SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
Baixar para ler offline
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ทําไมจึงต้องตั้งอาเซียน ?
ประเทศผู้ร่วมก่อตั้งเห็นว่าการตั้งองค์กรความร่วมมือ ระดับภูมิภาค จะช่วยให้
1. ป้องกันการเกิดความขัดแย้ง
2. ส่งเสริมการระงับข้อพิพาทโดยวิธีสันติ
3. ส่งเสริมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน

ประเทศสมาชิกอาเซียน ประกอบด้วย
1. อินโดนีเซีย                              6. บรูไน
2. มาเลเซีย     ร่วมก่อตั้ง เรียกว่า        7. เวียดนาม
3. ฟิลิปปินส์  “ปฏิญญากรุงเทพ”              8. ลาว
4. สิงคโปร์                                 9. พม่า
5. ไทย                                     10. กัมพูชา
เป้าหมายการจัดตั้งอาเซียน 7 ประการ
1. ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และความก้าวหน้าทางสังคม และ
   วัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพ และความมันคงของภูมภาค
                                              ่        ิ
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และ
   ด้านการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึงกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
                        ่
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม
   การสื่อสาร และการปรับปรุงมาตรฐานการดํารงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ร่วมมือกับองค์กรระดับภูมภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
                            ิ
ทําไมจึงจําเป็นต้องสร้างเป็นประชาคมอาเซียน ?
ประเทศต่างๆ ให้ความสําคัญกับการรวมตัวกันในภูมภาค เพื่อ
                                              ิ
1. เพิ่มอํานาจต่อรองของประเทศสมาชิก
2. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับภูมภาคอืน
                                       ิ    ่

ประชาคมอาเซียน แบ่งออกเป็น 3 เสาหลัก ได้แก่
1. ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
3. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ประชาคมอาเซียน

                                                              ประชาคมการเมือง
                                                                ประชาคมการเมือง
                                                                 และความมั่นคง
                                                               และความมั่นคง


                                                                 ประชาคมอาเซียน
                                                                   ประชาคมอาเซียน

                                      ประชาคม
                                        ประชาคม                                     ประชาคมประชาคม
                                        เศรษฐกิจ                                      สังคมและวัฒนธรรม
                                      เศรษฐกิจ                                 สังคมและวัฒนธรรม

                     One Vision, One Identity, One Community
                          หนึงวิสัยทัศน์, หนึงเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม
                             ่               ่                                                           4
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ความก้าวหน้า AEC …สู่ “ตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน”
                                                                                          ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ในปี 2553
 ส่งเสริมและคุ้มครอง                                                                         (ยกเว้น CLMV ปี 2558)
   การลงทุนระหว่าง                                                     เปิดเสรีการค้า
ประเทศอาเซียนภายใต้                                                        สินค้า
หลัก National Treatment                                                                                       เปิดเสรีบริการเร่งรัด
                                                                                                               4 สาขา (e-ASEAN,
                                       เปิดเสรี                                            เปิดเสรีการค้า      สุขภาพ, ท่องเที่ยว,
                                                                                                                   โลจิสติกส์)
                                      การลงทุน                                 AEC
                                                                                               บริการ


                                                  เปิดเสรี                           การเคลื่อนย้าย
                                               การเคลื่อนย้าย                        แรงงานมีฝีมือ
   ส่งเสริมการเชื่อมโยง
                                                  เงินทุน                              อย่างเสรี    ลงนาม MRA วิชาชีพ 7 สาขา
  ตลาดทุนระหว่างกันและ
                                                                                                     (วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นัก
   พัฒนาตลาดพันธบัตร
                                                                                                     สารวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และ
มาตรการการเปิดเสรีบัญชีทน
                        ุ
                                                                                                               นักบัญชี)
                                                                                                                               9
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวในกรอบอาเซียน
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 มุ่งปรับโครงสร้างตลาดการท่องเที่ยว ส่งเสริมการพัฒนา
ท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ ให้เกิดความเชื่อมโยงเส้นทางในภูมิภาค (ASEAN Tourism Connectivity Corridors) และ
สนับสนุนการเดินทางท่องเที่ยวของเยาวชน
                                                                               การท่องเที่ยว
                                                                                ที่มีคุณภาพ     ความปลอดภัย
                                          ขยายตลาด
                                                                                                และความมั่นคง
                                         การท่องเที่ยว
                                                                                               ของการท่องเที่ยว


               อานวยความ
                                                                                                               การตลาดและ
                  สะดวก
                                                                                                             การส่งเสริมร่วมกัน
               ด้านการขนส่ง

   อานวยความ                                                             ASEAN as
 สะดวกการเดินทาง                                                                                                        พัฒนา
  ในอาเซียนและ                                                            a Single                                  ทรัพยากรมนุษย์
  ระหว่างประเทศ                                                          Destination
                                                                                                                                  14
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี : จัดทา MRAs วิชาชีพ

                                                                               2552        2553                2558
     Skilled Labors
            &                                       จัดท้า MRA สาขา
    Short Term Visits                               อาชีพที่สาคัญ
                                                             ้

                                                      ลงนาม MRA แล้ว 7 ฉบับคือ วิศวกรรม
                                                      พยาบาล สถาปนิก การส้ารวจ ทันตแพทย์
                                                                                                               AEC
                                                      แพทย์ บัญชี
      Sensitive :
       กระทบ
                                                        • ยกเว้นวีซ่าส้าหรับ Short Term Visits และจัดท้า ASEAN
    ตลาดแรงงานใน
                                                          Business Card
       ประเทศ                                           • อ้านวยความสะดวกอื่นๆ ด้านการเคลื่อนย้าย Skilled Labors
                                                        • พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานด้านแรงงานมีฝีมือร่วมกัน


หมายเหตุ อยู่ระหว่างการให้สัตยาบันในความตกลงรับรองคุณสมบัตผู้ทางานซึ้งกันและกัน (MRA) ด้านบุคลากรท่องเที่ยว
                                                          ิ
                                                                                                                      12
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก AEC

      ตลาดขนาด                                   เพิ่มก้าลัง                   ส่งเสริมแหล่ง
        ใหญ่                                     การต่อรอง                        วัตถุดิบ           กลุ่มที่มีวัตถุดิบและแรงงาน
                                                                                                     เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว
                                                                                  ประโยชน์จาก
       ประชากรขนาดใหญ่                               อ้านาจต่อรอง
                                                                                  ทรัพยากรใน
         (580 ล้านคน)                                   เพิ่มขึ้น
                                                                                    อาเซียน            กลุ่มที่มีความถนัดด้าน
                                                                                                             เทคโนโลยี
                                                                                 วัตถุดิบ & ต้นทุน
          ต้นทุนการผลิต                            มีแนวร่วมในการ                                      สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย
                                                                                     ต่้าลง ขีด
              ลดลง                                 เจรจาในเวทีโลก
                                                                                ความสามารถสูงขึ้น
                                                                                                       กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต
            ดึงดูด                                      ดึงดูด                  สามารถเลือกหาที่            ไทย มาเลเซีย
      การลงทุนและการค้า                              ในการท้า FTA                ได้เปรียบที่สุด        อินโดนีเซีย เวียดนาม




