SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 96
Baixar para ler offline
สารบัญ
                                  หัวขอ                          หนา
1. ความรูเบื้องตนในการสรางเว็บไซต                               6
              หลักการสรางเว็บไซต                                  6
              อินเทอรเน็ตพืนฐาน้                                   6
              ความสําคัญของอินเทอรเน็ต                             6
              ทําความรูจัก HTML                                    8
              คุณสมบัติของเครื่องที่เหมาะกับ Dreamweaver 8          9
              การติดตั้ง Dreamweaver 8                              9
              การเปดใชงาน Dreamweaver 8                          12
              สวนประกอบของ Dreamweaver 8                          13
2. หลักการสรางเว็บไซต                                            17
              เริ่มตนสรางเว็บไซต                                17
              การจัดการโครงสรางโฟลเดอร                           20
              การสรางเว็บเพจใหม                                  20
              การเพิ่มและแกไของคประกอบบนหนาเว็บ                 26
              การใสหัวเรื่องบนหนาเว็บ                            27
              การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8                     27
              การเพิ่ม-ลบฟอนต                                     29
3. การปรับแตงขอความบนเว็บเพจ                                     30
              การใสขอความบนหนาเว็บ                              30
              การตกแตงและจัดรูปแบบขอความ                         31
              การยอนกลับเพื่อแกไขขอผิดพลาดดวยพาเนล History     32
              การบันทึกเว็บเพจ                                     34
              การดูผลลัพธของเว็บเพจบนหนาตางบราวเซอร            36
4. ตกแตงเว็บเพจดวยกราฟก                                         36
              เตรียมภาพเพือใชในเว็บเพจ
                              ่                                    36
              การปรับแตงรูปภาพ                                    38
              การนําภาพมาแสดงเปนพื้นหลังเว็บเพจ                   43
              การแกไขรูปภาพ                                       45
5. การสรางตารางบนเว็บเพจ                                          46
              การสรางตาราง                                        46
              การปรับขนาดชองตาราง การใสขอมูลและภาพในตาราง       48
              การเลือกตาราง แถว คอลัมน และเซล                     50
              การปรับแตงรายละเอียดของตาราง                        52

เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                    หนา 1/96
การจัดเรียงขอความในตาราง                                                52
            การแทรกแถวและคอลัมน                                                     54
            การลบแถวและคอลัมน                                                       56
            การรวมและการแบงเซล                                                      57
            การขยายและลดความกวางเซลในตาราง                                          58
            ปรับความสูงและความกวางของตารางใน Property Inspector                     59
            การซอนตาราง                                                             62
            การกําหนดสีใหกับพื้นตาราง                                               62
            การคัดลอกขอมูลในตาราง                                                   65
6. การเชื่อมโยง                                                                      65
            การเชื่อมโยงภายในเว็บเพจหนาเดียวกัน                                     65
            การเชื่อมโยงภายในเว็บไซตเดียวกัน                                        66
            การเชื่อมโยงไปเว็บไซตอื่นและเชื่อมโยงดวยอีเมล                         68
            การเชื่อมโยงดวย Map Link                                                69
            การกําหนดคุณสมบัติของการเชื่อมโยง                                        70
7. การออกแบบเลยเอาท                                                                71
            การใชเลยเอาท                                                          71
            โครงสรางของหนาเว็บ                                                     73
            การสรางเลยเอาทเทเบิล และเลยเอาทเซล
                                  ้                                                  73
8. เฟรม เลเยอร แฟลช                                                                 77
            การใชเฟรม                                                               77
            การใชเลเยอร                                                            80
            การใชแฟลช (Flash)                                                       82
9. การจดทะเบียนเว็บไซต การหาเว็บโฮสติ้ง และการอัพโหลดไฟล                           85
            การจดทะเบียนเว็บไซต                                                     85
            การหาเว็บโฮสติ้ง                                                         88
            การอัพโหลดไฟล                                                           90




หนา 2/96                                                  เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
                                              

คําอธิบายรายวิชา
        หลักสูตรเนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver นี้ จะชวยใหผูเขาอบรมลดภาระการประชาสัมพันธ
การเผยแพรขอมูลตางๆ ของ องคการ และลดปริมาณเอกสารภายใน โดยการจัดเก็บไวในรูปแบบของสื่อ
อิเล็กทรอนิกส หลักสูตรนี้เหมาะอยางยิ่งสําหรับหนวยงานที่ตองการจัดทําเอกสารไวในรูปแบบของ
เอกสารอิเล็กทรอนิกส หรือตองการลดปริมาณกระดาษ เชน ฝายบุคคลตองการสรางเว็บเพื่อแสดงขอมูล
ของพนักงานแตละคนไดวาชื่ออะไร อยูแผนกไหน เบอรโทรศัพทอะไร อีเมลอะไร พรอมรูปถาย หรือแจง
ขาวสารการจัดฝกอบรม การจัดเก็บคูมือปฏิบัติงาน การจัดเก็บวิดีโอสอนการทํางาน ฝายขายก็สามารถ
แสดงภาพสินคา และคุณสมบัติตางๆ ของ สินคาแตละชนิดได ฝายประชาสัมพันธก็สามารถเผยแพร
ขาวสารของบริษัทได ไมวาจะเปน ขาวเกี่ยวกับ 5ส การไปทัศนะศึกษาดูโรงงาน หรือวิดีโอการทํา
กิจกรรมในวันสําคัญตางๆ ฝายหองสมุดก็สามารถแนะนําหนังสือใหมๆ หรือความรูตางๆ สําหรับ
เผยแพรภายในบริษัท ฝายธุรการก็สามารถสรุปรายงานการประชุม ขาวสารจากผูบริหารได ซึ่งจะชวยให
องคการ ของทานมีการสื่อสารกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

