ยนตําแหนงของรางกายไดอยางรวดเร็วและแมนยํา
ความสัมพันธระหวางระบบประสาทและกลามเนื้อ (coordination) คือ ความ
สามารถในการใชระบบประสาทสัมผัส (sense) เชน การมองเห็นและการไดยิน
รวมดวยการเคลื่อนไหวของรางกายในการทํางานใหไดอยางมีประสิทธิภาพและ
แมนยํา และการทรงตัว (balance) คือ การรักษาสมดุลของรางกายขณะอยูกับที่
หรือมีการเคลื่อนที7
่

สุขภาพ (Health)
ตามธรรมนูญขององคการอนามัยโลก (World Health Organization)
สุขภาพ หมายถึง การมีความสมบูรณของรางกาย จิตใจ รวมถึงการดํารงชีวิตอยู
ในสังคมไดอยางเปนปกติสุข ปราศจากโรคและทุพพลภาพ และมีสุขภาวะทางจิต
วิญญาณ (spiritual well-being)8 ถาบุคคลเปนผูมความสมบูรณขององคประกอบ
ี
ของสุขภาพดังกลาวก็จะถือวาเปนผูมสขภาวะ (well-being) หรือมีความสุข มีปจจัย
ีุ

หลายประการทีมอทธิพลตอการเปนผูมสขภาวะ เชน สถานะทางสังคม และสภาพ
่ีิ
ีุ
สิ่งแวดลอมที่อยูอาศัย แตดูเหมือนวาตัวบุคคลจะถือเปนตัวกําหนดที่สําคัญตอ
การมีสุขภาวะ ขณะเดียวกันการมีกิจกรรมทางกายอยางเพียงพอก็เปนผลดี
ตอสภาพรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม (ขาดแตการวิจัยที่แสดงถึงผลของ
กิจกรรมทางกายทีมตอสุขภาวะทางจิตวิญญาณ) ดังนัน กิจกรรมทางกายจึงถือเปน
่ี
้
องคประกอบสําคัญตอการมีสุขภาวะของบุคคล9

กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness)

9
ความสัมพันธของกิจกรรมทางกาย สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพ
(Physical Activity, Physical Fitness and Health Correlations)
กิจกรรมทางกาย (physical activity) สมรรถภาพทางกาย (physical
fitness) และสุขภาพ (health) มีความสัมพันธกันเชิงบวก คือ การมีกิจกรรมทาง
กายเพิมระดับสมรรถภาพทางกายและเปนผลดีตอสุขภาพ ขณะทีการขาดกิจกรรม
่

่
ทางกายลดระดับสมรรถภาพทางกายและมีผลเสียตอสุขภาพ โดยการเพิมขึนและ
่ ้
ลดลงของสมรรถภาพทางกายจะขึ้นอยูกับกิจกรรมทางกายเปนหลัก ถึงแมวา
พันธุกรรมจะมีผลตอการเพิ่มขึ้นและลดลงของสมรรถภาพทางกาย แตก็มีผลนอย
กวากิจกรรมทางกาย10 การเพิ่มกิจกรรมทางกายจะเปนผลใหมีการเพิ่มขึ้นของ
สมรรถภาพทางกาย ถึงแมวาการเพิ่มขึ้นจะมีความแตกตางกันตามตัวบุคคลซึ่งถูก
ควบคุมโดยลักษณะทางพันธุกรรม11 ดังนัน การเพิมขึนของระดับสมรรถภาพทาง
้
่ ้
กายจึงสามารถใชเปนตัวชี้วัดระดับการมีกิจกรรมทางกายของบุคคลได12 ทํานอง
เดียวกัน การมีกิจกรรมทางกายก็สามารถใชเปนตัวชี้วัดระดับสมรรถภาพทางกาย
ของบุคคลได และทั้งกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพทางกายสามารถใชเปนตัว
ทํานายสภาวะสุขภาพได13 แตสมรรถภาพทางกายจะเปนตัวทํานายสภาวะสุขภาพ
ไดดีกวากิจกรรมทางกาย11-13