                                                                                                                         15
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
Master plan on ASEAN Connectivity
                                                                  ประชาคมอาเซียน
                           ประชาคมการเมือง                                                    ประชาคมสังคม
                                                                        ประชาคมเศรษฐกิจ
                            และความมั่นคง                                                     และวัฒนธรรม




                          ความเชื่อมโยงด้าน                               ความเชื่อมโยงด้าน   ความเชื่อมโยงด้าน
                           โครงสร้างพี้นฐาน                                  กฎระเบียบ           ประชาชน
                        • คมนาคม                               • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก    • การศึกษาและวัฒนธรรม
                        • ICT                                    ทางการค้า                    • การท่องเที่ยว
                        • พลังงาน                              • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก
                                                                 ในการบริการและการลงทุน
                                                               • ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับ
                                                                 ร่วมกัน
                                                               • ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค
                                                               • พิธีการในการข้ามพรมแดน
                                                               • โครงการเสริมสร้างศักยภาพ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
แนวทางการเตรียมความพร้อม

                                   ทาความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน เพื่อให้ เกิ ดความเข้า ใจที่ถูกต้อง
                                    ตรงกัน

                                   สร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ค่านิยมว่าด้วยการไม่
                                    ใช้กาลัง ยึดหลักสันติวิธี และการไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อ
                                    สร้างความสงบ สันติภายในภูมิภาค

                                   เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคง บนพื้นฐาน
                                    ความมั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนการประสานจัดทาข้อมูลกลางในเรื่องอาชญกรรมข้ามชาติ
                                    ในอาเซียน เพื่อใช้แก้ไขปัญหาการก่อการร้าย การค้ายาเสพติด การประพฤติผิดกฎหมาย
                                    และอาชญกรรมข้ามชาติ


                                   เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการทหาร เพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและป้องกัน
                                    ความขัดแย้งที่รนแรง
                                                   ุ


สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
แนวทางการเตรียมความพร้อม
                                   เตรียมความพร้อมสาหรับบุคลากรในสาขาต่างๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่น
                                    เนื่องจากอาเซียนใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประสานงาน ส่วนภาษาท้องถิ่น
                                    ใช้สาหรับการติดต่อสื่อสาร และอานวยความสะดวกต่อประชาชน และนักท่องเที่ยวของ
                                    สมาชิก

                                   ศึกษาข้อมู ลต่า งๆ โดยเฉพาะตัวบทกฎหมายของสมาชิก แต่ละประเทศ เนื่องจากมี
                                    ความแตกต่า งกั น เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ และป้อ งกั น ความ
                                    ขัดแย้งระหว่างประเทศ


                                   ศึ ก ษาวั ฒ นธรรมของสมาชิ ก โดยเฉพาะประเทศที่ มี วั ฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งกั น อาทิ
                                    ชาวมุสลิม เพื่อสร้างความเข้าใจ และการปฏิบัติต่อประชาชนเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง




                                   จัดตั้งสานักงาน/สานัก/ส่วนงาน เพื่อดูแลงานรับผิดชอบงานด้านอาเซียนโดยเฉพาะ ภายใต้
                                    องค์กร


สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม


                                                                        การสร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนา
จุดเน้นของยุทธศาสตร์                                                      เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
“ให้ความสาคัญกับ 3 วง
ของกรอบความร่วมมือ”
                                                                       ๑ อนุภูมิภาค (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC)
 รวมทั้งประเด็นการพัฒนา                                                ๒ อาเซียน (ASEAN)
  ร่วมและปัจจัยสนับสนุน                                                ๓ อาเซียน+3 อาเซียน+6 เอเปค และเอเชียแปซิฟิค

                                       กรอบอนุภูมิภาค                                    อาเซียน        อาเซียน+เอเปค ปัจจัยสนับสนุน
                     เชื่อมโยงการ                 พัฒนาฐานการผลิต/                สร้างความพร้อมเข้า    เข้าร่วมเป็นภาคี      ปรับปรุงและสร้าง
    9                ขนส่ง/โลจิสติกส์
                     โดยพัฒนาบริการ
                                                  ลงทุน ตามแนวพื้นที่
                                                  พัฒนาเศรษฐกิจ
                                                                                  สู่ประชาคมอาเซียน
                                                                                  โดยพัฒนาบุคลากร
                                                                                                        ความร่วมมืออย่าง
                                                                                                        สร้างสรรค์ ทั้ง
                                                                                                                              ความเข้มแข็งของ
                                                                                                                              ภาคีการพัฒนาใน
   แนว               คน ปรับปรุง
                     กฎระเบียบที่
                                                  (Economic corridors)
                                                  และพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                                                  และเสริมสร้าง
                                                                                  สถาบันการศึกษาให้มี
                                                                                                        กรอบปัจจุบันและที่
                                                                                                        เป็นทางเลือก
                                                                                                                              ท้องถิ่น

   ทาง               เกี่ยวข้อง       1           ชายแดน               2          มาตรฐาน         3                     4                         9
                                     สร้างความเป็นหุนส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์/เคลื่อนย้ายแรงงาน/ส่งเสริมแรงงานไทยใน ตปท. 5
                                                    ้
   การ                ประเด็น
                       การ    มีส่วนร่วมอย่างสาคัญในการป้องกันภัยจากการก่อการร้ายและอาชญากรรม ยาเสพย์ติด ภัยพิบัติ และการแพร่ระบาดของโรคภัย 6
  พัฒนา               พัฒนา เสริมสร้างความร่วมมือที่ดีในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรมไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม      7
                       ร่วม
                                     เร่งรัดการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้าเสรีที่มีผลบังคับใช้แล้ว                                                8
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                                 เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม


                                                                               ให้ความสาคัญกับกรอบ GMS ACMECS
                                                                               IMT-GT และ BIMSTEC โดย
 1                                                                             1. พัฒนาบริการขนส่งและโลจิสติกส์ที่มี
         พัฒนาความเชื่อมโยง
                                                                                   ประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากล
  ด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์
                                                                               2. ปรับปรุงกฎระเบียบการขนส่งคนและ
   และพลังงานภายใต้กรอบความ
                                                                                   สินค้าที่เกี่ยวข้อง
      ร่วมมือในอนุภูมิภาคต่างๆ
                                                                                3. พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการขนส่งและ
                                                                                   โลจิสติกส์
                                                                               4. เชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนว
                                                                                   พื้นที่ชายแดน/เขตเศรษฐกิจชายแดน




สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                             เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)