จุดประสงค
    1. เพื่อใหผูเขาอบรมเขาใจหลักการสรางเว็บไซตสําหรับใชภายในองคกรของตนได
    2. เพื่อใหผูเขาอบรมเขาใจการทํางาน และสามารถใชโปรแกรม Dreamweaver ได
    3. เพื่อใหผูเขาอบรมนําไฟลประเภทตาง ๆ เชน ไฟลรูปภาพ ไฟลวิดีโอ มาใชในการจัดทําเว็บไซต
       ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ความรูพื้นฐานของผูเขาอบรม
   1. Microsoft Windows
   2. Internet Explorer

เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรูเบื้องตนในการสรางเว็บไซต
              หลักการสรางเว็บไซต
              อินเทอรเน็ตพืนฐาน
                            ้
              ความสําคัญของอินเทอรเน็ต
              ทําความรูจัก HTML
              คุณสมบัติของเครื่องที่เหมาะกับ Dreamweaver 8
              การติดตั้ง Dreamweaver 8
              การเปดใชงาน Dreamweaver 8
              สวนประกอบของ Dreamweaver 8

เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                          หนา 3/96
2. หลักการสรางเว็บไซต
              เริ่มตนสรางเว็บไซต
              การจัดการโครงสรางโฟลเดอร
              การเปดเว็บเพจใหม
              การเพิ่มและแกไของคประกอบบนหนาเว็บ
              การใสหัวเรื่องบนหนาเว็บ
              การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8
              การเพิ่ม-ลบฟอนต
3. การปรับแตงขอความบนเว็บเพจ
              การใสขอความบนหนาเว็บ
              การตกแตงและจัดรูปแบบขอความ
              การยอนกลับเพื่อแกไขขอผิดพลาดดวยพาเนล History
              การบันทึกเว็บเพจ
              การดูผลลัพธของเว็บเพจบนหนาตางบราวเซอร
4. ตกแตงเวบเพจดวยกราฟก
            ็
              เตรียมภาพเพือใชในเว็บเพจ
                              ่
              การปรับแตงรูปภาพ
              การนําภาพมาแสดงเปนพื้นหลังเว็บเพจ
              การแกไขรูปภาพ
5. การสรางตารางบนเว็บเพจ
              การสรางตาราง
              การปรับขนาดชองตาราง การใสขอมูลและภาพในตาราง
              การเลือกตาราง แถว คอลัมน และเซล
              การปรับแตงรายละเอียดของตาราง
              การจัดเรียงขอความในตาราง
              การแทรกแถวและคอลัมน
              การลบแถวและคอลัมน
              การรวมและการแบงเซล
              การขยายและลดความกวางเซลในตาราง
              ปรับความสูงและความกวางของตารางใน Property Inspector
              การซอนตาราง
              การกําหนดสีใหกับพื้นตาราง
              การคัดลอกขอมูลในตาราง
6. การเชื่อมโยง
              การเชื่อมโยงภายในเว็บเพจหนาเดียวกัน
              การเชื่อมโยงภายในเว็บไซตเดียวกัน
หนา 4/96                                                    เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
การเชื่อมโยงไปเว็บไซตอื่นและเชื่อมโยงดวยอีเมล
           การเชื่อมโยงดวย Map Link
           การกําหนดคุณสมบัติของการเชื่อมโยง
7. การออกแบบเลยเอาท
           การใชเลยเอาท
           โครงสรางของหนาเว็บ
           การสรางเลยเอาทเทเบิล และเลยเอาทเซล
                                 ้
8. เฟรม เลเยอร แฟลช
           การใชเฟรม
           การใชเลเยอร
           การใชแฟลช (Flash)
9. การจดทะเบียนเว็บไซต การหาเว็บโฮสติ้ง และการอัพโหลดไฟล
           การจดทะเบียนเว็บไซต
           การหาเว็บโฮสติ้ง
           การอัพโหลดไฟล




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                 หนา 5/96
ความรูเบื้องตนในการสรางเว็บไซต
           หลักการสรางเว็บไซต
        ในการสรางเว็บไซตในยุคเริ่มแรกนั้น ผูสรางจะตองมีความรูเกี่ยว กับภาษา HTML จึงจะ
สามารถสรางเว็บเพจได โดยใชโปรแกรม EditPlus หรือ Notepad ในการเขียนโคดทั้งหมด แลวบันทึก
เปนไฟลนามสกุล .html จากนั้นเปดบราวเซอรเพื่อดูผลลัพธของหนาเว็บที่สราง ซึ่งทําใหเสียเวลาในการ
ทํางานมาก แตถามี ความรูในภาษา HTML บางจะชวยใหเราสรางสรรคงานไดอยางสวยงาม ตามความ
ตองการ
        ในปจจุบันโปรแกรม Dreamweaver เปนโปรแกรม สรางเอกสารเว็บเพจ ที่ทํางานในลักษณะ
HTML Generator คือ โปรแกรมจะสรางรหัสคําสั่ง HTML ใหอัตโนมัติ โดยผูใช ไมตองศึกษาภาษา
HTML หรือปอนรหัสคําสั่ง HTML มีลักษณะการทํางานคลายๆ กับการพิมพเอกสารดวย Word
Processor โดยอาศัยปุมเครื่องมือ (Toolbars) หรือแถบคําสั่ง (Menu Bar) ควบคุมการทํางาน ชวยให
งายตอการใชงาน สะดวก และรวดเร็วในการสรางเว็บเพจ

             อินเทอรเน็ตพื้นฐาน
         อินเทอรเน็ต มาจากคําวา Inter Connection Network เปนระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่มีขนาด
ใหญ เครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องทั่วโลกสามารถติดตอสื่อสารถึงกันได โดยใชมาตรฐานในการรับสง
ขอมูลที่เปนหนึ่งเดียว หรือที่เรียกวา โปรโตคอล (Protocol) ซึ่งโปรโตคอลที่ใชบนระบบเครือขาย
อินเทอรเน็ตมีชื่อวา ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
       ลักษณะของระบบอินเทอรเน็ตเปนเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก ในแตละจุดที่เชื่อมตอ
อินเทอรเน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันไดหลายเสนทางตามความตองการ โดยไมกําหนดตายตัว และไม
จําเปนตองไปตามเสนทางโดยตรง อาจจะผานจุดอื่น ๆ หรือเลือกไปเสนทางอื่นไดหลาย ๆ เสนทาง การ
ติดตอสื่อสารผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตนั้นอาจเรียกวา        การติดตอสื่อสารแบบไรมิติ หรือ
Cyberspace

