SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
บทที่ 1
          ภาษาญี่ปุนสไตลจีน :
   การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読)                                                        か ん ぶ ん く ん ど く




1. การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読) คืออะไร
       การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ(漢文訓読)หรือเรียกสั้น ๆ วา คุนโดะกุ 訓読 1 หมายถึง
การอานคัมบุนและคันฌิ (ซึ่งเปนภาษาจีนโบราณ) โดยอานเปนภาษาญี่ปุนโบราณ เชน 花開
          はなひら                                             すんいん       を
อานวา 花開く(ดอกไมบาน) 惜寸陰 อานวา 寸陰を惜しむ (เสียดายเวลาแมเพียงนอยนิด)
                     やまい        り                                                                あを   これ    あゐ
利於病 อานวา 病 に利あり (รักษาโรคได) 青取之於藍而青於藍 อานวา 青は之を藍よ
   と         あゐ            あを
                                                                                             2
り取りて藍よりも青し (สี น้ํ า เงิ น ได จ ากต น คราม แต เ ป น สี น้ํ า เงิ น ยิ่ ง กว า ต น คราม) การ

อานคัมบุนและคันฌิในลักษณะเชนนี้ดูเหมือนกับเปนการแปลคัมบุนและคันฌิเปนภาษาญี่ปุน
โบราณ และอาจจะถือวาเปนการแปลประเภทหนึ่งก็ได แตก็ตางจากการแปลทั่วไป เพราะ
เปนการแปลคําตอคําทุกตัวอักษร โดยไมมีความพยายามที่จะผละจากตนฉบับภาษาจีนโบราณ
ทําใหเกิดเปนภาษาญี่ปุนโบราณที่ตางจากภาษาญี่ปุนโบราณในงานเขียนอื่นๆ หรืออาจ
เรียกไดวาเปน “ภาษาญี่ปุนสไตลจีน”




   1
     คําวา คุนโดะกุ 訓読 ยังมีความหมายเหมือนคําวา คุนโยะมิ 訓読み ที่หมายถึงการอานอักษรคันจิดวยเสียงคุน 訓 เชน
อาน 人 วา ฮิโตะ (ไมอานวา จิน หรือนิน ซึ่งเปนอนโยะมิ 音読み)
   2                                   じゆんし                          じゆんし
       คํากลาวนี้อยูในหนังสือ สวินจื่อ『 荀子 』 ประพันธโดยสวินจื่อ   荀子 (298-238   ปกอนคริสตกาล)    มีความหมาย
            しゆつらん     しゆつらん     ほま
เชนเดียวกับ 出 藍 และ 出 藍の誉れ ในภาษาญี่ปุนปจจุบันซึ่งใชในเชิงอุปมาอุปไมยวาลูกศิษยอาจจะเกงกวาครู เอกสารบาง
                                          あを   あゐ      い     あゐ      あを                                    ひがき
เลมจะใชวา 青出于藍而青于藍 และอานวา 青は藍 より出でて藍より青し。ดังเชนที่พบในบทละครโนเรื่องฮิงะกิ 檜垣
คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน

                                                                                はなひら
      ในตัวอยางที่ยกมาขางตนนั้น เพื่อชวยใหคนญี่ปุนรูวาควรอาน 花開 วา 花開く อาน 惜寸
        すんいん         を                             やまい    り                               あを
陰 วา 寸陰を惜しむ อาน 利於病 วา 病 に利あり อาน 青取之於藍而青於藍 วา 青は
これ    あゐ         と        あゐ            あを
之を藍より取りて藍よりも青し และรูความหมายของภาษาจีนที่กําลังอานอยูนั้นไดมีการนํา

อักษรคะตะกะนะ อักษรคันจิ และเครื่องหมายตาง ๆ มากํากับเพี่อชวยการอาน ทําใหเกิดเปน
ประโยคที่มีเครื่องหมายกํากับการอานในรูปแบบตาง ๆ และนําประโยคที่มีเครื่องหมายกํากับการ
อานมาเขียนใหมเพื่อใหอานงายขึ้น โดยใชอักษรคันจิและฮิระงะนะ แลวเรียงลําดับอักษรคันจิ
ใหมตามไวยากรณภาษาญี่ปุนโบราณทําใหมีประโยคประเภทตาง ๆ ในคัมบุนดังตัวอยางตอไปนี้

                     はくぶん                 くんどくぶん              くんどくぶん        か   くだ   ぶん

               a :白文                b : 訓読文              c : 訓読文       d:   書き下し文




                                                         28
บทที่ 1

                                                     あを   これ   あゐ     と        あゐ      あを
   ทั้ง a b c และ d ตางก็อานออกเสียงเหมือนกันวา 青は之を藍より取りて藍よりも青
                           
し。และมีความหมายเหมือนกันคือ “สีนาเงินไดจากตนครามแตเปนสีน้ําเงินยิ่งกวาตนคราม”
                                  ้ํ

  はくぶん
a:白文


      ประโยคที่ประกอบดวยอักษรคันจิลวน และไมมีเครื่องหมายชวยการอานกํากับดังเชน
                                 はくぶん
ตัวอยาง a เรียกวา ฮะกุบุน 白文 ซึ่งก็คือประโยคดั้งเดิมที่เปนภาษาจีนโบราณนั่นเอง
     くんどくぶん
b : 訓読文

        ประโยคที่มีลําดับอักษรคันจิเหมือนฮะกุบุน 白文 แตมีเครื่องหมายชวยการอานกํากับดวย
                                         くんどくぶん
ดังตัวอยาง b และ c เรียกวา คุนโดะกุบุน 訓読文 แตตําราบางเลมก็ไมมีชื่อเรียกโดยเฉพาะ
และบางก็เรียกวา คัมบุน 漢文 ซึ่งทําใหคําวา คัมบุน 漢文 นอกจากจะมีความหมายทั้งหมด
ตามที่กลาวมาขางตนในบทนําแลวก็ยังมีความหมายแคบในการใชในกรณีนี้ดวย สําหรับหนังสือ
               くんどくぶん
เลมนี้จะใชชื่อ 訓読文 เพราะนาจะเขาใจงายกวาและไมเกิดความสับสนกับคําวา คัมบุน 漢文
     くんどくぶん
c : 訓読文
                        くんどくぶん
      คุนโดะกุบุน 訓読文 จะมี 2 แบบ แบบแรกดังตัวอยาง b จะมีเครื่องหมายชวยการอาน (ซึ่ง
จะอธิบายโดยละเอียดในขอ 4-9) เฉพาะประเภทที่เรียกวาคะเอะริ-เต็น 返り点 เพื่อความสะดวก
รวดเร็วในการพิมพ แตทําความเขาใจไดยาก หนังสือเลมนี้จึงเปนแบบ c
      แบบที่ 2 ดังตัวอยาง c จะมีเครื่องหมายกํากับเพื่อชวยการอาน ทั้งประเภทที่เรียกวา
              おく        が な                                         かへ    てん
โอะกุริงะนะ 送り仮名 (เชน ハ ที่อยูมุมขวาลางของ 青) และคะเอะริ-เต็น 返り点 (เชน ニ ที่อยู
มุมซายลางของ 取)
      か   くだ       ぶん
d:   書き下し文


      ประโยคที่มีท้ังอักษรคันจิและฮิระงะนะและเรียงลําดับอักษรคันจิตางจากฮะกุบุน 白文
โดยเรียงลําดับใหมตามไวยากรณภาษาญี่ปุนโบราณ ดังตัวอยาง d โดยทั่วไปเรียกวา คะกิกดะฌิ
                                                                                   ุ