ระดับกิจกรรมทางกายของคนไทย (Physical Activity Levels of Thais)
มีการรายงานวาประชากรในโลกอยางนอยรอยละ 70 เปนผูขาดการ
มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอตอประโยชนทางสุขภาพ14 การสํารวจในประเทศ
แคนาดาและสหรัฐอเมริการายงานวา มีเพียงรอยละ 50 ของประชากรทีมกจกรรม
่ีิ
ทางกายเพียงพอตอการเกิดประโยชนทางสุขภาพ15-16 ขณะที่การศึกษาโดยใช
การวัดระดับกิจกรรมทางกายโดยตรง (objective measure) พบวา คนแคนาดา
เพียงรอยละ 15 เทานั้นที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอตอประโยชนทางสุขภาพ17
การมี กิ จ กรรมทางกายในชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ เ พี ย งพอต อ ประโยชน ท างสุ ข ภาพ
บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)

10

Mais conteúdo relacionado

Destaque

อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1Utai Sukviwatsirikul
 
1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_training1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_trainingmcorbett81
 
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...CIFOR-ICRAF
 
Scapula & gh major project
Scapula & gh major projectScapula & gh major project
Scapula & gh major projectnickie3513
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
Health Science Chapter 1
Health Science Chapter 1Health Science Chapter 1
Health Science Chapter 1manswag123
 
Talented athletes injury prevention talk
Talented athletes injury prevention talkTalented athletes injury prevention talk
Talented athletes injury prevention talkmathewhawkessurvey
 
Biology notes - topic 7 [UNFINISHED]
Biology notes -  topic 7 [UNFINISHED]Biology notes -  topic 7 [UNFINISHED]
Biology notes - topic 7 [UNFINISHED]Katie B
 
Mdh june 2013
Mdh   june 2013Mdh   june 2013
Mdh june 2013adrioz
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 

Destaque (16)

3 p.e. lm q2
3 p.e. lm q23 p.e. lm q2
3 p.e. lm q2
 
Burn the fat
Burn the fatBurn the fat
Burn the fat
 
อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6
 
อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1
 
1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_training1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_training
 
Body systems
Body systemsBody systems
Body systems
 
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
 
Scapula & gh major project
Scapula & gh major projectScapula & gh major project
Scapula & gh major project
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุง
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
Injury prevention
Injury preventionInjury prevention
Injury prevention
 
Health Science Chapter 1
Health Science Chapter 1Health Science Chapter 1
Health Science Chapter 1
 
Talented athletes injury prevention talk
Talented athletes injury prevention talkTalented athletes injury prevention talk
Talented athletes injury prevention talk
 
Biology notes - topic 7 [UNFINISHED]
Biology notes -  topic 7 [UNFINISHED]Biology notes -  topic 7 [UNFINISHED]
Biology notes - topic 7 [UNFINISHED]
 
Mdh june 2013
Mdh   june 2013Mdh   june 2013
Mdh june 2013
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 

Semelhante a 9789740331766

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการchonchai55
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาUmmara Kijruangsri
 
Presentation finale
Presentation finalePresentation finale
Presentation finaleKTPH2348
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพThiti Wongpong
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธีเอิท. เอิท
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้Natee Kongprapan
 

Semelhante a 9789740331766 (20)

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
Presentation finale
Presentation finalePresentation finale
Presentation finale
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
 
ภาระงาน Essec
ภาระงาน Essecภาระงาน Essec
ภาระงาน Essec
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
8
88
8
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 

Mais de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Mais de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331766