             ความสําคัญของอินเทอรเน็ต
             1. การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย
             2. การติดตอสื่อสารที่สะดวก และรวดเร็ว
             3. สามารถใชเปนแหลงคนควาหาขอมูลไดทั่วโลก ระบบเครือขายอินเทอรเน็ตจะทําหนาที่
                  เสมือนเปนหองสมุดขนาดใหญ และเปนแหลงรวบรวมขอมูลแหลงใหญที่สุดในโลก
      ในการติดตอสื่อสารบนเครื่อขายอินเทอรเน็ตที่คอมพิวเตอรทั่วโลกเชื่อมโยงถึงกันนั้น มีการ
ติดตอสื่อสารอยู 2 แบบคือ แบบสงขอมูลและรับขอมูล และการที่จะสรางเว็บเพจดวย Dreamweaver นั้น
เราควรมีความรูเกี่ยวกับศัพททางอินเทอรเน็ตที่เกี่ยวของ เพื่อความเขาใจที่ดี ดังนี้
                         เครื่องใหบริการ (Server) คือ เครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่สงขอมูล
                         เครื่องรับบริการ (Client) คือ เครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่รับขอมูล
                         เครือขายใยแมงมุม WWW (World Wide Web) หรือเรียกสั้น ๆ วาเว็บ คือ
                         การใหบริการในรูปแบบที่เรียกบราวเซอร เชน Internet Explorer จากเครื่อง
หนา 6/96                                                        เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
ของเรา และระบุที่อยู URL ก็สามารถที่จะเปดเว็บไซตได เชน ถาเราระบุ URLที่
                       ตองการเปด คือ www.TrainingDD.com             ก็เ ปนการเปดดูเ ว็บไซต ของ
                       TrainingDD ดังภาพ




                       เว็บเพจ (Web Page) คือ เอกสารที่เราเปดดูจาก www ซึ่งสวนใหญจะถูกสราง
                       ขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอรที่ เรียกวา HTML ประกอบดวยตัวหนังสือ รูปภาพ
                       และมีการเชื่อมตอกับเว็บเพจอื่นๆ
                       เว็บไซต (Web Site) คือ การรวบรวมเว็บเพจไวหลาย ๆ หนา และ กําหนด
                       เว็บเพจหนาหนึ่งใหเปนหนาแรก เรียกวา โฮมเพจ (Home Page) ซึ่งเปนประตู
                       ทางเขาสูเว็บเพจหนาอื่น ๆ ทั้งหมดในเว็บไซตนั้น ๆ
                       เว็บบราวเซอร (Web Browser) คือ โปรแกรมที่ใชเขาสู World Wide Web
                       เปนโปรแกรมที่อยูในเครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (Client) ทําหนาที่ในการ
                       นําเสนอขอมูลเว็บ บราวเซอรที่ไดรับความนิยมในปจจุบัน เชน          Internet
                       Explorer ของไมโครซอฟท และ Firefox ซึ่งเปนบราวเซอรโอเพนซอสต
                       เว็บเซิรฟเวอร (Server) คือ ที่เก็บเว็บเพจ โดยใชโปรแกรม WFTP ในการนํา
                       เว็บเพจขึ้นไปไวบนเซิรฟเวอร เรียกวาอัพโหลด (Upload) และนําเว็บเพจลงมา
                       แกไขในเครื่องของเรา เรียกวา ดาวนโหลด (Download)
                       โดเมนเนม (Domain name) คือ การติดตอกันบนอินเทอรเน็ต จะใชไอพี
                       แอดเดรส (IP address)ในการทํางาน แตเปนตัวเลขหลายตัว ทําใหจดจําไดยาก
                       จึงมีการใชโดเมนเนม ซึ่งเปนตัวอักษรที่จดกัน และจะมีชื่อไมซ้ํากันโดยตั้งชื่อให
                       สอดคลองกับหนวยงาน องคกร บริษัท หางราน เพื่อความสะดวกในการจดจํา
                       ชื่อ เชน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย มีโดเมนเนม คือ egat.co.th




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                               หนา 7/96
ทําความรูจัก HTML
        HTML ยอมาจาก Hyper Text Markup Language ภาษา HTML เปนภาษาที่ใชในวงการ
อินเทอรเน็ต เว็บไซตตาง ๆ เขียนขึ้นโดยใชภาษา HTML เปนหลัก ทําใหเราสามารถนําเสนอ ขอความ
ภาพ เสียง หรือแมแตวิดีโอ ผานทางอินเทอรเน็ตได
        คําวา Hyper มีความหมายตรงขามกับคําวา เรียงลําดับ คือ ไมจําเปนตองเรียงลําดับ สามารถ
กระโดดขามขั้นตอนได เชน ในหนาเว็บ เราสามารถที่จะคลิกไปยังที่ตาง ๆ ตามลิงค ไดตามตองการ ไม
จําเปนตองอานเรียงไปทีละหนา นี่จึงเปนลักษณะสําคัญของ HTML ที่สามารถลิงคไปยังที่ตาง ๆ ได
        คําวา Text หมายถึงขอความ HTML เปนไฟลตัวอักษร หรือ text file สามารถสรางโดยใช
โปรแกรมไดหลายโปรแกรม เชน Notepad, EditPlus หรือแมแต MS Word ก็ได
        คําวา Markup เปนการแบงขอความออกเปนสวน ๆ โดยมีคําสั่ง หรือ tag บอกใหทราบวาจะให
แสดงภาพ หรือ ขอความนั้น ๆ อยางไร เชน ใหตัวอักษรเปนสีตาง ๆ มีลักษณะตัวหนา หรือ ตัวเอียง
เปนตน
        สวนคําวา Language หมายถึง ภาษา เราจัด HTML เปนภาษา ทางคอมพิวเตอรภาษาหนึ่ง แต
ใชในการนําเสนอเนื้อหาสาระบนเว็บเทานั้น อยางไรก็ตาม มีบางคนยัง ไมยอมรับวา HTML เปนภาษา
ทางคอมพิวเตอรเพราะขาดคุณสมบัติทางดานตัวแปรเพราะ HTML ไมมีการเก็บคา ตัวแปรแตอยางใด