                                           29
คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน

         か     くだ    ぶん                                                 よ    くだ    ぶん
บุน      書き下し文        แตบางครั้งก็เรียกวา โยะมิกุดะฌิบุน 読み下し文 หรือคัมบุนคุนโดะกุบุน
かんぶんくんどくぶん                                                          か       くだ    ぶん
漢文訓読文 สําหรับหนังสือเลมนี้จะใชชื่อคะกิกุดะฌิบุน 書き下し文 ตามที่ใชกันสวนใหญ
                                                          くんどくぶん
      วิธีการใชอักษรคะนะที่ใชในคุนโดะกุบุน 訓読文 และคะกิกุดะฌิบุน 書き下し文 ทีถกตอง  ู่
จะเปนแบบเกาที่ใชกันมาในภาษาญี่ปุนทั่วไปจนถึง ค.ศ. 1946 ที่เรียกวา เระกิฌิ คะนะสุกะอิ
れ き し か な づ か
                  3         あを          あお       あゐ        あい
歴史仮名遣ひ เชน 青 ไมใช 青 และ 藍 ไมใช 藍 แตปจจุบันมีตําราคัมบุนอยูไมนอยที่ใชแบบ
                                                                げんだいかなづか
ใหมหรือแบบปจจุบันที่เรียกวา เก็นดะอิ คะนะสุกะอิ 現代仮名遣ひ สําหรับหนังสือเลมนี้จะใช
เระกิฌิ คะนะสุกะอิ 歴史仮名遣ひ เพื่อคงแบบแผนเดิมที่ถูกตองไวและใชในทุกแหงตลอดทั้ง
เลมเพื่อฝกผูอานใหคุนเคย อันจะเปนประโยชนในการอานเอกสารภาษาญี่ปุนจํานวนมากที่ใช
เระกิฌิ คะนะสุกะอิ 歴史仮名遣ひ

                                                                                       か ん ぶ ん く ん ど く

2. ที่มาของการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ( 漢文訓読)
        เมื่อญี่ปุนเริ่มรูจักอักษรคันจิและคัมบุนและยังไมมีอักษรของตนเองนั้น คนญี่ปุนบันทึกสิ่ง
ตาง ๆ ดวยคัมบุนและอานออกเสียงเปนภาษาจีนตามที่ครูชาวจีนหรือชาวเกาหลี หรือชาวญี่ปุน
ที่อา นภาษาจี น เปน สอนให อ า น วะนิ ที่นํ า คัม ภี รห ลุ น อวี่ ม าก็ ไดเ ปน ครู ส อนคัม บุน ใหเ จ า ชาย
                             うじ の わ き い ら つ こ                                     わうじんてんわう
อุจิโนะวะกิอิระทซุโกะ 莵道稚朗子 พระราชโอรสจักรพรรดิโอจิน (応神天皇) สวนการแปลคัม
                                                 な    ら                                                    へいあん
บุนในระยะแรก ๆ คือชวงสมัยนาระ 奈良 (ค.ศ. 710-794) จนถึงประมาณตนสมัยเฮอัน平安
(ค.ศ. 794-1185) นั้น สันนิษฐานวาคนญี่ปุนแปลโดยใชภาษาญี่ปุนที่ใกลเคียงกับภาษาเขียน
                             ぶんご
หรือที่เรียกวา บุงโงะ 文語 ในยุคนั้น ๆ นับเปนการแปลเปนภาษาญี่ปุนที่คอนขางเสรีแลวแต
บุคคล
                                        たう
        แตหลังจากที่ราชวงศถัง 唐 (ค.ศ. 618-907) ลมสลาย และญี่ปุนเห็นวาการเดินทางไปจีน
ยากลําบากและอันตรายมาก จึงสงทูตไปเปนทางการเปนครั้งสุดทายใน ค.ศ. 894 หลังจากนั้น
จนถึงประมาณคริสตศตวรรษที่ 12 ญี่ปุนกับจีนแทบจะไมมีการติดตอกันเลย เมื่อเวลาผานไป
นานเขาก็แทบจะหาผูที่สามารถอานออกเสียงเปนภาษาจีนไดยาก นอกจากนี้การบันทึกความคิด
หรือการกระทําโดยใชสื่อภาษาจีนก็เปนเรื่องยุงยากสําหรับคนญี่ปุนมากทีเดียว เนื่องจากความ


    3
        ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก หัวขอภาษาญี่ปุนโบราณ
                                                          30
บทที่ 1


แตกต า งที่ มี อ ยู ม ากมายระหว า ง 2 ภาษานี้ เช น ภาษาญี่ ปุ น มี คํ า ช ว ย มี ก ารผั น คํ า กริ ย า
คําคุณศัพทเปนรูปตาง ๆ มีการแสดงกาล ขณะที่ภาษาจีนแทบจะไมมี ลําดับคําก็ตางกัน เชน
กรรมในภาษาจีนจะตามหลังคํากริยา เปนตน (ดูขอ 3 โครงสรางภาษาจีนโบราณ)
         ในที่สุดญี่ปุนจึงไดคิดวิธีอานคัมบุนและคันฌิในแบบของตนเอง คือไมอานออกเสียงเปน
ภาษาจีน แตอานออกเสียงเปนภาษาญี่ปุนทั้งหมด ตั้งแตออกเสียงอักษรคันจิเปนภาษาญี่ปุน
(เชนแทนที่จะอาน 花 ซึ่งเปนอักษรภาพที่มีความหมายวาดอกไม โดยใชคําภาษาจีนซึ่งคือ ฮวา ก็
ใชคําภาษาญี่ปุนที่มีความหมายวาดอกไมคือคําวา “ฮะนะ” มาอาน) และเติมคําชวย คําชวย
กริยา ไปจนถึงเปลี่ยนลําดับการอานอักษรคันจิใหเปนไปตามลําดับคําในภาษาญี่ปุนและใชวิธี
อื่น ๆ อีก (ดังที่จะอธิบายในบทตอ ๆ ไป) วิธีตาง ๆ เหลานี้สรางวิวัฒนาการทางภาษาญี่ปุนที่มี
รูปแบบเฉพาะสําหรับการอานคัมบุน เรียกวา “การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ”(漢文訓読)โดย
มีเครื่องหมายตาง ๆ มากํากับเพี่อชวยใหรูวิธีการอาน
         ในสมัยคะมะกุระ-มุโระมะชิ (ค.ศ. 1185-1573) ซึ่งเปนสมัยที่พระสงฆโดยเฉพาะที่วัด 5
แหงในกรุงเกียวโตเปนผูนําในการแตงคัมบุนและคันฌินั้น การอานจะมีกฎตายตัวและเปนการ
พยายามถอดตัวอักษรคันจิทุกตัวเปนภาษาญี่ปุน โดยมีหลักวาอักษรคันจิแตละตัวจะตองถอด
เปนภาษาญี่ปุนใหเหมือนกันทุกครั้งเทาที่จะทําได คลายกับการแปลแบบคําตอคําดวยเครื่อง
คอมพิวเตอร
         “การอ า นคั ม บุ น แบบคุ น โดะกุ ” ในแต ล ะสมั ย จึ ง มี ค วามแตกต า งกั น รู ป แบบที่ ใ ช อ ยู ใ น

ป จ จุ บั น นั้ น เป น รู ป แบบที่ รั บ สื บ ต อ มาจากรู ป แบบที่ ใ ช อ ยู ใ นคริ ส ต ศ ตวรรษที่ 19 ซึ่ ง
กระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุนไดนํามาชําระและบัญญัติแบบแผนเพื่อใหใชเปนระบบเดียวกันใน
ค.ศ. 1912 รูปแบบที่ใชอยูในปจจุบันยังคงมีภาษาที่ใชอานคัมบุนตั้งแตชวงสมัยนาระ (ค.ศ. 710-
794) เปนตนมาหลงเหลืออยูบาง ดังนั้น คําบางคําและไวยากรณโบราณบางลักษณะที่ไมมีใน
ภาษาญี่ปุนปจจุบันแลวนั้นจะยังคงมีอยูในภาษาที่ใชอานคัมบุน4 ภาษาญี่ปุนในรูปแบบเฉพาะที่
ใชอานคัมบุนนี้ไดมีอิทธิพลตอภาษาเขียนทั่วไปในแตละสมัยเปนอยางมาก จนในสมัยเมจิ (ค.ศ.
1868-1912) ภาษาเขียนในเอกสารราชการจะใกลเคียงกับที่ใชในการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ

   4                                               たかはしのむしまろ
       แมแตในบทกวีญี่ปุนของทะกะฮะฌิ โนะ มุฌิมะโระ 高橋虫麻呂 (ไมทราบปเกิดและตาย) ที่ไดรับการรวบรวมไวในชุมนุม
                  まんえふしふ
บทกวีมันโยฌู『 万葉集』 ชุมนุมบทกวีญี่ปุนเลมแรก (สันนิษฐานวาเรียบเรียงเสร็จหลัง ค.ศ. 759) ก็ยังพบอิทธิพลของ
                                                               いは                             たきぐち   みどり   む し ま ろ
ภาษาญี่ปุน แบบที่ใชใ นการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ คือการใช คําวา 曰く ในความหมายวา พูดวา (ดู 滝口 翠 「虫麻呂
でんせつか    こうせいほう    ちょうか          いんよう
伝説歌の構成法:長歌における<引用>」
                                                       31
คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน

ในขณะที่ ภ าษาเขี ย นทั่ ว ไปเปลี่ ย นแปลงไปเรื่ อ ย ๆ จนถึ ง ป จ จุ บั น นั้ น ภาษาที่ ใ ช ใ นการอ า น
คั ม บุ น แบบคุ น โดะกุ ที่ ก็ เ ปลี่ ย นแปลงมาตามยุ ค สมั ย นั้ น แทบไม ไ ด เ ปลี่ ย นแปลงอี ก หลั ง
คริสตศตวรรษที่ 19
         “คัมบุนคุนโดะกุ” ไมไดเปนเพียงรูปแบบการอานคัมบุนเทานั้น แตแทที่จริงแลวยังไดรับ
การสืบทอดตอมาเปนรูปแบบการเขียนภาษาญี่ปุนที่สําคัญมากดวย กลาวคือ ถึงแมวาใน
สมัยเฮอันเมื่อญี่ปุนประดิษฐอักษรฮิระงะนะของตนเองโดยดัดแปลงจากอักษรคันจิ และคนญี่ปุน
ก็ไดเริ่มมีรูปแบบการเขียนแบบญี่ปุนโดยใชอักษรฮิระงะนะดังเชนที่ใชในการเขียนวรรณคดีสําคัญ
                                  げんじものがたり
คือ เก็นจิโมะโนะงะตะริ『源氏物語』และตอมารูปแบบการเขียนนี้ไดผสมผสานเขากับรูปแบบ
การเขียนแบบคัมบุนคุนโดะกุ แตทวาในงานเขียนวิชาการเชนงานเขียนดานศาสนา กฎหมาย
และหลาย ๆ ดาน ตั้งแตสมัยโบราณจนถึงประมาณสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เราจะพบรูปแบบ
การเขียนแบบคัมบุนคุนโดะกุเปนหลัก5 จึงอาจกลาวไดวา คัมบุนคุนโดะกุไมไดเปนเพียงรูปแบบ
การอานที่ญี่ปุนใชอานคัมบุนเทานั้น แตยังไดเปนรูปแบบการเขียนที่ไดชวยสนับสนุนศิลปะ
วิทยาการและความคิดของคนญี่ปุนมาตั้งแตยุคโบราณจนถึงยุคสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2


3. โครงสรางภาษาจีนโบราณ
       ดังที่ไดกลาวแลวขางตน คนญี่ปุนอานคัมบุนและคันฌิ (ซึ่งเปนภาษาจีนโบราณ) โดยอาน
เปนภาษาญี่ปุนโบราณ และเรียกการอานเชนนี้วาการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ(漢文訓読)
หรือเรียกสั้น ๆ วาคุนโดะกุ 訓読 ซึ่งก็คือสิ่งที่อยูในหนังสือเลมนี้และตําราคัมบุนในญี่ปุนนั่นเอง6
ในการอานเชนนี้คนญี่ปุนออกเสียงอักษรคันจิเปนภาษาญี่ปุน เติมคําชวย คําชวยกริยา รวมทั้ง
เปลี่ยนลําดับการอานอักษรคันจิใหเปนไปตามลําดับคําในภาษาญี่ปน และใชวิธีอื่น ๆ อีก
                                                                                ุ
                                                                                           くんてん
       ในหัวขอตอไปจะอธิบายเกี่ยวกับเครื่องหมายตาง ๆ ที่เรียกวา คุนเต็น 訓点 ที่ใชกํากับเพี่อ
ช ว ยให รูวิ ธี ก ารอา น แต ก อนที่จะอธิ บ ายเกี่ ย วกับ คุ น เต็น การมี พื้ น ความรู พ อสั ง เขปเกี่ย วกั บ
โครงสรางภาษาจีนโบราณเปรียบเทียบกับภาษาญี่ปุนและภาษาไทยก็จะชวยใหเขาใจการใช
เครื่องหมายเหลานั้นและเขาใจการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุไดงายขึ้น

    5                                        さとう     すすむ    かんぶんくんどくたい   ふつうぶん   げんだいにほんぶんごぶん
        ดูรายละเอียดพรอมตัวอยางประกอบใน 佐藤          進 「漢文訓読体と普通文・現代日本文語文」
    6                                            かんぶんくんどく
        ตําราคัมบุนบางเลมจึงชื่อ คัมบุนคุนโดะกุ 漢文訓読
                                                              32
บทที่ 1


        ความแตกตางประการสําคัญระหวางภาษาจีนโบราณกับภาษาญี่ปุนโบราณก็คือ การที่
ภาษาญี่ ปุน โบราณมีคําช วยและคํ าชวยกริย า ซึ่ง ทํา ใหรูวา คําใดเปนประธานหรือกรรมใน
ประโยคนั้น เปนตน (ซึ่งเปนลักษณะของภาษาญี่ปุนปจจุบันดวย) แตภาษาจีนโบราณมีคําที่
ทําหนาที่ทํานองเดียวกับคําชวยและคําชวยกริยาจํานวนนอยมาก และในกรณีที่มีใชก็ไมไดมี
หนาที่ที่ชัดเจนเหมือนในภาษาญี่ปน   ุ
        ในภาษาจีนโบราณสิ่งที่บอกใหรูวาคํานั้นทําหนาที่อะไรในประโยคก็คือ ตําแหนงของคํา
นั้น คําเดียวกันอาจเปนคํานามที่เปนประธานของประโยค แตในอีกประโยคคํานั้นอาจทําหนาที่
เปนคํากริยาโดยไมมีการเปลี่ยนรูป (ภาษาจีนไมมีการผันรูปคํา) หรือมีคําอื่นใดมาชวย แตจะรูได
จากตําแหนงของคํานั้นในประโยค ลําดับคําในประโยคภาษาจีนโบราณจึงเปนเรื่องสําคัญที่ตอง
ศึกษา จุดนี้นับวาภาษาจีนโบราณจะใกลเคียงภาษาไทยมากกวา ยกเวนกรณีของตําแหนงของ
สวนขยาย ซึ่งภาษาไทยจะตรงขามกับภาษาจีนและญี่ปุน แตในการอธิบายโครงสรางภาษาจีน
โบราณในที่นี้จําเปนตองอิงกับภาษาญี่ปุน เนื่องจากการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ คือการอาน
ภาษาจีนโบราณ โดยอานเปนภาษาญี่ปุนโบราณดังกลาวแลวนั่นเอง
        เพื่อชวยใหเขาใจการใชเครื่องหมายคุนเต็น และเขาใจการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุไดงาย
ขึ้น เราสามารถจัดกลุมโครงสรางหรือลําดับคําในภาษาจีนโบราณเปน 6 ประเภทดังตอไปนี้

                                 โครงสรางภาษาจีนโบราณ
  しゆ ご
         7          8
                 じゆつご
1主語          +   述語
                           もくてきご
2主語          + 述語       + 目的語
                            お    う       こ            ほ   ご
3主語          + 述語       +(於・于・乎)+                     補語
4主語          + 述語       + 補語         +       目的語
                                             お   う        こ
5主語          + 述語       + 目的語+(於・于・乎)+                        補語
                                             お   う        こ
6主語          + 述語       + 補語         +(於・于・乎)+                補語


     อยางไรก็ตาม ภาษาจีนโบราณหรือคัมบุนที่จะพบในหนังสือเลมนี้หรือที่อื่น ๆ ไมใชวาจะมี
โครงสรางขางตนนี้อยางชัดเจน ทั้งนี้ก็เพราะวาภาษาจีนโบราณมีลักษณะสําคัญประการหนึ่งคือ

   7
       しゅご
   8
       じゅつご

                                                 33
คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน

การละขอความ ที่พบไดบอยและคลายภาษาญี่ปุนและภาษาไทยก็คือ การละประธาน(主
語)นอกจากนี้ก็ยังมีกรณีที่มี การสลับลําดับ โดยวางประธานของประโยคไวสวนทายและวาง

