SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6
Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG
- 1 -
กระแสไฟฟ้า (Electric current : I) คือ อัตราการเคลื่อนที่ของ
ประจุไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าไหลจากที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง ไปยังที่มี
ศักย์ไฟฟ้าต่่า มีทิศตามการเคลื่อนที่ของประจุบวก หรือ ทิศตรง
ข้ามกับการเคลื่อนที่ของประจุลบ
หมายเหตุ กระแสไฟฟ้าที่เรียนกันอยู่เป็น ส่วน เป็นกระแสสมมติ กระแสอิเล็กตรอน
เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระจากกระแสไฟฟ้าแท้จริง
ศักย์ไฟฟ้าต่่าไปหาศักย์ไฟฟ้าสูง
ถ้าเราน่าตัวน่าที่มีประจุและมีศักย์ไฟฟ้าต่างกัน มาวางติดกัน หรือใช้ลวดโลหะตัวน่าเชื่อมต่อกัน
ตัวน่าที่มีประจุทั้งสองก็จะเกิดการถ่ายเทประจุระหว่างตัวน่าทั้งสองผ่านลวดโลหะตัวน่า เรากล่าวว่ามี
ในลวดตัวน่านั้น จนกระทั่งศักย์ไฟฟ้าบนตัวน่าทั้งสองเท่ากัน ประจุหยุดถ่ายเท กระแสไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า
ก็หมดไป เพื่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าในลวดตัวน่านั้นอย่างต่อเนื่องต้องใช้ แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
แหล่งกาเนิดไฟฟ้า (Source of electromotive force) คือ แหล่งก่าเนิดที่ท่าให้เกิดความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของตัวน่าอยู่ตลอดเวลา เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เครื่องก่าเนิดไฟฟ้า เป็นต้น
1. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical) ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าบวก ขั้วไฟฟ้าลบ และสารเคมี
ภายในเซลล์ เซลล์ไฟฟ้าเคมี แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.1 เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ (primary cell) เช่น เซลล์แห้ง หรือถ่านไฟฉาย เมื่อสารเคมีถูกใช้
หมดแล้วจะไม่สามารถน่ามาอัดไฟได้อีก
ส่วนประกอบของถ่านไฟฉายทั่วไป
สังกะสี แท่งคาร์บอนขั้วลบ ขั้วบวก
มังกานีสไดออกไซด์ และแอมโมเนียคลอไรด์ ลักษณะเปียกของผสม
เป็นผงถ่าน ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า ประมาณ 1.5 โวลต์
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6
Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG
- 2 -
1.2 เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell) เช่น พวกแบตเตอรี่รถยนต์ เมื่อสารเคมีถูกใช้หมดแล้ว
สามารถน่ามาอัดไฟใหม่ได้ ส่วนประกอบของแบตเตอรี่รถยนต์
ส่วนประกอบของถ่านไฟฉายทั่วไป
แผ่นตะกั่วพรุน แผ่นตะกั่วเปอร์ออกไซด์ขั้วลบ ขั้วบวก
กรดก่ามะถันและน้่ากลั่นของผสม
ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า เซลล์ละ 2 โวลต์
หมายเหตุ อาจใช้นิเกิล แคดเมียม แทนตะกั่ว
2. เป็นอุปกรณ์ที่แปลงพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator)
โดยอาศัยหลักการ เหนี่ยวน่าแม่เหล็กไฟฟ้า
3. ประกอบด้วยโลหะ 2 ชนิด ซึ่งโลหะหนึ่งพร้อมที่จะให้คู่ควบความร้อน (Thermocouple)
อิเล็กตรอนอิสระมากกว่าอีกโลหะหนึ่งความต่างอุณหภูมิระหว่างรอยต่อ ท่าให้เกิดความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าระหว่างโลหะ ทั้งสอง
4. เซลล์สุริยะ (solar cell) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัย
คุณสมบัติความไวแสงของโลหะกึ่งตัวน่า
5. แหล่งกาเนิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น ปลาไหลไฟฟ้า สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เมื่อมีนตกใจ
ต่อศัตรู โดยมีเซลล์พิเศษสามารถท่าให้เกิดความต่างศักย์ ระหว่างหัวกับหางของมัน
คาถาม
1. เซลล์ไฟฟ้าชนิดใด ใช้แล้วไม่สามารถน่ามาใช้ได้อีก
___________________________________________________________________________________
2. แบตเตอรี่รถยนต์เป็นเซลล์ไฟฟ้าประเภทใด
___________________________________________________________________________________
3. ไดนาโม เป็นอุปกรณ์เปลี่ยนพลังงานจากอะไรเป็นอะไร
___________________________________________________________________________________
4. เซลล์สุริยะเป็นเครื่องก่าเนิดไฟฟ้ากระแสตรงหรือไฟฟ้ากระแสสลับ
___________________________________________________________________________________
5. เครื่องก่าเนิดไฟฟ้าเป็นไฟฟ้าชนิดใด
___________________________________________________________________________________
6. หัวปลาไหลไฟฟ้ามีศักย์ไฟฟ้าชนิดใด
___________________________________________________________________________________
ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6
Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG
- 3 -
กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าซึ่งประจุไฟฟ้าสามารถเคลื่อนที่ได้ใน ตัวกลาง
หลายๆ ชนิด และเรียกสมบัติของตัวกลางที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านได้ว่า ตัวนาไฟฟ้า ขณะที่มี
กระแสไฟฟ้าในตัวน่า เรากล่าวว่ามี ปัจจุบันทราบแน่นอนแล้วว่า โลหะบางชนิด เช่นการนาไฟฟ้า
ทองแดง จะมีอิเล็กตรอนบางตัวที่ไม่ได้ติดกับอะตอมหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งเราเรียกว่า อิเล็กตรอนอิสระ
ซึ่งจะเคลื่อนที่อย่างไร้ทิศทาง(free electron)
แต่เมื่อท่าให้มีสนามไฟฟ้า ⃑ ภายในโลหะนั้น แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้าจะท่าให้อิเล็กตรอนอิสระมี
การเคลื่อนที่ลัพธ์ในทิศทางตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า เรียกว่า ความเร็วลอยเลื่อน (Drift Velocity)
การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ ซึ่งจะ
ตลอดเวลา ความเร็วเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบบราวน์
ของอิเล็กตรอนอิสระทุกตัวเท่ากับศูนย์ เนื่องจาก
การเคลื่อนที่มีทิศทางไม่แน่นอน แต่ถ้าปลายทั้ง
สองของโลหะมีศักย์ไฟฟ้าต่างกันจะเกิด
สนามไฟฟ้าในแท่งโลหะ แรงจากสนามไฟฟ้าท่าให้
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่แบบลอยเลื่อน ซึ่งจะเคลื่อนที่
เป็นระเบียบในทิศทางเดียวกัน และเป็นไปตามกฎ
ของโอหม์
การนาไฟฟ้า (Conductivity)2
กระแสไฟฟ้าในตัวนาไฟฟ้า3
ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6
Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG
- 4 -
กระแสไฟฟ้า (Electric current : I กระแสไฟฟ้าในตัวกลาง)
ใดๆ คือประจุที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ภาคตัดขวางของตัวกลางนั้น
ในหนึ่งหน่วยเวลา
คือ กระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์ (A)
คือ จ่านวนประจุไฟฟ้า (ตัว)
คือ ประจุของประจุแต่ละตัว หน่วย คูลอมบ์ (C)
คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าทั้งหมด หน่วย คูลอมบ์ (C)
คือ เวลา หน่วย วินาที (s)
เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวน่าที่มีพื้นที่หน้าตัด A โดย N แทนความหนาแน่นของ
อิเล็กตรอนอิสระ หรือจ่านวนอิเล็กตรอนอิสระในหนึ่งหน่วยปริมาตรของตัวน่า
ดังนั้น กระแสไฟฟ้าในตัวนาโลหะจึงมีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของ
อิเล็กตรอนอิสระหรือทิศทางของกระแสอิเล็กตรอน ซึ่งสามารถหาค่ากระแสได้จาก(electron current)
ความสัมพันธ์ (1) และ (2)
คาถาม
1. กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร
___________________________________________________________________________________
2. การน่าไฟฟ้าในโลหะเกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคชนิดใด
___________________________________________________________________________________
3. นักวิทยาศาสตร์ก่าหนดทิศทางของกระแสอย่างไร
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
4. กระแสไฟฟ้าและกระแสอิเล็กตรอนต่างกันอย่างไร
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6
Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG
- 5 -
1. ถ้าประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวน่าหนึ่งในเวลา 2 นาที เท่ากับ 600 ไมโครคูลอมบ์ กระแสไฟฟ้าที่ไหล
ผ่านลวดตัวน่านี้จะมีค่ากี่แอมแปร์
วิธีทา
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
2. ถ้าปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟใน 1 นาที เท่ากับ 120 ไมโครคูลอมบ์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน
หลอดไฟมีค่ากี่แอมแปร์
วิธีทา
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
3. ถ้ามีกระแสไฟฟ้า1.25 แอมแปร์ ในเส้นลวดโลหะเส้นหนึ่ง ประจุไฟฟ้าทั้งหมดที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดของ
เส้นลวดโลหะนั้นในเวลา 5 นาที จะมีค่าเท่าไร
วิธีทา
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
โจทย์ปัญหา กระแสไฟฟ้า
ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6
Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG
- 6 -
4. ถ้าต่อเส้นลวดโลหะกับแบตเตอรี่ปรากฏว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเส้นลวดนี้ 3.20 แอมแปร์ จงหา
จ่านวนอิเล็กตรอนอิสระที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดของลวดโลหะนี้ในเวลา 5 วินาที (อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้า
1.6 X 10-19
คูลอมบ์)
วิธีทา
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
5. ถ้าความหนาแน่นของอิเล็กตรอนอิสระในลวดทองแดง เป็น 5.0 X 1028
m-3
โดยลวดทองแดง
พื้นที่หน้าตัด 2.0 ตารางมิลลิเมตร มีกระแสไฟฟ้าผ่าน 1.5 แอมแปร์ อัตราเร็วลอยเลื่อนของ
อิเล็กตรอนในลวดนั้นจะเป็นเท่าใด (อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้า 1.6 X 10-19
คูลอมบ์)
วิธีทา
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
6. ในการทดลองครั้งหนึ่งสามารถเขียนกราฟระหว่างกระแสไฟฟ้า กับ
เวลา ดังรูป ถามว่าตั้งแต่เริ่มต้นจนกระแสไฟฟ้าเท่ากับ 0 แอมแปร์
มีประจุเคลื่อนที่ผ่านเครื่องวัดเฉลี่ยวินาทีละกี่คูลอมบ์
วิธีทา
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Mais procurados (20)

Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 

Destaque

ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Theerawat Duangsin
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
Mayy' Jittinan
 

Destaque (20)

กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Electricity atom energy
Electricity atom energyElectricity atom energy
Electricity atom energy
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
 
Lecture23 ohmslaw
Lecture23 ohmslawLecture23 ohmslaw
Lecture23 ohmslaw
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 

Semelhante a ไฟฟ้ากระแส

พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
Muk52
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
rattanapon
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
Muk52
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
Thitikan
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
Thitikan
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
Maliwan303fkk
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
Apinya Phuadsing
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Nang Ka Nangnarak
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Nang Ka Nangnarak
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
wongteamjan
 

Semelhante a ไฟฟ้ากระแส (20)

พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 

Mais de Worrachet Boonyong

แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
Worrachet Boonyong
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
Worrachet Boonyong
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
Worrachet Boonyong
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
Worrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
Worrachet Boonyong
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
Worrachet Boonyong
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
Worrachet Boonyong
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
Worrachet Boonyong
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
Worrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
Worrachet Boonyong
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
Worrachet Boonyong
 

Mais de Worrachet Boonyong (17)

ONET 63 BY PHY360
ONET 63 BY PHY360ONET 63 BY PHY360
ONET 63 BY PHY360
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 

ไฟฟ้ากระแส

  • 1. ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6 Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG - 1 - กระแสไฟฟ้า (Electric current : I) คือ อัตราการเคลื่อนที่ของ ประจุไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าไหลจากที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง ไปยังที่มี ศักย์ไฟฟ้าต่่า มีทิศตามการเคลื่อนที่ของประจุบวก หรือ ทิศตรง ข้ามกับการเคลื่อนที่ของประจุลบ หมายเหตุ กระแสไฟฟ้าที่เรียนกันอยู่เป็น ส่วน เป็นกระแสสมมติ กระแสอิเล็กตรอน เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระจากกระแสไฟฟ้าแท้จริง ศักย์ไฟฟ้าต่่าไปหาศักย์ไฟฟ้าสูง ถ้าเราน่าตัวน่าที่มีประจุและมีศักย์ไฟฟ้าต่างกัน มาวางติดกัน หรือใช้ลวดโลหะตัวน่าเชื่อมต่อกัน ตัวน่าที่มีประจุทั้งสองก็จะเกิดการถ่ายเทประจุระหว่างตัวน่าทั้งสองผ่านลวดโลหะตัวน่า เรากล่าวว่ามี ในลวดตัวน่านั้น จนกระทั่งศักย์ไฟฟ้าบนตัวน่าทั้งสองเท่ากัน ประจุหยุดถ่ายเท กระแสไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า ก็หมดไป เพื่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าในลวดตัวน่านั้นอย่างต่อเนื่องต้องใช้ แหล่งกาเนิดไฟฟ้า แหล่งกาเนิดไฟฟ้า (Source of electromotive force) คือ แหล่งก่าเนิดที่ท่าให้เกิดความต่าง ศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของตัวน่าอยู่ตลอดเวลา เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เครื่องก่าเนิดไฟฟ้า เป็นต้น 1. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical) ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าบวก ขั้วไฟฟ้าลบ และสารเคมี ภายในเซลล์ เซลล์ไฟฟ้าเคมี แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.1 เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ (primary cell) เช่น เซลล์แห้ง หรือถ่านไฟฉาย เมื่อสารเคมีถูกใช้ หมดแล้วจะไม่สามารถน่ามาอัดไฟได้อีก ส่วนประกอบของถ่านไฟฉายทั่วไป สังกะสี แท่งคาร์บอนขั้วลบ ขั้วบวก มังกานีสไดออกไซด์ และแอมโมเนียคลอไรด์ ลักษณะเปียกของผสม เป็นผงถ่าน ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า ประมาณ 1.5 โวลต์ กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
  • 2. ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6 Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG - 2 - 1.2 เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell) เช่น พวกแบตเตอรี่รถยนต์ เมื่อสารเคมีถูกใช้หมดแล้ว สามารถน่ามาอัดไฟใหม่ได้ ส่วนประกอบของแบตเตอรี่รถยนต์ ส่วนประกอบของถ่านไฟฉายทั่วไป แผ่นตะกั่วพรุน แผ่นตะกั่วเปอร์ออกไซด์ขั้วลบ ขั้วบวก กรดก่ามะถันและน้่ากลั่นของผสม ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า เซลล์ละ 2 โวลต์ หมายเหตุ อาจใช้นิเกิล แคดเมียม แทนตะกั่ว 2. เป็นอุปกรณ์ที่แปลงพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator) โดยอาศัยหลักการ เหนี่ยวน่าแม่เหล็กไฟฟ้า 3. ประกอบด้วยโลหะ 2 ชนิด ซึ่งโลหะหนึ่งพร้อมที่จะให้คู่ควบความร้อน (Thermocouple) อิเล็กตรอนอิสระมากกว่าอีกโลหะหนึ่งความต่างอุณหภูมิระหว่างรอยต่อ ท่าให้เกิดความต่าง ศักย์ไฟฟ้าระหว่างโลหะ ทั้งสอง 4. เซลล์สุริยะ (solar cell) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัย คุณสมบัติความไวแสงของโลหะกึ่งตัวน่า 5. แหล่งกาเนิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น ปลาไหลไฟฟ้า สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เมื่อมีนตกใจ ต่อศัตรู โดยมีเซลล์พิเศษสามารถท่าให้เกิดความต่างศักย์ ระหว่างหัวกับหางของมัน คาถาม 1. เซลล์ไฟฟ้าชนิดใด ใช้แล้วไม่สามารถน่ามาใช้ได้อีก ___________________________________________________________________________________ 2. แบตเตอรี่รถยนต์เป็นเซลล์ไฟฟ้าประเภทใด ___________________________________________________________________________________ 3. ไดนาโม เป็นอุปกรณ์เปลี่ยนพลังงานจากอะไรเป็นอะไร ___________________________________________________________________________________ 4. เซลล์สุริยะเป็นเครื่องก่าเนิดไฟฟ้ากระแสตรงหรือไฟฟ้ากระแสสลับ ___________________________________________________________________________________ 5. เครื่องก่าเนิดไฟฟ้าเป็นไฟฟ้าชนิดใด ___________________________________________________________________________________ 6. หัวปลาไหลไฟฟ้ามีศักย์ไฟฟ้าชนิดใด ___________________________________________________________________________________
  • 3. ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6 Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG - 3 - กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าซึ่งประจุไฟฟ้าสามารถเคลื่อนที่ได้ใน ตัวกลาง หลายๆ ชนิด และเรียกสมบัติของตัวกลางที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านได้ว่า ตัวนาไฟฟ้า ขณะที่มี กระแสไฟฟ้าในตัวน่า เรากล่าวว่ามี ปัจจุบันทราบแน่นอนแล้วว่า โลหะบางชนิด เช่นการนาไฟฟ้า ทองแดง จะมีอิเล็กตรอนบางตัวที่ไม่ได้ติดกับอะตอมหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งเราเรียกว่า อิเล็กตรอนอิสระ ซึ่งจะเคลื่อนที่อย่างไร้ทิศทาง(free electron) แต่เมื่อท่าให้มีสนามไฟฟ้า ⃑ ภายในโลหะนั้น แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้าจะท่าให้อิเล็กตรอนอิสระมี การเคลื่อนที่ลัพธ์ในทิศทางตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า เรียกว่า ความเร็วลอยเลื่อน (Drift Velocity) การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ ซึ่งจะ ตลอดเวลา ความเร็วเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบบราวน์ ของอิเล็กตรอนอิสระทุกตัวเท่ากับศูนย์ เนื่องจาก การเคลื่อนที่มีทิศทางไม่แน่นอน แต่ถ้าปลายทั้ง สองของโลหะมีศักย์ไฟฟ้าต่างกันจะเกิด สนามไฟฟ้าในแท่งโลหะ แรงจากสนามไฟฟ้าท่าให้ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่แบบลอยเลื่อน ซึ่งจะเคลื่อนที่ เป็นระเบียบในทิศทางเดียวกัน และเป็นไปตามกฎ ของโอหม์ การนาไฟฟ้า (Conductivity)2 กระแสไฟฟ้าในตัวนาไฟฟ้า3