              โครงสรางของภาษา HTML
         โครงสรางหลักของภาษา จะมี Tag ที่ประกอบจากวงเล็บ <TAG name> เปนตัวเปดการควบคุม
อักษรและปดการควบคุมอักษรดวย </TAG name> โดยมีเครื่องหมาย / อยูใน Tag หมายถึง การปด
การควบคุม ภายใน Tag ตาง ๆ จะมี Tag ที่อยูเดี่ยว (Single) กับ Tag ที่ตองประกอบกันเปนชุด
(Composite) และใน Tag แตละตัวอาจจะมี Attribute เพื่อขยาย ความหมายหรือเพิ่มการควบคุม Tag
ไดอีกดวย นอกจากนั้น HTML สามารถทํา Comment ไดดวยการใช <! และจบดวย !> เพื่อไมตองแปล
สัญลักษณที่อยูระหวางเครื่องหมายทั้งสองนี้
         Tag ในภาษา HTML ที่สําคัญมีดังตอไปนี้
         <HTML> และ </HTML> เปน Tag ที่ใชเพื่อกําหนดวาเอกสารตอไปนี้ เปนเอกสาร HTML เปน
         Markup Language
         <HEAD> และ </HEAD> เปน Tag ที่ใชกําหนดสวนหัวของเอกสาร HEAD ไมไดเปนสวนของ
         เอกสารภายใน แตจะให ขอมูลเกี่ยวกับเอกสารฉบับนี้ โดยจะมี <METHA> Tag เปนตัวกําหนด
         คุณสมบัติตาง ๆ การกําหนด Key Word ใหรูวาเว็บของเราคืออะไร เปนคําสั่งควบคุมการทํางาน
         ของเว็บใหทํางานแบบอัตโนมัติได ซึ่งจะเปนประโยชนสําหรับการคนหาเว็บไซตตาง ๆ ที่มีอยูใน
         โลกนี้ ดวยวิธี Search Engine
         <TITLE> และ </TITLE> เปนการระบุขอความที่ตองการใหเปนสวนหัวของเอกสาร ที่จะปรากฏ
         อยูที่ Task Bar ใน Browser โดย Title จะเปนสวนหนึ่งของ Head เชน <title> การไฟฟาฝาย
         ผลิตแหงประเทศไทย</title> จะปรากฏใหเห็นรายละเอียดอยูดานบน Task Bar ดานบน
         <BODY> และ </BODY> เปน Tag ที่บอกถึงลักษณะตาง ๆ ของเอกสารฉบับนี้ ซึ่งใน Body จะ
         มี Attribute ตาง ๆ ไดแก BGCOLOR = "#XXXXXX", TEXT = "# XXXXXX " เปนตน
หนา 8/96                                                        เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
ตัวอยาง HTML Code




        ตัวอยางผลลัพธที่ได




            คุณสมบัติของเครื่องทีเหมาะกับ Dreamweaver 8
                                 ่
                                         สําหรับเครื่อง PC
                                CPU ความเร็วไมต่ํากวา 800 MHz ระดับไมต่ํากวา Pentium III
หนวยประเมินผลกลาง(CPU)
                                processor หรือเทียบเทา
ระบบปฏิบัติการ                  windows 2000 หรือ Windows XP
หนวยความจํา(RAM)               256 MB หากใชงานบน Windows XP ควรใช 512 MB หรือ 1 GB ขึ้นไป
พื้นที่วางบนฮารดดิสก         อยางนอย 650 MB

          การติดตั้ง Dreamweaver 8
       การติดตั้ง Dreamweaver 8 เริ่มตนดวยการนําแผนโปรแกรมใสในชองอาน CD และเริ่มติดตั้ง
ตามขั้นตอนดังตอไปนี้
          1. ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Install Dreamweaver 8 ดังภาพ
          2. จะปรากฏหนาตางเตรียมการติดตั้งโปรแกรม ดังภาพ




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                      หนา 9/96
3. คลิกเมาสที่ปุม Next เพื่อเริ่มขั้นตอนการติดตั้ง ดังภาพ




             4. จากนั้นคลิกเมาสเลือก I accept the terms in the license agreement เพื่อรับขอตกลง
                ในการใชงาน Dreamweaver และคลิก Next เพื่อติดตั้งโปรแกรมตอไป ดังภาพ




             5. โปรแกรมจะแสดงไดเร็กทอรี่ที่จะเก็บโปรแกรม Dreamweaver 8 ถาไมตองการ ก็
                สามารถคลิกปุม Change เพื่อเปลี่ยนไดเร็กทอรี่ได นอกจากนี้โปรแกรมยังเปดโอกาสให
                เลือกสราง Shortcut ไวที่แถบ Quick launch และไวที่บนหนาจอ (Desktop) หากไม
                ตองการไมตองคลิกเลือก แลวคลิกปุม Next ดังภาพ




หนา 10/96                                                           เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
6. กําหนดวาจะให Dreamweaver แกไขไฟลชนิดใดบาง ใหเลือก Select All แลว คลิก
              Next เพื่อเขาสูขั้นตอนตอไป