สวนที่ตองการเนนไวตนประโยค การสลับลําดับเชนนี้จะพบในประโยคแสดงการอุทาน เปนตน
      ต อ ไปจะอธิ บ ายเกี่ ย วกั บ โครงสร า งหรื อ ลํ า ดั บ คํ า ในภาษาจี น โบราณแต ล ะประเภท
โดยสังเขปดังตอไปนี้

                                                1主語                +        述語

主語        หมายถึง คํา หรือกลุมคําทีทําหนาที่เปนประธานของประโยค รวมทังคําหรือกลุมคําทีทา
                                    ่                                  ้                 ่ ํ
หนาทีเ่ ปนสวนขยายประธาน ซึ่งเมื่ออานเปนภาษาญี่ปนโบราณจะเปน คํานาม หรือคําสรรพนาม
                                                      ุ
                                                                 れんたいけい
หรือคําที่เปนเสมือนคํานาม (เชนคํากริยาในรูป 連体形 ตามดวย こと หรืออาจละ こと)
          ในภาษาจีนโบราณสวนขยายจะวางอยูขางหนาคําทีถกขยายเชนเดียวกับในภาษาญี่ปน
                                                         ู่                              ุ
แตตรงขามกับภาษาไทย
述語     หมายถึง คํา หรือกลุมคําที่ทําหนาที่อธิบายวา ประธานของประโยคทํากิริยาอาการอะไร
หรือเปนอยางไร หรือเปนอะไร ซึ่งเมื่ออานเปนภาษาญี่ปุนโบราณจะไดแก คํากริยา (ตัวอยาง a
b) คําคุณศัพท (形容詞) (ตัวอยาง c) 形容動詞9 (ตัวอยาง d e) หรือคํานามกับคําชวยกริยา
                        けいようし                           けいようどうし




なり(ตัวอยาง f) รวมทั้งคําที่ทําหนาที่เปนสวนขยายของคําเหลานี้

      เพื่อไมใหเกิดความเขาใจคลาดเคลื่อนจะขอใชคําวา 述語 โดยไมแปล ขอใหสังเกตวา 述
語 ตางจากคําวา ภาคแสดง ที่ใชในการอธิบายไวยากรณภาษาไทย เนื่องจากภาคแสดงจะรวม

ทุกคําที่ไมไดอยูในภาคประธาน เชน รวมคําที่เปนกรรมของประโยคดวย แต 述語 ไมรวม ขอใหดู
โครงสรางตอไปก็จะเขาใจได10

    9
        ดูคําอธิบายที่ภาคผนวกหัวขอภาษาญี่ปุนโบราณ
    10                                                                                                                           やまもと
         述語 อาจแปลตามตัวอักษรไดวา คําบรรยาย คือเปนคําที่บรรยายวา ประธานทําอะไร เปนอยางไร หรือเปนอะไร ซึ่ง 山本
てつお
哲夫『古典漢文の基礎』หน า            26 เที ย บเท า กั บ คํ า ว า predicate ในไวยากรณ ภ าษาอั ง กฤษ ซึ่ ง ผู เ ขี ย นไม เ ห็ น ด ว ย เพราะ
predicate หมายถึง swim ในประโยค Fishes swim. หรือ is an artist ในประโยค She is an artist. (Longman Dictionary of
Contemporary English ป 1995) พจนานุกรมภาษาอังกฤษบางเลม เชน Oxford Advanced Learner’s Dictionary ป 2000
ใหคําจํากัดความของ predicate วาเปนสวนที่มีคํากริยา โดยไมไดครอบคลุมไปถึงสวนบรรยายที่เปนคําคุณศัพท หรือคํานาม
Password English Dictionary for Speakers of Thai ป 2537 ใหคําแปลของ predicate วา ภาคแสดง และยกตัวอยางวา live
                                                                  34
บทที่ 1

การใชเครื่องหมายกํากับการอาน
        ลําดับคําในลักษณะนี้เปนโครงสรางที่เขาใจงายมาก เนื่องจากเหมือนกับทั้งภาษาไทย
ญี่ปุน และอังกฤษ การที่ลําดับคําในภาษาจีนและญี่ปุนตรงกัน ทําใหไมมีความจําเปนที่จะตองใช
เครื่องหมายกํากับการอานประเภทแสดงลําดับคําที่เรียกวาคะเอะริ-เต็น 返り点 จะใชก็เฉพาะ
โอะกุริงะนะ 送り仮名 เพื่อแสดงคําชวย คําชวยกริยา และอื่น ๆ ที่ไมปรากฏในอักษรคันจิ
        โครงสรางนี้เปนเพียงโครงสรางเดียวที่มีลําดับคําเหมือนภาษาญี่ปุน จึงเปนเพียงโครงสราง
เดียวที่ไมตองใชเครื่องหมายกํากับการอานประเภทแสดงลําดับคํา

ตัวอยางโครงสราง 主語            +      述語
คุนโดะกุบุน 訓読文
     a              b              c            d               e            f




คะกิกุดะฌิบน 書き下し文
           ุ
     a              b              c            d              e             f




in London ในประโยค We live in London เปน predicate ซึ่งทําให predicate ไมมีความหมายตรงกับ 述語(ดูโครงสราง 3)

                                                      35
คําแปลและคําอธิบาย
a เมฆขาวลอยละลอง
     • 白雲 เปนประธานของคํากริยา 飛

     • ในภาษาญี่ ปุ น โบราณจํ า เป น ต อ งเติ ม ブ หลั ง 飛 เพื่ อ ให อ า นเป น คํ า กริ ย าในรู ป
         しゆうしけい
                11
        終止形 (รู ป จบประโยค) การเติ ม ブ เช น นี้ คื อ การใช เ ครื่ อ งหมายช ว ยการอ า น
                                          おく      が   な
        ประเภทที่เรียกวา โอะกุริงะนะ 送り仮名 ซึ่งจะเขียนดวยอักษรคะตะกะนะ
b ดวงอาทิตยโคจร
     • 日 เปนประธานของคํากริยา 運行

     • ในภาษาญี่ ปุ น โบราณมี คํ า กริ ย าประเภทที่ เ กิ ด จากการเติ ม คํ า กริ ย า す หลั ง

        คํานาม (ในทํานองเดียวกับการใช する ในภาษาญี่ปุนปจจุบัน) 運行 ในภาษาจีนจึง
                  うんかう
        อานวา 運行す ในภาษาญี่ปุนโบราณ การเติม ス เชนนี้คือการใชเครื่องหมายชวย
                                                      おく   が   な
        การอานประเภทที่เรียกวา โอะกุริงะนะ 送り仮名
c ภูเขาสูง
     • 山 เปนประธานของคําคุณศัพท 高
                                             たか                    しゆうしけい
     • ในภาษาญี่ปนโบราณอาน 高 วา 高シ ซึ่งเปนรูป 終止形 (รูปจบประโยค)
                     ุ

d (การ) กระโดด/บินโฉบ (มีลักษณะที่) ทํามุมลาดชัน
    • 飛 เปนประธานของประโยค 急 แสดงลักษณะของ 飛

    • ในตั ว อย า ง a 飛 เป น คํ า กริ ย า แต ใ นประโยคนี้ 飛 เป น ประธานของประโยค
                                       れんたいけい
        ภาษาญี่ปุนโบราณจึงใชรูป 連体形 ตามดวย コト เพื่อทําใหเปนเสมือนหนึ่งคํานาม
            め い し か
        (名詞化)ในบางกรณี อ าจละ コト เพื่ อ ความไพเราะสละสลวยในการอ า นออก

        เสียง
    • ภาษาญี่ปนโบราณใช 急 เปน 形容動詞 ประเภทที่ผนแบบ なり
                 ุ                                           ั
e ทองทะเลกวางใหญสดลูกหูลูกตา
                      ุ
                              やうやう
    •    ภาษาญี่ปุนโบราณใช 洋洋 เปน 形容動詞 ประเภทที่ลงทายดวย タリ กลาวคือ ในตําแหนง
         ที่เปน 述語 ในภาษาจีนนั้น ถาเปนคําที่เกิดจากการใชอักษรเดียวกันซอน


   11
        しゅうしけい

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran_Jarurnphong
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow14
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
vp12052499
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบายตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
Kraisorn Tepung
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
Anan Pakhing
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
Tongsamut vorasan
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบายตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 

Destaque

9789740330158
97897403301589789740330158
9789740330158
CUPress
 
9789740331773
97897403317739789740331773
9789740331773
CUPress
 

Destaque (8)

Het verminderen van de inkomstenbelasting in box 3
Het verminderen van de inkomstenbelasting in box 3Het verminderen van de inkomstenbelasting in box 3
Het verminderen van de inkomstenbelasting in box 3
 
9789740330158
97897403301589789740330158
9789740330158
 
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam الدليل ال...
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam     الدليل ال...Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam     الدليل ال...
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam الدليل ال...
 