  • 1. กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) กิจกรรมทางกายถือเปนรากฐานสําคัญของชีวิต กิจกรรมทางกายทําให รางกายมีการทํางานเพิ่มขึ้น เชน การทํางานเพิ่มขึ้นของระบบกลามเนื้อและระบบ หัวใจและหายใจ การทํางานเพิมขึนของรางกายมีขอดีคอชวยเพิมประสิทธิภาพการ ่ ้  ื ่ ทํางานของรางกาย หรือสมรรถภาพทางกายใหสงขึน ขณะทีการขาดการมีกจกรรม ู ้ ่ ิ ทางกาย เชน การนัง ๆ นอน ๆ ถือเปนความสบายทีมผลลดประสิทธิภาพการทํางาน ่ ่ี ของรางกาย กิจกรรมทางกายจึงถือเปนปจจัยสําคัญของการมีสขภาพหรือคุณภาพ ุ ชีวิตที่ดีของบุคคล โดยเฉพาะการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน การมีกิจกรรมทาง กายอยางเพียงพอเหมาะสม ถือเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งตอการมีสภาวะสุขภาพที่ดี การศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย สมรรถภาพทางกาย และ สุขภาพ จึงถือเปนสิ่งจําเปนที่บุคคลควรใหความสําคัญ เพื่อที่จะไดนําไปปฏิบัติ อยางถูกตองเหมาะสมกอใหเกิดประโยชนทางสุขภาพตอไป คํานิยามของกิจกรรมทางกาย (Physical Activity Definition) กิจกรรมทางกาย หมายถึง การเคลื่อนไหวของรางกายทุกรูปแบบที่เกิด จากการหดตัวของกลามเนือและทําใหรางกายมีการใชพลังงานเพิมขึนจากขณะพัก1 ้  ่ ้ กิจกรรมทางกายจึงมีความสัมพันธกับสุขภาพ นั้นคือ ถามีกิจกรรมทางกายอยาง เพียงพอจะมีผลดีตอสุขภาพ แตถาขาดการมีกิจกรรมทางกายอยางเพียงพอจะมี ผลเสียตอสุขภาพ
  • 2. กิจกรรมทางกายสามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมทางกาย ในชีวิตประจําวัน (daily-routine physical activity) และกิจกรรมทางกายใน ยามวาง (leisure-time physical activity) กิจกรรมทางกายในชีวตประจําวัน เชน ิ การทํางานบาน การเดินทาง และการประกอบอาชีพ ถามีการปฏิบตอยางเพียงพอ ัิ ก็จะมีผลดีตอสุขภาพ ถึงแมวาจะเปนผูท่ีขาดการมีกิจกรรมทางกายในยามวาง การทํางานบานเปนประจํา การเดินทางดวยเทา หรือการมีกิจกรรมทางกายเปน สวนใหญในประกอบอาชีพแตละวันก็อาจจะชวยรักษาระดับสภาวะสุขภาพที่ดีให คงอยูได กิจกรรมทางกายในยามวาง ไดแก การเลน (play) การออกกําลังกาย (exercise) และกีฬา (sport) เปนกิจกรรมที่มีความสัมพันธคอนขางสูงกับสภาวะ สุขภาพ โดยการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา จะมีความแตกตางกันตาม ความหนัก (intensity) ระยะเวลาของกิจกรรม (duration) และระดับของการ แขงขัน (competition levels) การเลนเปนกิจกรรมทางกายที่มีระดับการแขงขัน นอยกวาการออกกําลังกาย และการออกกําลังกายมีระดับการแขงขันนอยกวากีฬา โดยปกติการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา จะเปนกิจกรรมทางกาย ที่มีความหนัก ระยะเวลาที่แนนอน และการแขงขันมากกวากิจกรรมทางกาย ที่ปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ดังนั้น