           7. คลิกเมาสที่ปุม Install เพื่อติดตั้งโปรแกรม




           8. โปรแกรมจะเริ่มทําการติดตั้ง ดังภาพ




           9. ขั้นตอนสุดทาย เมื่อติดตั้งเสร็จ ใหคลิก Finish ดังภาพ

เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                   หนา 11/96
10. เปนการเสร็จสิ้นขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม
            การเปดใชงาน Dreamweaver 8
       เมื่อติดตั้ง Dreamweaver 8 เสร็จเรียบรอยแลว เราก็สามารถเปดใชโปรแกรม Dreamweaver 8
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้
             1. คลิกเมาสที่ปุม
             2. เลือกคําสั่ง All Programs>Macromedia>Macromedia Dreamweaver 8 ดังภาพ




             3. คลิกเลือก Macromedia Dreamweaver 8 โปรแกรมจะเปดหนาจอ ดังภาพ




             4. หนาจอนี้มีสวนสําคัญ 3 สวน คือ
                    a. สวนที่ 1 Open a Recent Item เปนการเลือกเว็บเพจที่เราสรางไวแลว นํากลับ
                       ขึ้นมาทํางานใหม


หนา 12/96                                                      เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
b. สวนที่ 2 Create New เปนการสรางหนาเว็บใหม โดยเราจะตองเลือกรูปแบบ
                      การทํางาน เชน HTML, Cold Fusion, PHP, ASP, JavaScript ตามที่ตองการ
                   c. สวนที่ 3 Create from Samples เปนการสรางหนาเว็บใหม โดยใชหนาเว็บ
                      สําเร็จรูปมาใชเปนแบบเริ่มตน
                   d. ในที่นี้ เราจะสรางเว็บเพจใหม ใหคลิกเลือกใช HTML ในสวนที่ 2 Create New
                      ดังภาพ




           5. หนาเอกสารวาง ๆ จะถูกเปดขึ้นสําหรับการสรางเว็บเพจ เราสามารถใสขอความและ
              รูปภาพ ในหนานี้ได ดังตัวอยางที่เห็นในภาพ




              สวนประกอบของ Dreamweaver 8
         กอนที่เราจะใชงาน Dreamweaver 8 เราควรรูสวนประกอบตาง ๆ ของ Dreamweaver 8 ใน
เบื้องตนเพื่อเปนพื้นฐานในการใชงานไดสะดวก
              1. เมื่อคลิกเมาสเขาสูโปรแกรม Dreamweaver 8 และคลิกเลือก HTML จะเกิดหนาจอ ดัง
                  ภาพ




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                         หนา 13/96
2. สวนประกอบที่สําคัญของหนาจอนี้ มีดังนี้
                       สวนที่ 1 แถบเมนู (Menu bar) เปนแถบที่เก็บคําสั่งทังหมดของโปรแกรม
                                                                           ้
                       สวนที่ 2 แถบกลุมเครื่องมือ (Insert bar) เปนแถบที่รวมเครื่องมือตาง ๆ ใน
                       การสรางเว็บ
                       สวนที่ 3 แถบเครื่องมือ (Toolbar) รวมปุมเครื่องมือตาง ๆ ที่ใชงานบอย
                       สวนที่ 4 แถบสถานะ (Status bar) แสดงขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานที่กําลังทํา
                       อยู
                       สวนที่ 5 Property Inspector เปนสวนกําหนดคุณสมบัติขององคประกอบตาง
                       ๆ บนหนาเว็บและ สามารถปรับแตงคาขององคประกอบตาง ๆ ได
             3. แถบแสดงสถานะที่ควรรูจัก ดังภาพ


                   สวนที่ 1 สวนไวเลือกแท็ก HTML: จะแสดงโคด HTML ของเว็บเพจ
                   สวนที่ 2 เปนเครื่องมือปรับการแสดงผลเว็บเพจขณะทํางาน:      Zoom Tool
                   สําหรับซูมเขาออกเพื่อขยายหนาจอการแสดงผล หรือใช Hand Tool เลื่อนดู
                   หนาเว็บในสวนที่มองไมเห็น
                        
                   สวนที่ 3 แสดงขนาดหนาตางของเว็บเพจ Window Size: ที่เรากําหนด สามารถ
                   เลือกกําหนดเปนขนาดและเปอรเซ็นต
                   สวนที่ 4 แสดงขนาดเอกสารและเวลาในการโหลด: แสดงเวลาโดยประมาณ ที่ใชใน
                   การโหลดหนาเว็บเพจที่เราสราง
           กลุมเครื่องมือ
        การเขาถึงกลุมเครื่องมือ ใหคลิกเมาสที่ปุมตัวเลือก ดังภาพ




        และคลิกเลือกกลุมเครื่องมือที่ตองการได ดังภาพ




หนา 14/96                                                      เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
กลุมเครื่องมือที่ใชสําหรับสรางงานเว็บเพจ มีอยู 8 กลุมที่ควรรูจัก ดังนี้
            1. กลุมเครื่องมือ Common: เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อตาง ๆ ที่เราใชงานบอย เชน
                 การแทรกภาพ แทรกตาราง เปนตน




           2. กลุมเครื่องมือ Layout :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อตาง ๆ ที่ใชจัดองคประกอบบน
              หนาเว็บ เชน การจัดวางขอความใหอยูในตําแหนงตาง ๆ เปนตน

           3. กลุมเครื่องมือ Forms :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อในการสรางแบบฟอรม           ปุม
              ตัวเลือก ลักษณะตาง ๆ เชน check box, radio button เปนตน

           4. กลุมเครื่องมือ Text :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อสําหรับการจัดวางตําแหนง และ
              ปรับแตงตัวอักษรบนหนาเว็บ

           5. กลุมเครื่องมือ HTML :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อสําหรับจัดการภาษา HTML บน
              หนาเว็บ

           6. กลุมเครื่องมือ Application :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อสําหรับการสราง Application
              ติดตอกับฐานขอมูล

           7. กลุมเครื่องมือ Flash elements: เปนเครื่องมือสําหรับนําองคประกอบที่สรางจาก
              โปรแกรม Flash มาวางบนหนาเว็บ

           8. กลุมเครื่องมือ Favorites: เราสามารถเลือกเครื่องมือที่ใชบอยจากแตละกลุมเครื่องมือ
              มาใสในเมนูนี้ไดตามความตองการ