                                                                               1. พัฒนาพื้นที่ในภูมิภาคต่างๆ ของ
                                                                                  ประเทศให้เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชีย
2                                                                                 ตะวันออกเฉียงใต้
    พัฒนาฐานการผลิตและ
การลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ                                                2. พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมือง
                                                                                  ชายแดน
   ในการแข่งขันในอนุภูมิภาค
                                                                               3. บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยง
                                                                                  กับประเทศเพื่อนบ้าน




สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                             เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)




                                                                               1. พัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ
  3                                                                               ภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพในการร่วม
                                                                                  พัฒนาบุคลากรในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจ
 สร้างความพร้อมในการเข้าสู่
                                                                               2. เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ใ ห้
      ประชาคมอาเซียน
                                                                                   สถาบันการศึกษา
                                                                               3. ก าห นด มาตร ฐาน ขั้ น พื้ น ฐาน ข อง
                                                                                   คุณภาพสินค้าและบริการ




สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                             เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)




                                                                               1. รักษาบทบาทของไทยในการมีส่วนร่วม
4 เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือ                                                     กาหนดยุทธศาสตร์ของกรอบความร่วมมือ
ระหว่างประเทศ ระหว่างภูมิภาคโดย                                                   ที่ดาเนินอยู่ และเฝ้าติดตามพัฒนาการของ
  มีบทบาทที่สร้างสรรค์ เพื่อเป็น                                                  และเข้าร่วมกรอบที่เป็นทางเลือกใหม่
  ทางเลือกในการดาเนินนโยบาย                                                    2. รักษาดุลยภาพของปฏิสัมพันธ์กับ
    ระหว่างประเทศในเวทีโลก                                                        มหาอานาจทางเศรษฐกิจเดิมและ
                                                                                  มหาอานาจใหม่




สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                             เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)



                                                                               1. เร่งดาเนินการด้านการยอมรับมาตรฐาน
                                                                                  ฝีมือระหว่างประเทศเพื่ออานวยความ
5      สร้างความเป็นหุ้นส่วน                                                      สะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงาน
   ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้าน                                                    2. ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการขยาย
  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การ                                                      การลงทุนไปสู่ตางประเทศ โดยเฉพาะใน
                                                                                                   ่
เคลื่อนย้ายแรงงาน และการส่งเสริม                                                  ประเทศเพื่อนบ้านเพื่อแก้ปัญหาการขาด
     แรงงานไทยในต่างประเทศ                                                        แคลนแรงงานและวัตถุดิบในประเทศ
                                                                               3. คุ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สิ ท ธิ แ ล ะ
                                                                                  ผลประโยชน์ของคนไทยและแรงงานไทย
                                                                                  ในต่างประเทศ



สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                             เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)


                                                                               1. พัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการ
                                                                                  ป้องกันและแก้ปัญหาข้ามชาติด้านการก่อ
                                                                                  การร้าย ปัญหายาเสพติด และการหลบหนี
 6                                                                                เข้าเมืองทั้งระบบ
     มีส่วนร่วมอย่างสาคัญใน
การป้องกันภัยจากการก่อการร้าย                                                  2. เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติทางธรรมชาติและ
   และอาชญากรรม ยาเสพติด                                                          เหตุฉุกเฉิน โดยพัฒนาศักยภาพและความ
ภัยพิบัติและการแพร่ระบาดโรคภัย                                                    ร่วมมือภายในภูมิภาค
                                                                               3. ร่วมมือในการป้องกันการติดเชื้อและการ
                                                                                  แพร่ระบาดของโรคภัยประเภทที่เกิดขึ้นใหม่




สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                             เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)



                                                                               1. ดาเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศ
                                                                                  ด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
7   เสริมสร้างความร่วมมือที่ดี
                                                                               2. เสริมสร้างการผลิตและบริโภคสินค้าและ
ระหว่างประเทศในการสนับสนุนการ
                                                                                  บริการที่นาสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือน
 เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมี
                                                                                  กระจก ลดมลพิษ ลดการใช้
 จริยธรรมและไม่ส่งผลกระทบต่อ
                                                                                  ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่มี
           สิ่งแวดล้อม
                                                                                  ประสิทธิภาพ และลดผลกระทบต่อ
                                                                                  สิ่งแวดล้อม




สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค
                                               เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)
                                                                    สร้างองค์ความรู้ให้กับภาคธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ได้รับผลกระทบ
8 เร่งรัดการใช้ประโยชน์                                             ทั้งเชิงบวกและลบ เพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพและโอกาส
  จากข้อตกลงการค้าเสรี                                              ของตนเองในการใช้ประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี โดยเฉพาะ
    ที่มีผลบังคับใช้แล้ว                                            อย่างยิ่ง SMEs ได้รับการสนับสนุนเยียวยา และดูแลจากรัฐใน
                                                                    กรณีที่ไม่สามารถปรับตัวได้ทัน




                                                                 1. เสริมสร้างศักยภาพชุมชนท้องถิ่นให้รับรู้และเตรียมพร้อมรับ
9 ปรับปรุงและเสริมสร้าง                                             กระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศ
ความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนา
                                                                 2. สนับสนุนกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่
  ภายในประเทศตั้งแต่ระดับ
        ชุมชนท้องถิ่น                                            3. ส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการและเครือข่ายของ
                                                                    สถาบันการศึกษาของไทย


  สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน
           สิงคโปร์                                                       อินโดนีเซีย                         มาเลเซีย
จุดแข็ง                                                   จุดแข็ง                                    จุดแข็ง
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุดของ                         • ขนาดเศรษฐกิจใหญ่สดในเอเชีย ตอ/ต
                                                                                 ุ                  • รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3
   อาเซียน และติดอันดับ 15 ของโลก                         • ตลาดขนาดใหญ่ (ประชากรมากเป็น               ของอาเซียน
• การเมืองมีเสถียรภาพ                                        อันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชีย   • มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ
• เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่าง                             ตอ/ต)                                     3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2
   ประเทศ                                                 • มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก                  ของเอเชียแปซิฟิก
• แรงงานมีทักษะสูง                                        • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ           • ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร
• ชานาญด้านการจัดการทรัพยากร                                 จานวนมาก โดยเฉพาะถ่านหิน น้ามัน        • แรงงานมีทักษะ
   บุคคล และธุรกิจ                                           ก๊าซธรรมชาติ โลหะต่างๆ
• มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลาง                       • ระบบธนาคารค่อนข้างแข็งแกร่ง
   เดินเรือ
จุดอ่อน                                                   จุดอ่อน                                   จุดอ่อน
• พึ่งพาการนาเข้าวัตถุดิบและขาดแคลน                       • ที่ตั้งเป็นเกาะและกระจายตัว             • จานวนประชากรค่อนข้างน้อย ทาให้
   แรงงานระดับล่าง                                        • สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา              ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะระดับ
• ค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุรกิจสูง                             เท่าที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม              ล่าง
                                                             และการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ
ประเด็นที่น่าสนใจ                                         ประเด็นที่น่าสนใจ                         ประเด็นที่น่าสนใจ
• พยายามขยายโครงสร้างเศรษฐกิจ                             • การลงทุนส่วนใหญ่เน้นใช้ทรัพยากร         • ตั้งเป้าหมายเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว”
  มายังภาคบริการมากขึน เพื่อลดการ
                       ้                                     ในประเทศเป็นหลัก                         ในปี 2563
  พึ่งพาการส่งออกสินค้า                                                                             • ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสาคัญที่
                                                                                                      คล้ายคลึงกับไทย
                                                                                                    • มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วย
                                                                                                      เทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง
                                                                                                                                    52
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน
          บรูไน                                                       ฟิลิปปินส์                             เวียดนาม
จุดแข็ง                                                    •จุดแข็ง                                   จุดแข็ง
• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2                     • ประชากรจานวนมากอันดับ 12 ของ            • ประชากรจานวนมากอันดับ 14 ของ
   ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก                             โลก (>100 ล้านคน)                         โลก (~90 ล้านคน)
• การเมืองค่อนข้างมั่นคง                                   • แรงงานทั่วไปมีความรู้-สื่อสาร           • มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ
                                                                                                        2 ของเอเชียแปซิฟิก
• เป็นผู้ส่งออกน้ามัน และมีปริมาณ                             ภาษาอังกฤษได้                          • มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200
   สารองน้ามันอันดับ 4 ของอาเซียน                                                                       กิโลเมตร
                                                                                                     • การเมืองมีเสถียรภาพ
                                                                                                     • ค่าจ้างแรงงานเกือบต่าสุดในอาเซียน
                                                                                                        รองจากกัมพูชา
จุดอ่อน                                                    จุดอ่อน                                   จุดอ่อน
• ตลาดขนาดเล็ก ประชากรประมาณ 4                             • ที่ตั้งห่างไกลจากประเทศสมาชิก           • ระบบสาธารณูปโภคพืนฐานยังไม่ได้
                                                                                                                             ้
   แสนคน                                                      อาเซียน                                   รับการพัฒนาเท่าที่ควร
• ขาดแคลนแรงงาน                                            • ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสวัสดิ          • ต้นทุนที่ดินและค่าเช่าสานักงาน
                                                                                                        ค่อนข้างสูง
                                                              ภาพทางสังคมยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ประเด็นที่น่าสนใจ                                          ประเด็นที่น่าสนใจ                         ประเด็นที่น่าสนใจ
• มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจใกล้ชิด                         • สหภาพแรงงานมีบทบาทค่อนข้างมาก           • มีรายได้และความต้องการสูงขึ้นจาก
  กับสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย                         และมีการเรียกร้องเพิ่มค่าแรงอยู่เสมอ     เศรษฐกิจที่โตเร็ว
• การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพึ่งพา                        • การลงทุนส่วนใหญ่เป็นการรองรับ
  สิงคโปร์เป็นหลัก                                            ความต้องการภายในประเทศเป็นหลัก
• ให้ความสาคัญกับความมั่นคงทาง
  อาหารค่อนข้างมาก

                                                                                                                                   53
 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน
          กัมพูชา                                                     สปป.ลาว                               พม่า
จุดแข็ง                                                    •จุดแข็ง                                  จุดแข็ง
• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ                            • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ          • มีทรัพยากรธรรมชาติ น้ามันและก๊าซ
   อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้า ป่าไม้ และ                         อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้าและแร่            ธรรมชาติจานวนมาก
   แร่ชนิดต่างๆ                                               ชนิดต่างๆ                             • มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย
                                                           • การเมืองมีเสถียรภาพ
• ค่าจ้างแรงงานต่าสุดในอาเซียน (1.6                        • ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่า (2.06         • ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่า (2.5
   USD/day)                                                   USD/day)                                 USD/day)


จุดอ่อน                                                    จุดอ่อน                                  จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา                        • ระบบสาธารณูปโภคพืนฐานยังไม่
                                                                                     ้              • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา
   เท่าที่ควร                                                 พัฒนาเท่าที่ควร                          เท่าที่ควร
• ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้า ไฟฟ้า และการ                      • พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา   • ความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบาย
                                                              การคมนาคมไม่สะดวก ไม่มีทางออก
   สื่อสาร) ค่อนข้างสูง                                       สู่ทะเล
• ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ
ประเด็นที่น่าสนใจ                                          ประเด็นที่น่าสนใจ                        ประเด็นที่น่าสนใจ
• ประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจ                      • การลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม            • การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมใน
   บั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุน                        โครงสร้างพื้นฐาน พลังงานน้า และ          ประเทศเชิงรุก ทั้งทางถนน รถไฟ
   ระหว่างกันในอนาคตได้                                      เหมืองแร่
                                                                                                      ความเร็วสูง และท่าเรือ



                                                                                                                                   54
 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน
           ไทย
    จุดแข็ง
   • เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลายรายการรายใหญ่ของโลก
   • ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ
   • สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง
   • ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง
   • แรงงานจานวนมาก
   จุดอ่อน
   • แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ
   • เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง
   ประเด็นที่น่าสนใจ
   • ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางอาเซียนในหลายด้าน อาทิ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และศูนย์กลาง
       การท่องเที่ยว
   • ดาเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่
       53% สะท้อนการเตรียมพร้อมอย่างจริงจัง
                                                                                   55
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
โอกาส
  ภาคการค้า
  • ขยายตลาดส่งออกสินค้า              สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์/ชิ้นส่วน
  • วัตถุดิบ/สินค้าขั้นกลางนาเข้าราคา เม็ดพลาสติก/ผลิตภัณฑ์ อัญมณี/เครื่องประดับ ยาง/
    ต่าลง                             ผลิตภัณฑ์
                                      สิ่งทอ/เสื้อผ้า อาหารทะเลแปรรูป/กระป๋อง วัสดุ
                                      ก่อสร้าง
  ภาคการลงทุน
  • โอกาสออกไปลงทุนต่างประเทศ การลดเงื่อนไขภาคบริการ/การลงทุนภายใต้ FTA
  • โอกาสดึงดูด FDI เข้าไทย                                            นักลงทุ นนอกอาเซียนเข้ ามาตั้ง ฐานการผลิ ตในไทย
                                                                       และใช้ วั ต ถุ ดิ บ น าเข้ า จากประเทศสมาชิ ก เพื่ อ ได้
                                                                       ประโยชน์ทางภาษีภายใต้กรอบอาเซียน และส่งออก
                                                                       ไปยังประเทศอาเซียนหรือประเทศที่จัดทา FTA กับ
                                                                       อ า เ ซี ย น ส่ ง ผ ล ใ ห้ ธุ ร กิ จ ไ ท ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง เ ช่ น
                                                                       อสังหาริมทรัพย์ วัสดุก่อสร้างมีโอกาสเติบโต
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
โอกาส