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japanตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
9789740331773
97897403317739789740331773
9789740331773
 
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
 
JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120
 

Semelhante a 9789740329824

งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
phornphan1111
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
krunoree.wordpress.com
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
krujee
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
khorntee
 

Semelhante a 9789740329824 (20)

Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
Phuchongkhaprayatachan
PhuchongkhaprayatachanPhuchongkhaprayatachan
Phuchongkhaprayatachan
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
Upenthrawichianchan
UpenthrawichianchanUpenthrawichianchan
Upenthrawichianchan
 
01
0101
01
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
Kamalachan
KamalachanKamalachan
Kamalachan
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 

Mais de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740329824

  • 1. บทที่ 1 ภาษาญี่ปุนสไตลจีน : การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読) か ん ぶ ん く ん ど く 1. การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読) คืออะไร การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ(漢文訓読)หรือเรียกสั้น ๆ วา คุนโดะกุ 訓読 1 หมายถึง การอานคัมบุนและคันฌิ (ซึ่งเปนภาษาจีนโบราณ) โดยอานเปนภาษาญี่ปุนโบราณ เชน 花開 はなひら すんいん を อานวา 花開く(ดอกไมบาน) 惜寸陰 อานวา 寸陰を惜しむ (เสียดายเวลาแมเพียงนอยนิด) やまい り あを これ あゐ 利於病 อานวา 病 に利あり (รักษาโรคได) 青取之於藍而青於藍 อานวา 青は之を藍よ と あゐ あを 2 り取りて藍よりも青し (สี น้ํ า เงิ น ได จ ากต น คราม แต เ ป น สี น้ํ า เงิ น ยิ่ ง กว า ต น คราม) การ อานคัมบุนและคันฌิในลักษณะเชนนี้ดูเหมือนกับเปนการแปลคัมบุนและคันฌิเปนภาษาญี่ปุน โบราณ และอาจจะถือวาเปนการแปลประเภทหนึ่งก็ได แตก็ตางจากการแปลทั่วไป เพราะ เปนการแปลคําตอคําทุกตัวอักษร โดยไมมีความพยายามที่จะผละจากตนฉบับภาษาจีนโบราณ ทําใหเกิดเปนภาษาญี่ปุนโบราณที่ตางจากภาษาญี่ปุนโบราณในงานเขียนอื่นๆ หรืออาจ เรียกไดวาเปน “ภาษาญี่ปุนสไตลจีน” 1 คําวา คุนโดะกุ 訓読 ยังมีความหมายเหมือนคําวา คุนโยะมิ 訓読み ที่หมายถึงการอานอักษรคันจิดวยเสียงคุน 訓 เชน อาน 人 วา ฮิโตะ (ไมอานวา จิน หรือนิน ซึ่งเปนอนโยะมิ 音読み) 2 じゆんし じゆんし คํากลาวนี้อยูในหนังสือ สวินจื่อ『 荀子 』 ประพันธโดยสวินจื่อ 荀子 (298-238 ปกอนคริสตกาล) มีความหมาย しゆつらん しゆつらん ほま เชนเดียวกับ 出 藍 และ 出 藍の誉れ ในภาษาญี่ปุนปจจุบันซึ่งใชในเชิงอุปมาอุปไมยวาลูกศิษยอาจจะเกงกวาครู เอกสารบาง あを あゐ い あゐ あを ひがき เลมจะใชวา 青出于藍而青于藍 และอานวา 青は藍 より出でて藍より青し。ดังเชนที่พบในบทละครโนเรื่องฮิงะกิ 檜垣
  • 2. คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน はなひら ในตัวอยางที่ยกมาขางตนนั้น เพื่อชวยใหคนญี่ปุนรูวาควรอาน 花開 วา 花開く อาน 惜寸 すんいん を やまい り あを 陰 วา 寸陰を惜しむ อาน 利於病 วา 病 に利あり อาน 青取之於藍而青於藍 วา 青は これ あゐ と あゐ あを 之を藍より取りて藍よりも青し และรูความหมายของภาษาจีนที่กําลังอานอยูนั้นไดมีการนํา อักษรคะตะกะนะ อักษรคันจิ และเครื่องหมายตาง ๆ มากํากับเพี่อชวยการอาน ทําใหเกิดเปน ประโยคที่มีเครื่องหมายกํากับการอานในรูปแบบตาง ๆ และนําประโยคที่มีเครื่องหมายกํากับการ อานมาเขียนใหมเพื่อใหอานงายขึ้น โดยใชอักษรคันจิและฮิระงะนะ แลวเรียงลําดับอักษรคันจิ ใหมตามไวยากรณภาษาญี่ปุนโบราณทําใหมีประโยคประเภทตาง ๆ ในคัมบุนดังตัวอยางตอไปนี้ はくぶん くんどくぶん くんどくぶん か くだ ぶん a :白文 b : 訓読文 c : 訓読文 d: 書き下し文 28
  • 3. บทที่ 1 あを これ あゐ と あゐ あを ทั้ง a b c และ d ตางก็อานออกเสียงเหมือนกันวา 青は之を藍より取りて藍よりも青  し。และมีความหมายเหมือนกันคือ “สีนาเงินไดจากตนครามแตเปนสีน้ําเงินยิ่งกวาตนคราม” ้ํ はくぶん a:白文 ประโยคที่ประกอบดวยอักษรคันจิลวน และไมมีเครื่องหมายชวยการอานกํากับดังเชน はくぶん ตัวอยาง a เรียกวา ฮะกุบุน 白文 ซึ่งก็คือประโยคดั้งเดิมที่เปนภาษาจีนโบราณนั่นเอง くんどくぶん b : 訓読文 ประโยคที่มีลําดับอักษรคันจิเหมือนฮะกุบุน 白文 แตมีเครื่องหมายชวยการอานกํากับดวย くんどくぶん ดังตัวอยาง b และ c เรียกวา คุนโดะกุบุน 訓読文 แตตําราบางเลมก็ไมมีชื่อเรียกโดยเฉพาะ และบางก็เรียกวา คัมบุน 漢文 ซึ่งทําใหคําวา คัมบุน 漢文 นอกจากจะมีความหมายทั้งหมด ตามที่กลาวมาขางตนในบทนําแลวก็ยังมีความหมายแคบในการใชในกรณีนี้ดวย สําหรับหนังสือ くんどくぶん เลมนี้จะใชชื่อ 訓読文 เพราะนาจะเขาใจงายกวาและไมเกิดความสับสนกับคําวา คัมบุน 漢文 くんどくぶん c : 訓読文 くんどくぶん คุนโดะกุบุน 訓読文 จะมี 2 แบบ แบบแรกดังตัวอยาง b จะมีเครื่องหมายชวยการอาน (ซึ่ง จะอธิบายโดยละเอียดในขอ 4-9) เฉพาะประเภทที่เรียกวาคะเอะริ-เต็น 返り点 เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการพิมพ แตทําความเขาใจไดยาก หนังสือเลมนี้จึงเปนแบบ c แบบที่ 2 ดังตัวอยาง c จะมีเครื่องหมายกํากับเพื่อชวยการอาน ทั้งประเภทที่เรียกวา おく が な かへ てん โอะกุริงะนะ 送り仮名 (เชน ハ ที่อยูมุมขวาลางของ 青) และคะเอะริ-เต็น 返り点 (เชน ニ ที่อยู มุมซายลางของ 取) か くだ ぶん d: 書き下し文 ประโยคที่มีท้ังอักษรคันจิและฮิระงะนะและเรียงลําดับอักษรคันจิตางจากฮะกุบุน 白文 โดยเรียงลําดับใหมตามไวยากรณภาษาญี่ปุนโบราณ ดังตัวอยาง d โดยทั่วไปเรียกวา คะกิกดะฌิ ุ 29
  • 4. คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน か くだ ぶん よ くだ ぶん บุน 書き下し文 แตบางครั้งก็เรียกวา โยะมิกุดะฌิบุน 読み下し文 หรือคัมบุนคุนโดะกุบุน かんぶんくんどくぶん か くだ ぶん 漢文訓読文 สําหรับหนังสือเลมนี้จะใชชื่อคะกิกุดะฌิบุน 書き下し文 ตามที่ใชกันสวนใหญ くんどくぶん วิธีการใชอักษรคะนะที่ใชในคุนโดะกุบุน 訓読文 และคะกิกุดะฌิบุน 書き下し文 ทีถกตอง ู่ จะเปนแบบเกาที่ใชกันมาในภาษาญี่ปุนทั่วไปจนถึง ค.ศ. 1946 ที่เรียกวา เระกิฌิ คะนะสุกะอิ れ き し か な づ か 3 あを あお あゐ あい 歴史仮名遣ひ เชน 青 ไมใช 青 และ 藍 ไมใช 藍 แตปจจุบันมีตําราคัมบุนอยูไมนอยที่ใชแบบ げんだいかなづか ใหมหรือแบบปจจุบันที่เรียกวา เก็นดะอิ คะนะสุกะอิ 現代仮名遣ひ สําหรับหนังสือเลมนี้จะใช เระกิฌิ คะนะสุกะอิ 歴史仮名遣ひ เพื่อคงแบบแผนเดิมที่ถูกตองไวและใชในทุกแหงตลอดทั้ง เลมเพื่อฝกผูอานใหคุนเคย อันจะเปนประโยชนในการอานเอกสารภาษาญี่ปุนจํานวนมากที่ใช เระกิฌิ คะนะสุกะอิ 歴史仮名遣ひ か ん ぶ ん く ん ど く 2. ที่มาของการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ( 漢文訓読) เมื่อญี่ปุนเริ่มรูจักอักษรคันจิและคัมบุนและยังไมมีอักษรของตนเองนั้น คนญี่ปุนบันทึกสิ่ง ตาง ๆ ดวยคัมบุนและอานออกเสียงเปนภาษาจีนตามที่ครูชาวจีนหรือชาวเกาหลี หรือชาวญี่ปุน ที่อา นภาษาจี น เปน สอนให อ า น วะนิ ที่นํ า คัม ภี รห ลุ น อวี่ ม าก็ ไดเ ปน ครู ส อนคัม บุน ใหเ จ า ชาย うじ の わ き い ら つ こ わうじんてんわう อุจิโนะวะกิอิระทซุโกะ 莵道稚朗子 พระราชโอรสจักรพรรดิโอจิน (応神天皇) สวนการแปลคัม な ら へいあん บุนในระยะแรก ๆ คือชวงสมัยนาระ 奈良 (ค.ศ. 710-794) จนถึงประมาณตนสมัยเฮอัน平安 (ค.ศ. 794-1185) นั้น สันนิษฐานวาคนญี่ปุนแปลโดยใชภาษาญี่ปุนที่ใกลเคียงกับภาษาเขียน ぶんご หรือที่เรียกวา บุงโงะ 文語 ในยุคนั้น ๆ นับเปนการแปลเปนภาษาญี่ปุนที่คอนขางเสรีแลวแต บุคคล たう แตหลังจากที่ราชวงศถัง 唐 (ค.ศ. 618-907) ลมสลาย และญี่ปุนเห็นวาการเดินทางไปจีน ยากลําบากและอันตรายมาก จึงสงทูตไปเปนทางการเปนครั้งสุดทายใน ค.ศ. 894 หลังจากนั้น จนถึงประมาณคริสตศตวรรษที่ 12 ญี่ปุนกับจีนแทบจะไมมีการติดตอกันเลย เมื่อเวลาผานไป นานเขาก็แทบจะหาผูที่สามารถอานออกเสียงเปนภาษาจีนไดยาก นอกจากนี้การบันทึกความคิด หรือการกระทําโดยใชสื่อภาษาจีนก็เปนเรื่องยุงยากสําหรับคนญี่ปุนมากทีเดียว เนื่องจากความ 3 ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก หัวขอภาษาญี่ปุนโบราณ 30
  • 5. บทที่ 1 แตกต า งที่ มี อ ยู ม ากมายระหว า ง 2 ภาษานี้ เช น ภาษาญี่ ปุ น มี คํ า ช ว ย มี ก ารผั น คํ า กริ ย า คําคุณศัพทเปนรูปตาง ๆ มีการแสดงกาล ขณะที่ภาษาจีนแทบจะไมมี ลําดับคําก็ตางกัน เชน กรรมในภาษาจีนจะตามหลังคํากริยา เปนตน (ดูขอ 3 โครงสรางภาษาจีนโบราณ) ในที่สุดญี่ปุนจึงไดคิดวิธีอานคัมบุนและคันฌิในแบบของตนเอง คือไมอานออกเสียงเปน ภาษาจีน แตอานออกเสียงเปนภาษาญี่ปุนทั้งหมด ตั้งแตออกเสียงอักษรคันจิเปนภาษาญี่ปุน (เชนแทนที่จะอาน 花 ซึ่งเปนอักษรภาพที่มีความหมายวาดอกไม โดยใชคําภาษาจีนซึ่งคือ ฮวา ก็ ใชคําภาษาญี่ปุนที่มีความหมายวาดอกไมคือคําวา “ฮะนะ” มาอาน) และเติมคําชวย คําชวย กริยา ไปจนถึงเปลี่ยนลําดับการอานอักษรคันจิใหเปนไปตามลําดับคําในภาษาญี่ปุนและใชวิธี อื่น ๆ อีก (ดังที่จะอธิบายในบทตอ ๆ ไป) วิธีตาง ๆ เหลานี้สรางวิวัฒนาการทางภาษาญี่ปุนที่มี รูปแบบเฉพาะสําหรับการอานคัมบุน เรียกวา “การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ”(漢文訓読)โดย มีเครื่องหมายตาง ๆ มากํากับเพี่อชวยใหรูวิธีการอาน ในสมัยคะมะกุระ-มุโระมะชิ (ค.ศ. 1185-1573) ซึ่งเปนสมัยที่พระสงฆโดยเฉพาะที่วัด 5 แหงในกรุงเกียวโตเปนผูนําในการแตงคัมบุนและคันฌินั้น การอานจะมีกฎตายตัวและเปนการ พยายามถอดตัวอักษรคันจิทุกตัวเปนภาษาญี่ปุน โดยมีหลักวาอักษรคันจิแตละตัวจะตองถอด เปนภาษาญี่ปุนใหเหมือนกันทุกครั้งเทาที่จะทําได คลายกับการแปลแบบคําตอคําดวยเครื่อง คอมพิวเตอร “การอ า นคั ม บุ น แบบคุ น โดะกุ ” ในแต ล ะสมั ย จึ ง มี ค วามแตกต า งกั น รู ป แบบที่ ใ ช อ ยู ใ น ป จ จุ บั น นั้ น เป น รู ป แบบที่ รั บ สื บ ต อ มาจากรู ป แบบที่ ใ ช อ ยู ใ นคริ ส ต ศ ตวรรษที่ 19 ซึ่ ง กระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุนไดนํามาชําระและบัญญัติแบบแผนเพื่อใหใชเปนระบบเดียวกันใน ค.ศ. 1912 รูปแบบที่ใชอยูในปจจุบันยังคงมีภาษาที่ใชอานคัมบุนตั้งแตชวงสมัยนาระ (ค.ศ. 710- 794) เปนตนมาหลงเหลืออยูบาง ดังนั้น คําบางคําและไวยากรณโบราณบางลักษณะที่ไมมีใน ภาษาญี่ปุนปจจุบันแลวนั้นจะยังคงมีอยูในภาษาที่ใชอานคัมบุน4 ภาษาญี่ปุนในรูปแบบเฉพาะที่ ใชอานคัมบุนนี้ไดมีอิทธิพลตอภาษาเขียนทั่วไปในแตละสมัยเปนอยางมาก จนในสมัยเมจิ (ค.