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                          หนา 15/96
การเปลี่ยนรปแบบการเรียกใชงานกลุมเครื่องมือ
                         ู                            
                ในกลุมเครื่องมือ คําสั่งสุดทาย คือ Show as Tabs ดังภาพ




        Show as Tabs คือคําสั่งที่ใหแสดงกลุมเครื่องมือแยกเปนแท็บ ๆ เราสามารถคลิกเลือกแท็บ
ของเครื่องมือที่ตองการใชงานไดตามความตองการ ดังภาพ




           การกําหนดคุณสมบัติขององคประกอบตาง ๆ บนหนาเว็บ (Property Inspector)
        การกําหนดคุณสมบัติขององคประกอบตาง ๆ บนหนาเว็บ สามารถกระทําไดเมื่อเราคลิกเลือก
ภาพ ตาราง ตัวหนังสือหรือองคประกอบอื่น ๆ ก็จะปรากฏ Property Inspector ขององคประกอบนั้น ๆ
ใหเราสามารถปรับแตงไดตามตองการ




          กลุมหนาตางพาเนล(Panel Group)
       โปรแกรม Dreamweaver 8 มีหนาตางพาเนลตาง ๆ ที่เพิ่ม
ความสามารถในการจัดการและออกแบบหนาเว็บเพจ ซึ่งแตละพาเนลจะ
มีความสามารถในการจัดการหนาเว็บเพจไดไมเหมือนกัน เราเรียกเปด
พาเนลไดจากเมนู Window > และเลือกพาเนลที่ตองการ ดังภาพ

           มุมมองการทํางานใน Dreamweaver
        ในการสรางงานเว็บเพจ เราสามารถเลือกมุมมองในการทํางาน
ได 3 รูปแบบ โดยคลิกที่รูปไอคอน                                 ที่อยู
ใน Toolbar แถบเครื่องมือมาตรฐาน ดังนี้
             1. Show Code View คลิกที่             จะปรากฏมุมมอง
                แสดงโคด HTML ของหนาเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยู
                ถาเรามีความรูเรื่องภาษา HTML ก็สามารถแกไขโคดไดตามตองการ ดังภาพ




หนา 16/96                                                       เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
2. Show Code and Design View คลิกที่                  จะปรากฏมุมมองที่แสดงทั้งโคดและ
              หนาเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยู สําหรับผูที่ตองการดูโคดไปพรอมกับการออกแบบ
              หนาจอ ดังภาพ




           3. Show Design View คลิกที่              จะแสดงหนาจอที่เราออกแบบเว็บเพจซึ่ง
              ประกอบดวยภาพ ขอความ ตาราง หรื่ออื่น ๆ    โดยไมมีการแสดงโคดตาง ๆ มา
              เกี่ยวของ ดังภาพ




          การออกจากโปรแกรม Dreamweaver
       การออกจากโปรแกรม Dreamweaver ทําไดหลายวิธีดวยกัน ดังนี้
          1. เลือกคําสั่ง File แลวเลือกคําสั่ง File>Exit เปนการสุดสิ้นการใชงานโปรแกรม
          2. คลิกเมาสที่ บริเวณมุมบนขวาของหนาจอ
          3. คลิกเมาสที่ บริเวณมุมบนซายของหนาจอและเลือกคลิกที่ Close
          4. กดที่คียบอรด <Ctrl+Q>

                                       หลักการสรางเว็บไซต
          เริ่มตนสรางเว็บไซต
     ในการสรางเว็บไซตดวย Dreamweaver 8 กอนอื่นตองมีการกําหนด Site เพื่อใชจัดเก็บหนาเว็บ
เพจแตละหนาใหอยูในชื่อเว็บไซตเดียวกัน และจัดการกับไซตที่เราสรางขึ้น ไดตามตองการ


เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                              หนา 17/96
การกําหนดโครงรางของเว็บ
        ในการสรางเว็บไซต กอนอื่นควรออกแบบโครงรางคราวๆ ของเว็บไซตนั้นกอน เพื่อไมใหเกิด
ความยุงยากที่จะตามมาในภายหลัง เว็บไซตที่ประกอบดวยเว็บเพจหลาย ๆหนา ควรจัดเก็บเว็บเพจไว
ในโฟลเดอรตาง ๆ ดังตัวอยาง ถาเราทําเว็บไซตเกี่ยวกับองคกรของเรา ก็อาจสรางตั้งโฟลเดอรชื่อ
Organization เปนโฟลเดอร ที่เก็บรวมเว็บเพจและไฟลตาง ๆ ที่ใชไวทั้งหมด โดยโฟลเดอรนี้อาจ
ประกอบไปดวยโฟลเดอรยอย ๆ สําหรับเก็บไฟลตาง ๆ ที่ประกอบกันเปนเว็บไซต ดูตัวอยาง ดังภาพ
        ตัวอยางการจัดโฟลเดอรสําหรับเก็บไฟลตาง ๆ
        จากภาพ จะเห็นวาหนาโฮมเพจหลัก (index.html) จะตองอยูในโฟลเดอร
หลักและไมควรอยูในโฟลเดอรยอยใด ๆ ทั้งสิ้น
             การสรางเว็บไซตใหมใน Dreamweaver
        การสรางเว็บไซตใหมใน Dreamweaver ตองกําหนดที่อยูของไฟลตาง ๆ
บนเว็บไซตเสียกอน โดยการสราง Site ไฟลทุกไฟลและภาพที่นํามาใช ตองอยูใน Site งานที่กําหนด
        วิธีการสรางเว็บไซตแบบใชวิซารด สามารถดําเนินการไดตามขั้นตอนดังนี้
             1. เลือกคําสั่ง Site> New Site... เพื่อเขาสูการสรางเว็บไซต ดังภาพ