ภาคบริการ
• เปิดเสรีการค้าบริการ : บริการทางด้านสุขภาพ โดยเป็น Medical
  hub ในประชาคมอาเซียน
• การเคลื่อนย้ายฝีมือแรงงานอย่างเสรี : ในวิชาชีพ 7 สาขา
  ประกอบด้วย วิศวกร สถาปนิก แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล นักสํารวจ
  และนักบัญชี สามารถเดินทางไปทํางานในประเทศสมาชิกประชาคม
  อาเซียนได้โดยเสรี
ผลกระทบทางลบ

• โรคทีแพร่ระบาดได้จากการเคลื่อนย้ายของประชากร
        ่
• โรคทีแพร่ได้จากการนําเข้าสัตว์หรือผลิตภัณฑ์จากสัตว์
          ่
• โรคทีแพร่ได้จากการนําเข้าพืชผัก และผลไม้ เพื่อนํามาใช้เป็นอาหาร
            ่
• โรคติดต่อที่ถูกกําจัดกวาดล้างให้หมดไปจากประเทศไทยแล้ว แต่ยงคงพบการเกิด
                                                                 ั
  โรคในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น กาฬโรค โปลิโอ เป็นต้น
• โรคที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ และสูบบุหรี่ ซึ่งเป็นสินค้าทีทาลายสุขภาพ โดย
                                                             ่ ํ
  มีการลดกําแพงภาษีการนําเข้าสินค้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
                                     ฯลฯ
Thank you




                                                              www.nesdb.go.th


                                                                                50
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายphunbuppha jinawong
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์zidane36
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1sompak02
 
อธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟ
อธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟอธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟ
อธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟเกสรา มณีวงษ์
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศnarongsakday
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีHospital for Health
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1pageใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...Suradet Sriangkoon
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 

Mais procurados (20)

กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่าย
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
 
อธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟ
อธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟอธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟ
อธิบายการหาพื้นที่ใต้กราฟ
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
 
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
ครัวป่า
ครัวป่าครัวป่า
ครัวป่า
 
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1pageใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
 
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐานเวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Semelhante a Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian

มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยมอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยPongsawat Krishnamra
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑Kruthai Kidsdee
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558Samran Narinya
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8Chuta Tharachai
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 
AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai ThieanphutAEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai ThieanphutDrDanai Thienphut
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศSaran Yuwanna
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554Zabitan
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยังท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยังnattatira
 

Semelhante a Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian (20)

มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยมอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
 
Asean...pongsak
Asean...pongsakAsean...pongsak
Asean...pongsak
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
 
Pp suthad
Pp suthadPp suthad
Pp suthad
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai ThieanphutAEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศ
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
Aseanict masterplan2015
Aseanict masterplan2015Aseanict masterplan2015
Aseanict masterplan2015
 
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยังท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
 

Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian

  • 1. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ทําไมจึงต้องตั้งอาเซียน ? ประเทศผู้ร่วมก่อตั้งเห็นว่าการตั้งองค์กรความร่วมมือ ระดับภูมิภาค จะช่วยให้ 1. ป้องกันการเกิดความขัดแย้ง 2. ส่งเสริมการระงับข้อพิพาทโดยวิธีสันติ 3. ส่งเสริมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ประเทศสมาชิกอาเซียน ประกอบด้วย 1. อินโดนีเซีย 6. บรูไน 2. มาเลเซีย ร่วมก่อตั้ง เรียกว่า 7. เวียดนาม 3. ฟิลิปปินส์ “ปฏิญญากรุงเทพ” 8. ลาว 4. สิงคโปร์ 9. พม่า 5. ไทย 10. กัมพูชา
  • 2. เป้าหมายการจัดตั้งอาเซียน 7 ประการ 1. ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และความก้าวหน้าทางสังคม และ วัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพ และความมันคงของภูมภาค ่ ิ 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และ ด้านการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซึงกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย ่ 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และการปรับปรุงมาตรฐานการดํารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ร่วมมือกับองค์กรระดับภูมภาคและองค์กรระหว่างประเทศ ิ
  • 3. ทําไมจึงจําเป็นต้องสร้างเป็นประชาคมอาเซียน ? ประเทศต่างๆ ให้ความสําคัญกับการรวมตัวกันในภูมภาค เพื่อ ิ 1. เพิ่มอํานาจต่อรองของประเทศสมาชิก 2. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับภูมภาคอืน ิ ่ ประชาคมอาเซียน แบ่งออกเป็น 3 เสาหลัก ได้แก่ 1. ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
  • 4. ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมือง ประชาคมการเมือง และความมั่นคง และความมั่นคง ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ประชาคม ประชาคม ประชาคมประชาคม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม One Vision, One Identity, One Community หนึงวิสัยทัศน์, หนึงเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม ่ ่ 4 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 5. ความก้าวหน้า AEC …สู่ “ตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน” ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ในปี 2553 ส่งเสริมและคุ้มครอง (ยกเว้น CLMV ปี 2558) การลงทุนระหว่าง เปิดเสรีการค้า ประเทศอาเซียนภายใต้ สินค้า หลัก National Treatment เปิดเสรีบริการเร่งรัด 4 สาขา (e-ASEAN, เปิดเสรี เปิดเสรีการค้า สุขภาพ, ท่องเที่ยว, โลจิสติกส์) การลงทุน AEC บริการ เปิดเสรี การเคลื่อนย้าย การเคลื่อนย้าย แรงงานมีฝีมือ ส่งเสริมการเชื่อมโยง เงินทุน อย่างเสรี ลงนาม MRA วิชาชีพ 7 สาขา ตลาดทุนระหว่างกันและ (วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นัก พัฒนาตลาดพันธบัตร สารวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และ มาตรการการเปิดเสรีบัญชีทน ุ นักบัญชี) 9 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 6. ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวในกรอบอาเซียน แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 มุ่งปรับโครงสร้างตลาดการท่องเที่ยว ส่งเสริมการพัฒนา ท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ ให้เกิดความเชื่อมโยงเส้นทางในภูมิภาค (ASEAN Tourism Connectivity Corridors) และ สนับสนุนการเดินทางท่องเที่ยวของเยาวชน การท่องเที่ยว ที่มีคุณภาพ ความปลอดภัย ขยายตลาด และความมั่นคง การท่องเที่ยว ของการท่องเที่ยว อานวยความ การตลาดและ สะดวก การส่งเสริมร่วมกัน ด้านการขนส่ง อานวยความ ASEAN as สะดวกการเดินทาง พัฒนา ในอาเซียนและ a Single ทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศ Destination 14 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 7. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี : จัดทา MRAs วิชาชีพ 2552 2553 2558 Skilled Labors & จัดท้า MRA สาขา Short Term Visits อาชีพที่สาคัญ ้ ลงนาม MRA แล้ว 7 ฉบับคือ วิศวกรรม พยาบาล สถาปนิก การส้ารวจ ทันตแพทย์ AEC แพทย์ บัญชี Sensitive : กระทบ • ยกเว้นวีซ่าส้าหรับ Short Term Visits และจัดท้า ASEAN ตลาดแรงงานใน Business Card ประเทศ • อ้านวยความสะดวกอื่นๆ ด้านการเคลื่อนย้าย Skilled Labors • พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานด้านแรงงานมีฝีมือร่วมกัน หมายเหตุ อยู่ระหว่างการให้สัตยาบันในความตกลงรับรองคุณสมบัตผู้ทางานซึ้งกันและกัน (MRA) ด้านบุคลากรท่องเที่ยว ิ 12 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 8. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก AEC ตลาดขนาด เพิ่มก้าลัง ส่งเสริมแหล่ง ใหญ่ การต่อรอง วัตถุดิบ กลุ่มที่มีวัตถุดิบและแรงงาน เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว ประโยชน์จาก ประชากรขนาดใหญ่ อ้านาจต่อรอง ทรัพยากรใน (580 ล้านคน) เพิ่มขึ้น อาเซียน กลุ่มที่มีความถนัดด้าน เทคโนโลยี วัตถุดิบ & ต้นทุน ต้นทุนการผลิต มีแนวร่วมในการ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย ต่้าลง ขีด ลดลง เจรจาในเวทีโลก ความสามารถสูงขึ้น กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต ดึงดูด ดึงดูด สามารถเลือกหาที่ ไทย มาเลเซีย การลงทุนและการค้า ในการท้า FTA ได้เปรียบที่สุด อินโดนีเซีย เวียดนาม 15 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 9. Master plan on ASEAN Connectivity ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมือง ประชาคมสังคม ประชาคมเศรษฐกิจ และความมั่นคง และวัฒนธรรม ความเชื่อมโยงด้าน ความเชื่อมโยงด้าน ความเชื่อมโยงด้าน โครงสร้างพี้นฐาน กฎระเบียบ ประชาชน • คมนาคม • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก • การศึกษาและวัฒนธรรม • ICT ทางการค้า • การท่องเที่ยว • พลังงาน • เปิดเสรีและอานวยความสะดวก ในการบริการและการลงทุน • ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับ ร่วมกัน • ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค • พิธีการในการข้ามพรมแดน • โครงการเสริมสร้างศักยภาพ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 10. แนวทางการเตรียมความพร้อม  ทาความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน เพื่อให้ เกิ ดความเข้า ใจที่ถูกต้อง ตรงกัน  สร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ค่านิยมว่าด้วยการไม่ ใช้กาลัง ยึดหลักสันติวิธี และการไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อ สร้างความสงบ สันติภายในภูมิภาค  เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคง บนพื้นฐาน ความมั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนการประสานจัดทาข้อมูลกลางในเรื่องอาชญกรรมข้ามชาติ ในอาเซียน เพื่อใช้แก้ไขปัญหาการก่อการร้าย การค้ายาเสพติด การประพฤติผิดกฎหมาย และอาชญกรรมข้ามชาติ  เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการทหาร เพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและป้องกัน ความขัดแย้งที่รนแรง ุ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 11. แนวทางการเตรียมความพร้อม  เตรียมความพร้อมสาหรับบุคลากรในสาขาต่างๆ อาทิ ภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่น เนื่องจากอาเซียนใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประสานงาน ส่วนภาษาท้องถิ่น ใช้สาหรับการติดต่อสื่อสาร และอานวยความสะดวกต่อประชาชน และนักท่องเที่ยวของ สมาชิก  ศึกษาข้อมู ลต่า งๆ โดยเฉพาะตัวบทกฎหมายของสมาชิก แต่ละประเทศ เนื่องจากมี ความแตกต่า งกั น เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ และป้อ งกั น ความ ขัดแย้งระหว่างประเทศ  ศึ ก ษาวั ฒ นธรรมของสมาชิ ก โดยเฉพาะประเทศที่ มี วั ฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งกั น อาทิ ชาวมุสลิม เพื่อสร้างความเข้าใจ และการปฏิบัติต่อประชาชนเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง  จัดตั้งสานักงาน/สานัก/ส่วนงาน เพื่อดูแลงานรับผิดชอบงานด้านอาเซียนโดยเฉพาะ ภายใต้ องค์กร สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 12. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม การสร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนา จุดเน้นของยุทธศาสตร์ เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม “ให้ความสาคัญกับ 3 วง ของกรอบความร่วมมือ” ๑ อนุภูมิภาค (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC) รวมทั้งประเด็นการพัฒนา ๒ อาเซียน (ASEAN) ร่วมและปัจจัยสนับสนุน ๓ อาเซียน+3 อาเซียน+6 เอเปค และเอเชียแปซิฟิค กรอบอนุภูมิภาค อาเซียน อาเซียน+เอเปค ปัจจัยสนับสนุน เชื่อมโยงการ พัฒนาฐานการผลิต/ สร้างความพร้อมเข้า เข้าร่วมเป็นภาคี ปรับปรุงและสร้าง 9 ขนส่ง/โลจิสติกส์ โดยพัฒนาบริการ ลงทุน ตามแนวพื้นที่ พัฒนาเศรษฐกิจ สู่ประชาคมอาเซียน โดยพัฒนาบุคลากร ความร่วมมืออย่าง สร้างสรรค์ ทั้ง ความเข้มแข็งของ ภาคีการพัฒนาใน แนว คน ปรับปรุง กฎระเบียบที่ (Economic corridors) และพัฒนาเศรษฐกิจ และเสริมสร้าง สถาบันการศึกษาให้มี กรอบปัจจุบันและที่ เป็นทางเลือก ท้องถิ่น ทาง เกี่ยวข้อง 1 ชายแดน 2 มาตรฐาน 3 4 9 สร้างความเป็นหุนส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์/เคลื่อนย้ายแรงงาน/ส่งเสริมแรงงานไทยใน ตปท. 5 ้ การ ประเด็น การ มีส่วนร่วมอย่างสาคัญในการป้องกันภัยจากการก่อการร้ายและอาชญากรรม ยาเสพย์ติด ภัยพิบัติ และการแพร่ระบาดของโรคภัย 6 พัฒนา พัฒนา เสริมสร้างความร่วมมือที่ดีในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรมไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 7 ร่วม เร่งรัดการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้าเสรีที่มีผลบังคับใช้แล้ว 8 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 13. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ให้ความสาคัญกับกรอบ GMS ACMECS IMT-GT และ BIMSTEC โดย 1 1. พัฒนาบริการขนส่งและโลจิสติกส์ที่มี พัฒนาความเชื่อมโยง ประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากล ด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ 2. ปรับปรุงกฎระเบียบการขนส่งคนและ และพลังงานภายใต้กรอบความ สินค้าที่เกี่ยวข้อง ร่วมมือในอนุภูมิภาคต่างๆ 3. พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการขนส่งและ โลจิสติกส์ 4. เชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนว พื้นที่ชายแดน/เขตเศรษฐกิจชายแดน สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 14. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) 1. พัฒนาพื้นที่ในภูมิภาคต่างๆ ของ ประเทศให้เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชีย 2 ตะวันออกเฉียงใต้ พัฒนาฐานการผลิตและ การลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ 2. พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมือง ชายแดน ในการแข่งขันในอนุภูมิภาค 3. บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยง กับประเทศเพื่อนบ้าน สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 15. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) 1. พัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ 3 ภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพในการร่วม พัฒนาบุคลากรในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจ สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ 2. เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ใ ห้ ประชาคมอาเซียน สถาบันการศึกษา 3. ก าห นด มาตร ฐาน ขั้ น พื้ น ฐาน ข อง คุณภาพสินค้าและบริการ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 16. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) 1. รักษาบทบาทของไทยในการมีส่วนร่วม 4 เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือ กาหนดยุทธศาสตร์ของกรอบความร่วมมือ ระหว่างประเทศ ระหว่างภูมิภาคโดย ที่ดาเนินอยู่ และเฝ้าติดตามพัฒนาการของ มีบทบาทที่สร้างสรรค์ เพื่อเป็น และเข้าร่วมกรอบที่เป็นทางเลือกใหม่ ทางเลือกในการดาเนินนโยบาย 2. รักษาดุลยภาพของปฏิสัมพันธ์กับ ระหว่างประเทศในเวทีโลก มหาอานาจทางเศรษฐกิจเดิมและ มหาอานาจใหม่ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 17. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) 1. เร่งดาเนินการด้านการยอมรับมาตรฐาน ฝีมือระหว่างประเทศเพื่ออานวยความ 5 สร้างความเป็นหุ้นส่วน สะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงาน ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้าน 2. ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการขยาย การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การ การลงทุนไปสู่ตางประเทศ โดยเฉพาะใน ่ เคลื่อนย้ายแรงงาน และการส่งเสริม ประเทศเพื่อนบ้านเพื่อแก้ปัญหาการขาด แรงงานไทยในต่างประเทศ แคลนแรงงานและวัตถุดิบในประเทศ 3. คุ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สิ ท ธิ แ ล ะ ผลประโยชน์ของคนไทยและแรงงานไทย ในต่างประเทศ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 18. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) 1. พัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการ ป้องกันและแก้ปัญหาข้ามชาติด้านการก่อ การร้าย ปัญหายาเสพติด และการหลบหนี 6 เข้าเมืองทั้งระบบ มีส่วนร่วมอย่างสาคัญใน การป้องกันภัยจากการก่อการร้าย 2. เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติทางธรรมชาติและ และอาชญากรรม ยาเสพติด เหตุฉุกเฉิน โดยพัฒนาศักยภาพและความ ภัยพิบัติและการแพร่ระบาดโรคภัย ร่วมมือภายในภูมิภาค 3. ร่วมมือในการป้องกันการติดเชื้อและการ แพร่ระบาดของโรคภัยประเภทที่เกิดขึ้นใหม่ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 19. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) 1. ดาเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศ ด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 7 เสริมสร้างความร่วมมือที่ดี 2. เสริมสร้างการผลิตและบริโภคสินค้าและ ระหว่างประเทศในการสนับสนุนการ บริการที่นาสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือน เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมี กระจก ลดมลพิษ ลดการใช้ จริยธรรมและไม่ส่งผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่มี สิ่งแวดล้อม ประสิทธิภาพ และลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 20. สาระสาคัญของ 9 แนวทางการพัฒนาภายใต้กรอบการสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) สร้างองค์ความรู้ให้กับภาคธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ได้รับผลกระทบ 8 เร่งรัดการใช้ประโยชน์ ทั้งเชิงบวกและลบ เพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพและโอกาส จากข้อตกลงการค้าเสรี ของตนเองในการใช้ประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี โดยเฉพาะ ที่มีผลบังคับใช้แล้ว อย่างยิ่ง SMEs ได้รับการสนับสนุนเยียวยา และดูแลจากรัฐใน กรณีที่ไม่สามารถปรับตัวได้ทัน 1. เสริมสร้างศักยภาพชุมชนท้องถิ่นให้รับรู้และเตรียมพร้อมรับ 9 ปรับปรุงและเสริมสร้าง กระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศ ความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนา 2. สนับสนุนกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ ภายในประเทศตั้งแต่ระดับ ชุมชนท้องถิ่น 3. ส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการและเครือข่ายของ สถาบันการศึกษาของไทย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 21. จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย จุดแข็ง จุดแข็ง จุดแข็ง • รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุดของ • ขนาดเศรษฐกิจใหญ่สดในเอเชีย ตอ/ต ุ • รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3 อาเซียน และติดอันดับ 15 ของโลก • ตลาดขนาดใหญ่ (ประชากรมากเป็น ของอาเซียน • การเมืองมีเสถียรภาพ อันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชีย • มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ • เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่าง ตอ/ต) 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ประเทศ • มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก ของเอเชียแปซิฟิก • แรงงานมีทักษะสูง • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ • ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร • ชานาญด้านการจัดการทรัพยากร จานวนมาก โดยเฉพาะถ่านหิน น้ามัน • แรงงานมีทักษะ บุคคล และธุรกิจ ก๊าซธรรมชาติ โลหะต่างๆ • มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลาง • ระบบธนาคารค่อนข้างแข็งแกร่ง เดินเรือ จุดอ่อน จุดอ่อน จุดอ่อน • พึ่งพาการนาเข้าวัตถุดิบและขาดแคลน • ที่ตั้งเป็นเกาะและกระจายตัว • จานวนประชากรค่อนข้างน้อย ทาให้ แรงงานระดับล่าง • สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะระดับ • ค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุรกิจสูง เท่าที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม ล่าง และการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ ประเด็นที่น่าสนใจ ประเด็นที่น่าสนใจ ประเด็นที่น่าสนใจ • พยายามขยายโครงสร้างเศรษฐกิจ • การลงทุนส่วนใหญ่เน้นใช้ทรัพยากร • ตั้งเป้าหมายเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” มายังภาคบริการมากขึน เพื่อลดการ ้ ในประเทศเป็นหลัก ในปี 2563 พึ่งพาการส่งออกสินค้า • ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสาคัญที่ คล้ายคลึงกับไทย • มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วย เทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง 52 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 22. จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน บรูไน ฟิลิปปินส์ เวียดนาม จุดแข็ง •จุดแข็ง จุดแข็ง • รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2 • ประชากรจานวนมากอันดับ 12 ของ • ประชากรจานวนมากอันดับ 14 ของ ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก โลก (>100 ล้านคน) โลก (~90 ล้านคน) • การเมืองค่อนข้างมั่นคง • แรงงานทั่วไปมีความรู้-สื่อสาร • มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก • เป็นผู้ส่งออกน้ามัน และมีปริมาณ ภาษาอังกฤษได้ • มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200 สารองน้ามันอันดับ 4 ของอาเซียน กิโลเมตร • การเมืองมีเสถียรภาพ • ค่าจ้างแรงงานเกือบต่าสุดในอาเซียน รองจากกัมพูชา จุดอ่อน จุดอ่อน จุดอ่อน • ตลาดขนาดเล็ก ประชากรประมาณ 4 • ที่ตั้งห่างไกลจากประเทศสมาชิก • ระบบสาธารณูปโภคพืนฐานยังไม่ได้ ้ แสนคน อาเซียน รับการพัฒนาเท่าที่ควร • ขาดแคลนแรงงาน • ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสวัสดิ • ต้นทุนที่ดินและค่าเช่าสานักงาน ค่อนข้างสูง ภาพทางสังคมยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ประเด็นที่น่าสนใจ ประเด็นที่น่าสนใจ ประเด็นที่น่าสนใจ • มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจใกล้ชิด • สหภาพแรงงานมีบทบาทค่อนข้างมาก • มีรายได้และความต้องการสูงขึ้นจาก กับสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย และมีการเรียกร้องเพิ่มค่าแรงอยู่เสมอ เศรษฐกิจที่โตเร็ว • การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพึ่งพา • การลงทุนส่วนใหญ่เป็นการรองรับ สิงคโปร์เป็นหลัก ความต้องการภายในประเทศเป็นหลัก • ให้ความสาคัญกับความมั่นคงทาง อาหารค่อนข้างมาก 53 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 23. จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน กัมพูชา สปป.ลาว พม่า จุดแข็ง •จุดแข็ง จุดแข็ง • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ • มีทรัพยากรธรรมชาติ น้ามันและก๊าซ อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้า ป่าไม้ และ อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้าและแร่ ธรรมชาติจานวนมาก แร่ชนิดต่างๆ ชนิดต่างๆ • มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย • การเมืองมีเสถียรภาพ • ค่าจ้างแรงงานต่าสุดในอาเซียน (1.6 • ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่า (2.06 • ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่า (2.5 USD/day) USD/day) USD/day) จุดอ่อน จุดอ่อน จุดอ่อน • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา • ระบบสาธารณูปโภคพืนฐานยังไม่ ้ • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา เท่าที่ควร พัฒนาเท่าที่ควร เท่าที่ควร • ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้า ไฟฟ้า และการ • พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา • ความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบาย การคมนาคมไม่สะดวก ไม่มีทางออก สื่อสาร) ค่อนข้างสูง สู่ทะเล • ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ ประเด็นที่น่าสนใจ ประเด็นที่น่าสนใจ ประเด็นที่น่าสนใจ • ประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจ • การลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม • การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมใน บั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุน โครงสร้างพื้นฐาน พลังงานน้า และ ประเทศเชิงรุก ทั้งทางถนน รถไฟ ระหว่างกันในอนาคตได้ เหมืองแร่ ความเร็วสูง และท่าเรือ 54 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 24. จุดแข็ง-ข้อจากัดของสมาชิกอาเซียน ไทย จุดแข็ง • เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลายรายการรายใหญ่ของโลก • ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ • สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง • ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง • แรงงานจานวนมาก จุดอ่อน • แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ • เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง ประเด็นที่น่าสนใจ • ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางอาเซียนในหลายด้าน อาทิ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และศูนย์กลาง การท่องเที่ยว • ดาเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่ 53% สะท้อนการเตรียมพร้อมอย่างจริงจัง 55 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 25. โอกาส ภาคการค้า • ขยายตลาดส่งออกสินค้า สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์/ชิ้นส่วน • วัตถุดิบ/สินค้าขั้นกลางนาเข้าราคา เม็ดพลาสติก/ผลิตภัณฑ์ อัญมณี/เครื่องประดับ ยาง/ ต่าลง ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ/เสื้อผ้า อาหารทะเลแปรรูป/กระป๋อง วัสดุ ก่อสร้าง ภาคการลงทุน • โอกาสออกไปลงทุนต่างประเทศ การลดเงื่อนไขภาคบริการ/การลงทุนภายใต้ FTA • โอกาสดึงดูด FDI เข้าไทย นักลงทุ นนอกอาเซียนเข้ ามาตั้ง ฐานการผลิ ตในไทย และใช้ วั ต ถุ ดิ บ น าเข้ า จากประเทศสมาชิ ก เพื่ อ ได้ ประโยชน์ทางภาษีภายใต้กรอบอาเซียน และส่งออก ไปยังประเทศอาเซียนหรือประเทศที่จัดทา FTA กับ อ า เ ซี ย น ส่ ง ผ ล ใ ห้ ธุ ร กิ จ ไ ท ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง เ ช่ น อสังหาริมทรัพย์ วัสดุก่อสร้างมีโอกาสเติบโต สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554
  • 26. โอกาส ภาคบริการ • เปิดเสรีการค้าบริการ : บริการทางด้านสุขภาพ โดยเป็น Medical hub ในประชาคมอาเซียน • การเคลื่อนย้ายฝีมือแรงงานอย่างเสรี : ในวิชาชีพ 7 สาขา ประกอบด้วย วิศวกร สถาปนิก แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล นักสํารวจ และนักบัญชี สามารถเดินทางไปทํางานในประเทศสมาชิกประชาคม อาเซียนได้โดยเสรี
  • 27. ผลกระทบทางลบ • โรคทีแพร่ระบาดได้จากการเคลื่อนย้ายของประชากร ่ • โรคทีแพร่ได้จากการนําเข้าสัตว์หรือผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ่ • โรคทีแพร่ได้จากการนําเข้าพืชผัก และผลไม้ เพื่อนํามาใช้เป็นอาหาร ่ • โรคติดต่อที่ถูกกําจัดกวาดล้างให้หมดไปจากประเทศไทยแล้ว แต่ยงคงพบการเกิด ั โรคในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น กาฬโรค โปลิโอ เป็นต้น • โรคที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ และสูบบุหรี่ ซึ่งเป็นสินค้าทีทาลายสุขภาพ โดย ่ ํ มีการลดกําแพงภาษีการนําเข้าสินค้าของประเทศสมาชิกอาเซียน ฯลฯ
  • 28. Thank you www.nesdb.go.th 50 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2554