ศ. 1868-1912) ภาษาเขียนในเอกสารราชการจะใกลเคียงกับที่ใชในการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ 4 たかはしのむしまろ แมแตในบทกวีญี่ปุนของทะกะฮะฌิ โนะ มุฌิมะโระ 高橋虫麻呂 (ไมทราบปเกิดและตาย) ที่ไดรับการรวบรวมไวในชุมนุม まんえふしふ บทกวีมันโยฌู『 万葉集』 ชุมนุมบทกวีญี่ปุนเลมแรก (สันนิษฐานวาเรียบเรียงเสร็จหลัง ค.ศ. 759) ก็ยังพบอิทธิพลของ いは たきぐち みどり む し ま ろ ภาษาญี่ปุน แบบที่ใชใ นการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ คือการใช คําวา 曰く ในความหมายวา พูดวา (ดู 滝口 翠 「虫麻呂 でんせつか こうせいほう ちょうか いんよう 伝説歌の構成法:長歌における<引用>」 31
  • 6. คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน ในขณะที่ ภ าษาเขี ย นทั่ ว ไปเปลี่ ย นแปลงไปเรื่ อ ย ๆ จนถึ ง ป จ จุ บั น นั้ น ภาษาที่ ใ ช ใ นการอ า น คั ม บุ น แบบคุ น โดะกุ ที่ ก็ เ ปลี่ ย นแปลงมาตามยุ ค สมั ย นั้ น แทบไม ไ ด เ ปลี่ ย นแปลงอี ก หลั ง คริสตศตวรรษที่ 19 “คัมบุนคุนโดะกุ” ไมไดเปนเพียงรูปแบบการอานคัมบุนเทานั้น แตแทที่จริงแลวยังไดรับ การสืบทอดตอมาเปนรูปแบบการเขียนภาษาญี่ปุนที่สําคัญมากดวย กลาวคือ ถึงแมวาใน สมัยเฮอันเมื่อญี่ปุนประดิษฐอักษรฮิระงะนะของตนเองโดยดัดแปลงจากอักษรคันจิ และคนญี่ปุน ก็ไดเริ่มมีรูปแบบการเขียนแบบญี่ปุนโดยใชอักษรฮิระงะนะดังเชนที่ใชในการเขียนวรรณคดีสําคัญ げんじものがたり คือ เก็นจิโมะโนะงะตะริ『源氏物語』และตอมารูปแบบการเขียนนี้ไดผสมผสานเขากับรูปแบบ การเขียนแบบคัมบุนคุนโดะกุ แตทวาในงานเขียนวิชาการเชนงานเขียนดานศาสนา กฎหมาย และหลาย ๆ ดาน ตั้งแตสมัยโบราณจนถึงประมาณสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เราจะพบรูปแบบ การเขียนแบบคัมบุนคุนโดะกุเปนหลัก5 จึงอาจกลาวไดวา คัมบุนคุนโดะกุไมไดเปนเพียงรูปแบบ การอานที่ญี่ปุนใชอานคัมบุนเทานั้น แตยังไดเปนรูปแบบการเขียนที่ไดชวยสนับสนุนศิลปะ วิทยาการและความคิดของคนญี่ปุนมาตั้งแตยุคโบราณจนถึงยุคสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 3. โครงสรางภาษาจีนโบราณ ดังที่ไดกลาวแลวขางตน คนญี่ปุนอานคัมบุนและคันฌิ (ซึ่งเปนภาษาจีนโบราณ) โดยอาน เปนภาษาญี่ปุนโบราณ และเรียกการอานเชนนี้วาการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ(漢文訓読) หรือเรียกสั้น ๆ วาคุนโดะกุ 訓読 ซึ่งก็คือสิ่งที่อยูในหนังสือเลมนี้และตําราคัมบุนในญี่ปุนนั่นเอง6 ในการอานเชนนี้คนญี่ปุนออกเสียงอักษรคันจิเปนภาษาญี่ปุน เติมคําชวย คําชวยกริยา รวมทั้ง เปลี่ยนลําดับการอานอักษรคันจิใหเปนไปตามลําดับคําในภาษาญี่ปน และใชวิธีอื่น ๆ อีก ุ くんてん ในหัวขอตอไปจะอธิบายเกี่ยวกับเครื่องหมายตาง ๆ ที่เรียกวา คุนเต็น 訓点 ที่ใชกํากับเพี่อ ช ว ยให รูวิ ธี ก ารอา น แต ก อนที่จะอธิ บ ายเกี่ ย วกับ คุ น เต็น การมี พื้ น ความรู พ อสั ง เขปเกี่ย วกั บ โครงสรางภาษาจีนโบราณเปรียบเทียบกับภาษาญี่ปุนและภาษาไทยก็จะชวยใหเขาใจการใช เครื่องหมายเหลานั้นและเขาใจการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุไดงายขึ้น 5 さとう すすむ かんぶんくんどくたい ふつうぶん げんだいにほんぶんごぶん ดูรายละเอียดพรอมตัวอยางประกอบใน 佐藤 進 「漢文訓読体と普通文・現代日本文語文」 6 かんぶんくんどく ตําราคัมบุนบางเลมจึงชื่อ คัมบุนคุนโดะกุ 漢文訓読 32
  • 7. บทที่ 1 ความแตกตางประการสําคัญระหวางภาษาจีนโบราณกับภาษาญี่ปุนโบราณก็คือ การที่ ภาษาญี่ ปุน โบราณมีคําช วยและคํ าชวยกริย า ซึ่ง ทํา ใหรูวา คําใดเปนประธานหรือกรรมใน ประโยคนั้น เปนตน (ซึ่งเปนลักษณะของภาษาญี่ปุนปจจุบันดวย) แตภาษาจีนโบราณมีคําที่ ทําหนาที่ทํานองเดียวกับคําชวยและคําชวยกริยาจํานวนนอยมาก และในกรณีที่มีใชก็ไมไดมี หนาที่ที่ชัดเจนเหมือนในภาษาญี่ปน ุ ในภาษาจีนโบราณสิ่งที่บอกใหรูวาคํานั้นทําหนาที่อะไรในประโยคก็คือ ตําแหนงของคํา นั้น คําเดียวกันอาจเปนคํานามที่เปนประธานของประโยค แตในอีกประโยคคํานั้นอาจทําหนาที่ เปนคํากริยาโดยไมมีการเปลี่ยนรูป (ภาษาจีนไมมีการผันรูปคํา) หรือมีคําอื่นใดมาชวย แตจะรูได จากตําแหนงของคํานั้นในประโยค ลําดับคําในประโยคภาษาจีนโบราณจึงเปนเรื่องสําคัญที่ตอง ศึกษา จุดนี้นับวาภาษาจีนโบราณจะใกลเคียงภาษาไทยมากกวา ยกเวนกรณีของตําแหนงของ สวนขยาย ซึ่งภาษาไทยจะตรงขามกับภาษาจีนและญี่ปุน แตในการอธิบายโครงสรางภาษาจีน โบราณในที่นี้จําเปนตองอิงกับภาษาญี่ปุน เนื่องจากการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ คือการอาน ภาษาจีนโบราณ โดยอานเปนภาษาญี่ปุนโบราณดังกลาวแลวนั่นเอง เพื่อชวยใหเขาใจการใชเครื่องหมายคุนเต็น และเขาใจการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุไดงาย ขึ้น เราสามารถจัดกลุมโครงสรางหรือลําดับคําในภาษาจีนโบราณเปน 6 ประเภทดังตอไปนี้ โครงสรางภาษาจีนโบราณ しゆ ご 7 8 じゆつご 1主語 + 述語 もくてきご 2主語 + 述語 + 目的語 お う こ ほ ご 3主語 + 述語 +(於・于・乎)+ 補語 4主語 + 述語 + 補語 + 目的語 お う こ 5主語 + 述語 + 目的語+(於・于・乎)+ 補語 お う こ 6主語 + 述語 + 補語 +(於・于・乎)+ 補語 อยางไรก็ตาม ภาษาจีนโบราณหรือคัมบุนที่จะพบในหนังสือเลมนี้หรือที่อื่น ๆ ไมใชวาจะมี โครงสรางขางตนนี้อยางชัดเจน ทั้งนี้ก็เพราะวาภาษาจีนโบราณมีลักษณะสําคัญประการหนึ่งคือ 7 しゅご 8 じゅつご 33