    1. จะปรากฏหนาจอ Site Definition for Unnamed Site1 เพื่อใหตั้งคา ดังตอไปนี้

             • หมายเลข 1 คลิกเมาสเลือกที่แท็บ Basic ที่อยูมุมบนซาย
             • หมายเลข 2 คลิกเมาสเลือก Local Info
             • หมายเลข 3 ที่ Site name : ใหตั้งชื่อไซตงานตามตองการ ควรใหมีความหมาย
               เกี่ยวของกับงานหรือกิจกรรมของเว็บไซตนั้น ๆ ในที่นี้ จะตั้งชื่อวา myorganization
             • หมายเลข 4 ที่ Local root folder : เปนการกําหนดที่อยูของเว็บไซตบนเครื่องที่เรากําลัง
               ทํางานอยู (ควรสรางโฟลเดอรเก็บงานไวกอนแลว ในที่นี้สรางโฟลเดอรเก็บงาน ชื่อ
               organization ไวใน ไดรฟ C) และสามารถคลิกเลือกโฟลเดอรไดเลย
             • หมายเลข 5 กําหนดโฟลเดอรที่จะเก็บภาพ โดยอาจคลิกเลือกโฟลเดอรยอยที่สรางไว
               แลว ในโฟลเดอรเก็บงาน ในที่นี้ใชชื่อ images
หนา 18/96                                                        เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
• หมายเลข 6 ที่ HTTP address : เปนการกําหนดที่อยู บน Server ถายังไมมีที่อยูบน
             Server ไมตองใส หรือถามีแตไมตองการให Dreamweaver สงขึ้นไปก็ไมตองใส
           • หมายเลข 7 ที่ Case - sensitive links :ใหคลิกเลือกเครื่องหมายถูก เพื่อตรวจสอบ
             ตัวอักษร เล็ก-ใหญ ซึ่งจะเห็นขอแตกตาง ถา Server เปนระบบ Unix เพราะ Unix ถือ
             วาตัวอักษร เล็ก-ใหญ ไมเหมือนกันเปนคนละตัวกัน




   2. ใสชื่อ Site name เลือกโฟลเดอร และตั้งคาตาง ๆ ดังภาพ แลวคลิก Ok ที่ปุมดานลาง




   3. โปรแกรมจะแสดงชื่อเว็บไซต โฟลเดอรที่
      เก็บเว็บไซตที่เรากําลังจะสรางขึ้นใหม และ
      โฟลเดอรเก็บภาพ ดังภาพ




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                               หนา 19/96
การจัดการโครงสรางโฟลเดอร
      ในการสรางเว็บไซตดวย Dreamweaver 8 เมื่อสรางเว็บไซต หรือ Site งานขึ้นมาแลว โปรแกรม
จะสรางโฟลเดอรใหมสําหรับเก็บขอมูลการทํางานในเว็บไซตนั้น ทั้งหมด หรืออีกวิธีหนึ่ง เราสามารถ
สรางโฟลเดอร เก็บงานไวที่ไดร C และสรางโฟลเดอรยอย ๆ ในการเก็บงานแตละประเภท และเมื่อใช
โปรแกรม Dreamweaver ใหเราเลือกโฟลเดอรที่สรางเตรียมไวสําหรับเก็บเว็บเพจไดตามตองการ

            การสรางเว็บเพจใหม
     ในการสรางเว็บเพจใหมที่จะเก็บไวในเว็บไซตของเรา เราสามารถสรางได 2 วิธี ดวยกัน คือ
การสรางเว็บเพจใหมในหนาตาง New Document และการสรางเว็บเพจใหมในพาเนล Files

    • การสรางเว็บเพจใหมในหนาตาง New Document
       กอนสรางเว็บ ทานตองสรางโครงสราง และกําหนด Site ตามขั้นตอนในเรื่องที่ 1 ใหเรียบรอย
เสียกอน จากนั้นจึงสรางหนาเว็บแตละหนา ซึ่งทานสามารถดําเนินการไดตามขั้นตอน ตอไปนี้

    1. ไปที่เมนู File แลวคลิกเลือก New ดังภาพ



    2. หนาตาง New Document จะปรากฏขึ้น ใหคลิกเลือกแท็บ General เพื่อเลือกหัวขอการสราง
       เว็บเพจใหม และในชอง Category คลิกหัวขอ Basic page แลวเลือก HTML ดังภาพ




    3. จะเกิดหนาเว็บเพจใหมขึ้น และพรอมที่จะสรางงาน




หนา 20/96                                                      เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
4. เมื่อออกแบบเว็บเพจเสร็จแลว จะทําการบันทึก ใหไปที่ File>save จะเกิดหนาจอขึ้น ดังภาพ




   5. ใหตั้งชื่อเว็บเพจ ในที่นี้ เราจะตั้งชื่อเว็บเพจนี้วา index.html แลวคลิก save ชื่อเว็บเพจนี้จะ
      ปรากฏอยูในเว็บไซตหรือ Site งานที่เราสรางขึ้น ดังภาพ




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                              หนา 21/96
• การสรางเว็บเพจใหมในพาเนล File
      เปนการสรางไฟลงานใหมที่เก็บไวใน Site งานที่งาย สะดวก รวดเร็ว มีขั้นตอน ดังตอไปนี้

    1. คลิกเมาสปุมขวาที่โฟลเดอร Site งาน
       แลวคลิกเลือก New File




    2. จะปรากฏเว็บเพจใหม ชื่อ Untitled (แปลวา
       ไมมีชื่อ) ที่มีนามสกุล .html พรอมสําหรับการ
       เปลี่ยนชื่อ ใหตั้งชื่อไฟลงานตามตองการ



    3. ดังตัวอยาง สมมุติเว็บเพจนี้เปนหนาหลัก ใช
       ชื่อวา index.html ก็พิมพชื่อแลวกด Enter




             การสรางโฟลเดอรใหมในเว็บไซต
       ในกรณีที่เราตองการสรางโฟลเดอรใหมเพื่อเก็บภาพ หรือแยกจัดเก็บเรื่องตาง ๆ ไมใหปะปนกัน
เราจําเปนตองสรางโฟลเดอรใหม การสรางโฟลเดอรใหม สามารถทําไดดังนี้