กิจกรรมทางกายในยามวางจึงถือเปนกิจกรรม ทางกายที่มีความสัมพันธกับสุขภาพมากกวากิจกรรมทางกายในชีวิตประจําวัน คํานิยามของการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา (Play, Exercise and Sport Definitions) การเล น หมายถึ ง กิ จ กรรมทางกายที่ มี ค วามสนุ ก สนานและความ เพลิดเพลิน การออกกําลังกาย หมายถึง กิจกรรมทางกายที่ปฏิบัติเพื่อสุขภาพ โดยตรง เชน การเดิน การวิ่งเหยาะ และรวมถึงการเลนและกีฬาเพื่อสุขภาพ ขณะทีกฬา หมายถึง กิจกรรมทางกายทีเ่ นนการแขงขัน มุงชัยชนะ และการพัฒนา ่ี  ความสามารถทางการกีฬา บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) 2
  • 3. การเลน (Play) การเลนเปนกิจกรรมทางกายที่มีคุณลักษณะสําคัญคือ ผูปฏิบัติเขารวม ี โดยสมัครใจ มีอสระ มีความสนุกสนาน และมีการแขงขันนอย2 แตการเลนก็มการ ิ ออกกําลังกายและกีฬาผสมอยูดวย เชน เด็กเลนเกมวิงเปรียวจะมีความสนุกสนาน  ่ ้ มีการแขงขัน และมีผลดีตอสุขภาพถาปฏิบัติเปนประจํา เชนเดียวกันการออก กําลังกายและกีฬาก็มีการเลนผสมอยูดวยเชนกัน แตในกีฬาจะมีคุณลักษณะของ การเลนผสมอยูคอนขางนอย3 (รูปที่ 1.1) ความหนัก ตํ่า ปานกลาง สูง กิจกรรม เลน ออกกําลังกาย กีฬา (การฝก) ความสนุกสนาน สุขภาพ ความสามารถทางการกีฬา จุดมุงหมาย รูปที่ 1.1 การแบงกิจกรรมทางกายตามระดับความหนัก และจุดมุงหมายของแตละกิจกรรม การออกกําลังกาย (Exercise) การออกกําลังกายเปนกิจกรรมทางกายที่มีคุณลักษณะสําคัญคือ มี แบบแผน มีระบบ และมีการปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ เพื่อปรับปรุงหรือคงรักษา สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) อยางใดอยางหนึ่ง3 การออกกําลังกาย คอนขางมีรปแบบและระดับการแขงขันมากกวาการเลนแตนอยกวากีฬา ผูออกกําลัง ู   กายไมจําเปนตองมีผูฝกสอนคอยใหคําแนะนําหรือแนวทางเปนประจํา มีอิสระใน การเลือกปฏิบัติตามที่ตนเองปรารถนา คุณลักษณะสําคัญอยางหนึ่งของการออก กําลังกายคือ ผูออกกําลังกายสามารถเลือกทําในสิ่งที่ตนเองรูสึกดีหรือพึงพอใจ และสามารถมุงความสนใจอยูที่ความสนุกสนานของการเคลื่อนไหว แตรางกายจะ กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness) 3
  • 4. ตองมีการออกแรงระดับหนึง มีการออกแรงมากกวาการเลนหรือการทํางานในชีวต ่ ิ ประจําวัน และมีแนวทางการปฏิบัติเพื่อที่จะบรรลุเปาหมาย เชน มีการออกแบบ โปรแกรมทีมความเฉพาะเจาะจง เชน การลดนําหนัก การเพิมสมรรถภาพของระบบ ่ี ้ ่ หัวใจและหลอดเลือด การปรับสภาพอารมณ และการลดความเครียด กิจกรรมทางกายถือเปนรากฐานสําคัญของชีวิต กีฬา (Sport) กีฬาเปนกิจกรรมทางกายที่มีคุณลักษณะสําคัญคือ ตองใชทักษะและ มีการแขงขันสูง มีความเฉพาะเจาะจงมากกวาการออกกําลังกาย ตองการระดับ สมรรถภาพทางกาย ทักษะการเคลื่อนไหว การแขงขัน และชัยชนะ มีรูปแบบ กฎกติกาชัดเจน ตองการผูฝกสอน ยุทธวิธี