  • 4. ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6 Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG - 4 - กระแสไฟฟ้า (Electric current : I กระแสไฟฟ้าในตัวกลาง) ใดๆ คือประจุที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ภาคตัดขวางของตัวกลางนั้น ในหนึ่งหน่วยเวลา คือ กระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์ (A) คือ จ่านวนประจุไฟฟ้า (ตัว) คือ ประจุของประจุแต่ละตัว หน่วย คูลอมบ์ (C) คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าทั้งหมด หน่วย คูลอมบ์ (C) คือ เวลา หน่วย วินาที (s) เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวน่าที่มีพื้นที่หน้าตัด A โดย N แทนความหนาแน่นของ อิเล็กตรอนอิสระ หรือจ่านวนอิเล็กตรอนอิสระในหนึ่งหน่วยปริมาตรของตัวน่า ดังนั้น กระแสไฟฟ้าในตัวนาโลหะจึงมีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของ อิเล็กตรอนอิสระหรือทิศทางของกระแสอิเล็กตรอน ซึ่งสามารถหาค่ากระแสได้จาก(electron current) ความสัมพันธ์ (1) และ (2) คาถาม 1. กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร ___________________________________________________________________________________ 2. การน่าไฟฟ้าในโลหะเกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคชนิดใด ___________________________________________________________________________________ 3. นักวิทยาศาสตร์ก่าหนดทิศทางของกระแสอย่างไร ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ 4. กระแสไฟฟ้าและกระแสอิเล็กตรอนต่างกันอย่างไร ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________
  • 5. ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6 Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG - 5 - 1. ถ้าประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวน่าหนึ่งในเวลา 2 นาที เท่ากับ 600 ไมโครคูลอมบ์ กระแสไฟฟ้าที่ไหล ผ่านลวดตัวน่านี้จะมีค่ากี่แอมแปร์ วิธีทา ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 2. ถ้าปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟใน 1 นาที เท่ากับ 120 ไมโครคูลอมบ์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน หลอดไฟมีค่ากี่แอมแปร์ วิธีทา ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 3. ถ้ามีกระแสไฟฟ้า1.25 แอมแปร์ ในเส้นลวดโลหะเส้นหนึ่ง ประจุไฟฟ้าทั้งหมดที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดของ เส้นลวดโลหะนั้นในเวลา 5 นาที จะมีค่าเท่าไร วิธีทา ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ โจทย์ปัญหา กระแสไฟฟ้า
  • 6. ฟิสิกส์ 4 ว30204 - Direct Current - มัธยมศึกษา 6 Weerawatyothin School WORRACHET BOONYONG - 6 - 4. ถ้าต่อเส้นลวดโลหะกับแบตเตอรี่ปรากฏว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเส้นลวดนี้ 3.20 แอมแปร์ จงหา จ่านวนอิเล็กตรอนอิสระที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดของลวดโลหะนี้ในเวลา 5 วินาที (อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้า 1.6 X 10-19 คูลอมบ์) วิธีทา ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 5. ถ้าความหนาแน่นของอิเล็กตรอนอิสระในลวดทองแดง เป็น 5.0 X 1028 m-3 โดยลวดทองแดง พื้นที่หน้าตัด 2.0 ตารางมิลลิเมตร มีกระแสไฟฟ้าผ่าน 1.5 แอมแปร์ อัตราเร็วลอยเลื่อนของ อิเล็กตรอนในลวดนั้นจะเป็นเท่าใด (อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้า 1.6 X 10-19 คูลอมบ์) วิธีทา ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 6. ในการทดลองครั้งหนึ่งสามารถเขียนกราฟระหว่างกระแสไฟฟ้า กับ เวลา ดังรูป ถามว่าตั้งแต่เริ่มต้นจนกระแสไฟฟ้าเท่ากับ 0 แอมแปร์ มีประจุเคลื่อนที่ผ่านเครื่องวัดเฉลี่ยวินาทีละกี่คูลอมบ์ วิธีทา ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________