  • 8. คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญี่ปุน การละขอความ ที่พบไดบอยและคลายภาษาญี่ปุนและภาษาไทยก็คือ การละประธาน(主 語)นอกจากนี้ก็ยังมีกรณีที่มี การสลับลําดับ โดยวางประธานของประโยคไวสวนทายและวาง สวนที่ตองการเนนไวตนประโยค การสลับลําดับเชนนี้จะพบในประโยคแสดงการอุทาน เปนตน ต อ ไปจะอธิ บ ายเกี่ ย วกั บ โครงสร า งหรื อ ลํ า ดั บ คํ า ในภาษาจี น โบราณแต ล ะประเภท โดยสังเขปดังตอไปนี้ 1主語 + 述語 主語 หมายถึง คํา หรือกลุมคําทีทําหนาที่เปนประธานของประโยค รวมทังคําหรือกลุมคําทีทา ่ ้ ่ ํ หนาทีเ่ ปนสวนขยายประธาน ซึ่งเมื่ออานเปนภาษาญี่ปนโบราณจะเปน คํานาม หรือคําสรรพนาม ุ れんたいけい หรือคําที่เปนเสมือนคํานาม (เชนคํากริยาในรูป 連体形 ตามดวย こと หรืออาจละ こと) ในภาษาจีนโบราณสวนขยายจะวางอยูขางหนาคําทีถกขยายเชนเดียวกับในภาษาญี่ปน   ู่ ุ แตตรงขามกับภาษาไทย 述語 หมายถึง คํา หรือกลุมคําที่ทําหนาที่อธิบายวา ประธานของประโยคทํากิริยาอาการอะไร หรือเปนอยางไร หรือเปนอะไร ซึ่งเมื่ออานเปนภาษาญี่ปุนโบราณจะไดแก คํากริยา (ตัวอยาง a b) คําคุณศัพท (形容詞) (ตัวอยาง c) 形容動詞9 (ตัวอยาง d e) หรือคํานามกับคําชวยกริยา けいようし けいようどうし なり(ตัวอยาง f) รวมทั้งคําที่ทําหนาที่เปนสวนขยายของคําเหลานี้ เพื่อไมใหเกิดความเขาใจคลาดเคลื่อนจะขอใชคําวา 述語 โดยไมแปล ขอใหสังเกตวา 述 語 ตางจากคําวา ภาคแสดง ที่ใชในการอธิบายไวยากรณภาษาไทย เนื่องจากภาคแสดงจะรวม ทุกคําที่ไมไดอยูในภาคประธาน เชน รวมคําที่เปนกรรมของประโยคดวย แต 述語 ไมรวม ขอใหดู โครงสรางตอไปก็จะเขาใจได10 9 ดูคําอธิบายที่ภาคผนวกหัวขอภาษาญี่ปุนโบราณ 10 やまもと 述語 อาจแปลตามตัวอักษรไดวา คําบรรยาย คือเปนคําที่บรรยายวา ประธานทําอะไร เปนอยางไร หรือเปนอะไร ซึ่ง 山本 てつお 哲夫『古典漢文の基礎』หน า 26 เที ย บเท า กั บ คํ า ว า predicate ในไวยากรณ ภ าษาอั ง กฤษ ซึ่ ง ผู เ ขี ย นไม เ ห็ น ด ว ย เพราะ predicate หมายถึง swim ในประโยค Fishes swim. หรือ is an artist ในประโยค She is an artist. (Longman Dictionary of Contemporary English ป 1995) พจนานุกรมภาษาอังกฤษบางเลม เชน Oxford Advanced Learner’s Dictionary ป 2000 ใหคําจํากัดความของ predicate วาเปนสวนที่มีคํากริยา โดยไมไดครอบคลุมไปถึงสวนบรรยายที่เปนคําคุณศัพท หรือคํานาม Password English Dictionary for Speakers of Thai ป 2537 ใหคําแปลของ predicate วา ภาคแสดง และยกตัวอยางวา live 34
  • 9. บทที่ 1 การใชเครื่องหมายกํากับการอาน ลําดับคําในลักษณะนี้เปนโครงสรางที่เขาใจงายมาก เนื่องจากเหมือนกับทั้งภาษาไทย ญี่ปุน และอังกฤษ การที่ลําดับคําในภาษาจีนและญี่ปุนตรงกัน ทําใหไมมีความจําเปนที่จะตองใช เครื่องหมายกํากับการอานประเภทแสดงลําดับคําที่เรียกวาคะเอะริ-เต็น 返り点 จะใชก็เฉพาะ โอะกุริงะนะ 送り仮名 เพื่อแสดงคําชวย คําชวยกริยา และอื่น ๆ ที่ไมปรากฏในอักษรคันจิ โครงสรางนี้เปนเพียงโครงสรางเดียวที่มีลําดับคําเหมือนภาษาญี่ปุน จึงเปนเพียงโครงสราง เดียวที่ไมตองใชเครื่องหมายกํากับการอานประเภทแสดงลําดับคํา ตัวอยางโครงสราง 主語 + 述語 คุนโดะกุบุน 訓読文 a b c d e f คะกิกุดะฌิบน 書き下し文 ุ a b c d e f in London ในประโยค We live in London เปน predicate ซึ่งทําให predicate ไมมีความหมายตรงกับ 述語(ดูโครงสราง 3) 35
  • 10. คําแปลและคําอธิบาย a เมฆขาวลอยละลอง • 白雲 เปนประธานของคํากริยา 飛 • ในภาษาญี่ ปุ น โบราณจํ า เป น ต อ งเติ ม ブ หลั ง 飛 เพื่ อ ให อ า นเป น คํ า กริ ย าในรู ป しゆうしけい 11 終止形 (รู ป จบประโยค) การเติ ม ブ เช น นี้ คื อ การใช เ ครื่ อ งหมายช ว ยการอ า น おく が な ประเภทที่เรียกวา โอะกุริงะนะ 送り仮名 ซึ่งจะเขียนดวยอักษรคะตะกะนะ b ดวงอาทิตยโคจร • 日 เปนประธานของคํากริยา 運行 • ในภาษาญี่ ปุ น โบราณมี คํ า กริ ย าประเภทที่ เ กิ ด จากการเติ ม คํ า กริ ย า す หลั ง คํานาม (ในทํานองเดียวกับการใช する ในภาษาญี่ปุนปจจุบัน) 運行 ในภาษาจีนจึง うんかう อานวา 運行す ในภาษาญี่ปุนโบราณ การเติม ス เชนนี้คือการใชเครื่องหมายชวย おく が な การอานประเภทที่เรียกวา โอะกุริงะนะ 送り仮名 c ภูเขาสูง • 山 เปนประธานของคําคุณศัพท 高 たか しゆうしけい • ในภาษาญี่ปนโบราณอาน 高 วา 高シ ซึ่งเปนรูป 終止形 (รูปจบประโยค) ุ d (การ) กระโดด/บินโฉบ (มีลักษณะที่) ทํามุมลาดชัน • 飛 เปนประธานของประโยค 急 แสดงลักษณะของ 飛 • ในตั ว อย า ง a 飛 เป น คํ า กริ ย า แต ใ นประโยคนี้ 飛 เป น ประธานของประโยค れんたいけい ภาษาญี่ปุนโบราณจึงใชรูป 連体形 ตามดวย コト เพื่อทําใหเปนเสมือนหนึ่งคํานาม め い し か (名詞化)ในบางกรณี อ าจละ コト เพื่ อ ความไพเราะสละสลวยในการอ า นออก เสียง • ภาษาญี่ปนโบราณใช 急 เปน 形容動詞 ประเภทที่ผนแบบ なり ุ ั e ทองทะเลกวางใหญสดลูกหูลูกตา ุ やうやう • ภาษาญี่ปุนโบราณใช 洋洋 เปน 形容動詞 ประเภทที่ลงทายดวย タリ กลาวคือ ในตําแหนง ที่เปน 述語 ในภาษาจีนนั้น ถาเปนคําที่เกิดจากการใชอักษรเดียวกันซอน 11 しゅうしけい