และคูแขงขัน ผลของกีฬาคือชนะหรือ แพ การแขงขันและชัยชนะถือเปนเปาหมายสําคัญของกีฬา การจะใหไดมาซึ่ง ชัยชนะ นักกีฬาตองมีการฝกซอมพัฒนาทักษะ รางกาย และจิตใจของตน อยางไร ก็ตาม กีฬาก็มการเลนผสมอยูดวย ตามทฤษฎี บุคคลเริมเลนกีฬาไมใชเพราะรางวัล ี  ่ ภายนอก (extrinsic reward) แตเปนเพราะความรูสึกพึงพอใจภายใน (intrinsic pleasure)4 เชน เพื่อพัฒนาทักษะ สนุกกับการเคลื่อนไหว ความทาทาย และ ปฏิสัมพันธทางสังคม อยางไรก็ตาม กีฬามีการเลนผสมอยูนอย และนักกีฬาสวน บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) 4
  • 5. ใหญจะสูญเสียคุณลักษณะของการเลน เชน ความมีอิสระ ความสนุกสนาน เมื่อ เขาสูกระบวนการฝกกีฬา ซึ่งถือเปนเรื่องปกติที่นักกีฬาจะไมสามารถรักษาความ สนุกสนานไวไดเมือมีการฝกซอมหรือการแขงขันกีฬา การใหความสําคัญกับผลการ ่ ้ แขงขันมีผลลดความสนุกสนานในการเลนกีฬา นอกจากนันกีฬายังมีการออกกําลัง กายผสมอยูดวย การฝกกีฬาถือเปนการออกกําลังกาย แตดวยคุณลักษณะของกีฬา   ทีมงพัฒนาความสามารถสูงสุดทางการกีฬา (sport performance) การออกกําลัง ่ ุ กายในกีฬาจึงเปลี่ยนเปนการฝก (training) เนื่องจากการฝกมีเปาหมายเฉพาะ ตองการทักษะ ความรู ความเชี่ยวชาญ และมีความหนักสูงมากกวาการออก กําลังกาย ความสัมพันธระหวางการเลน การออกกําลังกาย และกีฬา (Play, Exercise and Sport Correlations) การเลน การออกกําลังกาย และกีฬา ถึงจะมีความแตกตางกันแตก็มี ความสัมพันธกน (รูปที่ 1.2) การเลนเปนศิลปะ การออกกําลังกายเปนวิทยาศาสตร ั ขณะทีกฬาเปนทังศิลปะและวิทยาศาสตร5 การเลนมีการแขงขันนอย เปนกิจกรรม ่ี ้ ตามธรรมชาติ มีกฎกติกานอย มีความสนุกสนาน และมีคุณลักษณะของการออก กําลังกายผสมอยูดวย การออกกําลังกายมีเปาหมาย มีรูปแบบมากกวาการเลน มีความสัมพันธกบสุขภาพ ความเครียด และสมรรถภาพทางกาย มีคณลักษณะของ ั ุ การเลนผสมอยู แตจะไมมคณลักษณะของกีฬาผสมอยู และเปนคุณลักษณะสําคัญ ีุ ประการหนึ่งในกีฬา ขณะที่กีฬามีการแขงขันสูง ตองมีการฝกเพื่อพัฒนาทักษะ รางกาย และจิตใจ และหวังผลทางดานชัยชนะเปนสําคัญ และมีคุณลักษณะของ การออกกําลังกายผสมอยูดวย กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness) 5
  • 6. รูปที่ 1.2 ตัวอยางกิจกรรมทางกายตามคุณลักษณะของการเลน การออกกําลังกายและกีฬา กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ (Physical Activity for Health) บุคคลสามารถใชการเลนและกีฬาเปนกิจกรรมทางกายเพือพัฒนาสุขภาพ ่ ได แมวาธรรมชาติของการเลนและกีฬาจะไมไดมคณลักษณะสําคัญเพือการพัฒนา  ีุ ่ สุขภาพ แตเมื่อใชการเลนเปนกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ (เลนเพื่อสุขภาพ) การ เลนจะเปลียนคุณสมบัตเิ ปนการออกกําลังกาย เชน มีการลดลงของความสนุกสนาน ่ ทํานองเดียวกัน เมือใชกฬาเปนกิจกรรมทางกายเพือสุขภาพ (กีฬาเพือสุขภาพ) กีฬา ่ ี ่ ่ ก็จะเปลี่ยนคุณสมบัติเปนการออกกําลังกาย เชน มีการลดลงของการแขงขันหรือ การมุงผลแพชนะ ถึงกระนันก็ตาม เมือใชการเลนเปนกิจกรรมทางกายเพือสุขภาพ  ้ ่ ่ การปฏิบัติที่ดีควรมีการรักษาสมดุลระหวางคุณลักษณะของการเลนและการออก กําลังกายใหเหมาะสม คือคงความสนุกสนานของการเลนและก็กอใหเกิดประโยชน  ตอสุขภาพ เชนเดียวกัน เมื่อใชกีฬาเปนกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ การปฏิบัติ ที่ดีควรมีการรักษาสมดุลระหวางคุณลักษณะของกีฬาและการออกกําลังกายให เหมาะสม คือลดความสําคัญของการแขงขันหรือชัยชนะลงและกอใหเกิดประโยชน ตอสุขภาพ แตถาจะใหดทสดสําหรับการมีกจกรรมทางกายเพือสุขภาพ (ออกกําลัง  ี ี่ ุ ิ ่ บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) 6
  • 7. กายเพื่อสุขภาพ) การปฏิบัติที่ดีควรมีการรักษาสมดุลของคุณลักษณะของการเลน การออกกําลังกาย และกีฬาไวดวยกัน กลาวคือ เปนกิจกรรมที่มีความสนุกสนาน มีการแขงขันเล็กนอย และเกิดประโยชนตอสุขภาพ ซึ่งจะถือเปนหลักสําคัญของ การจัดกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กิจกรรมทางกายและการออกกําลังกาย (Physical Activity and Exercise) เนื่องจากการออกกําลังกายมีคุณลักษณะสําคัญคือ การพัฒนาสุขภาพ เมือกลาวถึงสุขภาพบุคคลจึงมักจะนึกถึงการออกกําลังกายมากกวาการเลนและกีฬา ่ คําวา “การออกกําลังกาย” จึงมักถูกใชแทนคําวา “กิจกรรมทางกาย” เมือกลาวถึง ่ สุขภาพ อยางไรก็ตาม การมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจําวันอยางเพียงพอก็จะ มีผลดีตอสภาวะสุขภาพ เชนเดียวกับการเลนและกีฬาที่สามารถใชเปนกิจกรรม เพื่อพัฒนาสุขภาพได ดังนั้น คําวา “กิจกรรมทางกาย” และ “การออกกําลังกาย” บอยครั้งจะถูกใชแทนกัน (interchangeable) เชนเดียวกับหนังสือเลมนี้ บางครั้ง ผูเขียนจะใชคําวากิจกรรมทางกาย ซึ่งจะสื่อในภาพกวางถึงกิจกรรมทางกายทุก รูปแบบทั้งในชีวิตประจําวันและในยามวาง เชนใชคําวา “กิจกรรมทางกายมีผลดี ตอสุขภาพ” แทนที่จะกลาววา “การออกกําลังกายมีผลดีตอสุขภาพ” ซึ่งก็สามารถ กลาวไดเชนกัน เพียงแตวาการออกกําลังกายไมครอบคลุมกิจกรรมทางกายในชีวต  ิ ประจําวัน การเลน และกีฬา ซึ่งก็มีผลดีตอสุขภาพเชนกัน การใชคําวา “การออก กําลังกายมีผลดีตอสุขภาพ” จึงอาจจะไมครอบคลุมเทากับการใชคําวา “กิจกรรม ทางกายมีผลดีตอสุขภาพ” ซึ่งครอบคลุมมากกวา ตรงกันขาม ในบางครังผูเ ขียนจะใชคาวาการออกกําลังกายเพราะตองการ ้ ํ กลาวถึงเฉพาะการออกกําลังกาย เชน “การออกกําลังกายชวยเพิ่มความแข็งแรง ของกลามเนือ” แทนทีจะกลาววา “กิจกรรมทางกายชวยเพิมความแข็งแรงของกลาม ้ ่ ่ เนื้อ” ซึ่งก็สามารถกลาวไดเชนกัน เพียงแตวากิจกรรมทางกายบางอยาง เชน การ ทํางานบาน อาจจะไมสามารถเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อได เนื่องจากมี กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness) 7
  • 8. ความหนักคอนขางตํ่า การใชคําวา “การออกกําลังกาย” จึงมีความเฉพาะและ นาจะสือไดเหมาะสมมากกวา ดังนัน ในหนังสือเลมนี้ คําวา “กิจกรรมทางกาย” จะ ่ ้ สือครอบคลุมถึงกิจกรรมทางกายในชีวตประจําวันและกิจกรรมทางกายในยามวาง ่ ิ (การเลน การออกกําลังกาย และกีฬา) ขณะที่คําวา “การออกกําลังกาย” จะสื่อ เฉพาะถึงการออกกําลังกาย สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) สมรรถภาพทางกาย หมายถึง การมีสภาพสรีรวิทยาที่ชวยใหบุคคล สามารถประกอบกิจกรรมในชีวตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือการมีสภาพ ิ สรีรวิทยาพื้นฐานสําหรับการมีความสมบูรณทางการกีฬา หรือทั้ง 2 อยาง6 ดวย ความหมายดังกลาว สมรรถภาพทางกายจึงถูกแบงออกเปนสมรรถภาพที่สัมพันธ กับสุขภาพ (health-related fitness) ซึ่งมีความสัมพันธกับการมีสุขภาพที่ดี และ สมรรถภาพที่สัมพันธกับทักษะกีฬา (skill-related fitness) ซึ่งมีความสัมพันธกับ การมีความสามารถทางการกีฬา สมรรถภาพทีสมพันธกบสุขภาพ ประกอบดวยความอดทนของระบบหัวใจ ่ั ั และหลอดเลือด (cardiovascular endurance) คือ ความสามารถของระบบไหล เวียนและระบบหายใจในการนําออกซิเจนไปใชขณะมีกิจกรรมทางกาย ความ แข็งแรงของกลามเนื้อ (muscular strength) คือ ความสามารถของกลามเนื้อที่ จะออกแรงเอาชนะแรงตานทาน ความอดทนของกลามเนือ (muscular endurance) ้ คือ ความสามารถของกลามเนือทีจะออกแรงทํางานอยางตอเนืองโดยไมเกิดความ ้ ่ ่ เมื่อยลา ความออนตัว (flexibility) คือ ชวงการเคลื่อนไหวของขอตอ และสัดสวน ของรางกาย (body composition) คือ ปริมาณสัมพัทธของกลามเนือ ไขมัน กระดูก ้ และอวัยวะสวนอื่น ๆ ของรางกาย7 บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) 8
  • 9. สมรรถภาพทีสมพันธกบทักษะกีฬา ประกอบดวยเวลาปฏิกรยา (reaction ่ั ั ิิ time) คือ ระยะเวลาระหวางการกระตุนและการเริ่มมีปฏิกิริยาตอการกระตุน ความเร็ว (speed) คือ ความสามารถในการเคลื่อนไหวภายในระยะเวลาอันสั้น พลัง (power) คือ ความสามารถหรืออัตราการทํางาน ความวองไว (agility) คือ ความสามารถในการเปลี่ยนตําแหนงของรางกายไดอยางรวดเร็วและแมนยํา ความสัมพันธระหวางระบบประสาทและกลามเนื้อ (coordination) คือ ความ สามารถในการใชระบบประสาทสัมผัส (sense) เชน การมองเห็นและการไดยิน รวมดวยการเคลื่อนไหวของรางกายในการทํางานใหไดอยางมีประสิทธิภาพและ แมนยํา และการทรงตัว (balance) คือ การรักษาสมดุลของรางกายขณะอยูกับที่ หรือมีการเคลื่อนที7 ่ สุขภาพ (Health) ตามธรรมนูญขององคการอนามัยโลก (World Health Organization) สุขภาพ หมายถึง การมีความสมบูรณของรางกาย จิตใจ รวมถึงการดํารงชีวิตอยู ในสังคมไดอยางเปนปกติสุข ปราศจากโรคและทุพพลภาพ และมีสุขภาวะทางจิต วิญญาณ (spiritual well-being)8 ถาบุคคลเปนผูมความสมบูรณขององคประกอบ ี ของสุขภาพดังกลาวก็จะถือวาเปนผูมสขภาวะ (well-being) หรือมีความสุข มีปจจัย ีุ  หลายประการทีมอทธิพลตอการเปนผูมสขภาวะ เชน สถานะทางสังคม และสภาพ ่ีิ ีุ สิ่งแวดลอมที่อยูอาศัย แตดูเหมือนวาตัวบุคคลจะถือเปนตัวกําหนดที่สําคัญตอ การมีสุขภาวะ ขณะเดียวกันการมีกิจกรรมทางกายอยางเพียงพอก็เปนผลดี ตอสภาพรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม (ขาดแตการวิจัยที่แสดงถึงผลของ กิจกรรมทางกายทีมตอสุขภาวะทางจิตวิญญาณ) ดังนัน กิจกรรมทางกายจึงถือเปน ่ี ้ องคประกอบสําคัญตอการมีสุขภาวะของบุคคล9 กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ (Physical Activities for Wellness) 9
  • 10. ความสัมพันธของกิจกรรมทางกาย สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพ (Physical Activity, Physical Fitness and Health Correlations) กิจกรรมทางกาย (physical activity) สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) และสุขภาพ (health) มีความสัมพันธกันเชิงบวก คือ การมีกิจกรรมทาง กายเพิมระดับสมรรถภาพทางกายและเปนผลดีตอสุขภาพ ขณะทีการขาดกิจกรรม ่  ่ ทางกายลดระดับสมรรถภาพทางกายและมีผลเสียตอสุขภาพ โดยการเพิมขึนและ ่ ้ ลดลงของสมรรถภาพทางกายจะขึ้นอยูกับกิจกรรมทางกายเปนหลัก ถึงแมวา พันธุกรรมจะมีผลตอการเพิ่มขึ้นและลดลงของสมรรถภาพทางกาย แตก็มีผลนอย กวากิจกรรมทางกาย10 การเพิ่มกิจกรรมทางกายจะเปนผลใหมีการเพิ่มขึ้นของ สมรรถภาพทางกาย ถึงแมวาการเพิ่มขึ้นจะมีความแตกตางกันตามตัวบุคคลซึ่งถูก ควบคุมโดยลักษณะทางพันธุกรรม11 ดังนัน การเพิมขึนของระดับสมรรถภาพทาง ้ ่ ้ กายจึงสามารถใชเปนตัวชี้วัดระดับการมีกิจกรรมทางกายของบุคคลได12 ทํานอง เดียวกัน การมีกิจกรรมทางกายก็สามารถใชเปนตัวชี้วัดระดับสมรรถภาพทางกาย ของบุคคลได และทั้งกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพทางกายสามารถใชเปนตัว ทํานายสภาวะสุขภาพได13 แตสมรรถภาพทางกายจะเปนตัวทํานายสภาวะสุขภาพ ไดดีกวากิจกรรมทางกาย11-13 ระดับกิจกรรมทางกายของคนไทย (Physical Activity Levels of Thais) มีการรายงานวาประชากรในโลกอยางนอยรอยละ 70 เปนผูขาดการ มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอตอประโยชนทางสุขภาพ14 การสํารวจในประเทศ แคนาดาและสหรัฐอเมริการายงานวา มีเพียงรอยละ 50 ของประชากรทีมกจกรรม ่ีิ ทางกายเพียงพอตอการเกิดประโยชนทางสุขภาพ15-16 ขณะที่การศึกษาโดยใช การวัดระดับกิจกรรมทางกายโดยตรง (objective measure) พบวา คนแคนาดา เพียงรอยละ 15 เทานั้นที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอตอประโยชนทางสุขภาพ17 การมี กิ จ กรรมทางกายในชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ เ พี ย งพอต อ ประโยชน ท างสุ ข ภาพ บทที่ 1 กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) 10