    1. คลิกเมาสปุมขวาที่โฟลเดอรที่เก็บ Site งาน แลว
       เลือก New Folder




    2. ใหตั้งชื่อโฟลเดอรใหม สมมุติโฟลเดอรนี้ไวเก็บ
       ข อ มู ล บุ ค คลที่ ใ ช ใ นเว็ บ ไซต นี้ ให ชื่ อ โฟลเดอร ว า
       personal พิมพชื่อแลวกด Enter จะไดดังภาพ


หนา 22/96                                                                   เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
การเปลี่ยนชือไฟลและโฟลเดอร
                          ่
       การเปลี่ ย นชื่ อ ไฟล แ ละโฟลเดอร สามารถ
กระทําไดงาย โดยคลิกเมาสขวาที่ไฟล หรือโฟลเดอรที่
ตองการจะเปลี่ยนชื่อ แลวเลือก Edit >Rename จะเกิด
ลักษณะพรอมที่จะเปลี่ยน แลวพิมพชื่อใหมที่ตองการ




           การลบไฟลและโฟลเดอร
      การลบไฟลและโฟลเดอร ทําไดโดยคลิกเมาสขวา                                                    ที่
ไฟล หรือโฟลเดอรที่ตองการลบ แลวเลือก Edit >Delete
ไฟลหรือโฟลเดอรจะถูกลบไป ดังภาพ




             การเปดเว็บเพจใหม
        ในการเปดเว็บเพจใหม ใหดับเบิ้ลคลิกไฟลที่สรางไว เพื่อที่จะเขาไปทํางาน เว็บเพจจะถูกเปดหนา
วางขึ้นมาใหเราออกแบบการทํางาน




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                               หนา 23/96
กอนที่จะเริ่มตนการออกแบบทํางาน เราควรที่จะกําหนดรายละเอียดของหนาเว็บเสียกอน โดย
คลิกเมาสขวาที่หนาเว็บ แลวเลือก Page Properties เพื่อตั้งคาตาง ๆ
      Page Properties จะแบงออกเปน 5 หมวด โดยในหมวดแรก คือ
        1. หมวด Appearance เปนการกําหนดสวนประกอบตาง ๆ บนหนาเว็บ ดังภาพ




      สวนประกอบตาง ๆ ในหนานี้ มีการกําหนดคา ดังนี้
                 หมายเลข 1 Page font ใหเลือกรูปแบบตัวอักษรที่จะใชในเว็บเพจ
                 หมายเลข 2 Size กําหนดขนาดของตัวอักษร
                 หมายเลข 3 Text color กําหนดสีของตัวอักษร
                 หมายเลข 4 Background color กําหนดสีพื้นหลังของหนาเว็บเพจ
                 หมายเลข 5 Background image กําหนดภาพที่เปนพื้นหลังของหนาเว็บเพจ
                 หมายเลข 6 Repeat กําหนดใหเลือกภาพ Background วาใหกระทําซ้ําอยางไร
                 (no-repeat ไมซ้ํา, repeat เปนแบบปูเต็มพื้นที่, repeat-x ปูไปตามแนวนอน,
                 repeat-y ปูไปตามแนวตั้ง)
                 หมายเลข 7 Left margin กําหนดระยะขอบซายของหนาเว็บ
                 หมายเลข 8 Right margin กําหนดระยะขอบขวาของหนาเว็บ
                 หมายเลข 9 Top margin กําหนดระยะขอบบนของหนาเว็บ
                 หมายเลข 10 Bottom margin กําหนดระยะขอบลางของหนาเว็บ
        2. หมวด 2 Links เปนการกําหนดคุณสมบัติของ Links มีรายละเอียด ดังนี้




                  หมายเลข 1 Link font กําหนดตัวอักษรของลิงค
                  หมายเลข 2 Size กําหนดขนาดตัวอักษรของลิงค
                  หมายเลข 3 Link color กําหนดสีใหกับลิงค

หนา 24/96                                                 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
หมายเลข 4 Rollover links การกําหนดสีเมื่อเมาสลากผาน
                หมายเลข 5 Visited links กําหนดสีมื่อไปที่ Link นี้แลว
                หมายเลข 6 Active links การกําหนดสี Link ที่ใชงานได
                หมายเลข 7 Underline style กําหนดรูปแบบการขีดเสนใตใหกับลิงค
       3. หมวด 3 Headings เปนการกําหนดคุณสมบัติหัวขอของเว็บเพจ มีรายละเอียด ดังนี้




               หมายเลข 1 Heading font กําหนดรูปแบบตัวอักษรหัวขอที่จะปรากฏบนหนาเว็บ
               หมายเลข 2 Heading 1-6 กําหนดขนาดตัวอักษรที่ใชสรางหัวขอบนหนาเว็บ

       4. หมวด 4 Title/Encoding เปนการกําหนดชื่อใหสวนไตเติ้ลและกําหนดชุดตัวอักษรที่ใชของ
          เว็บเพจ มีรายละเอียด ดังนี้




                   หมายเลข 1 Title กําหนดสวนไตเติ้ลหรือชื่อหัวเรื่องใหเว็บเพจ
                   หมายเลข 2 Document type กําหนดประเภทของเว็บเพจ
                   หมายเลข 3 Encoding กําหนดรูปแบบภาษาของตัวอักษรที่ใชในเว็บเพจ สําหรับ
                   การแปลงตัวอักษรเพื่อเปนภาษามาตรฐาน โดยใหเลือก Thai (Windows) ถา
                   ตองการใชภาษาไทย

       5. หมวด 5 Tracing Image เปนการกําหนดคุณสมบัติของรูปที่ใชเปนแบบในการสรางหนา
          เว็บเพจ มีรายละเอียด ดังนี้


เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                     หนา 25/96
หมายเลข 1 Tracing Image ใหเลือกไฟลภาพที่จะใช
                 หมายเลข 2 Image Transparency กําหนดคาความโปรงใสของภาพที่จะแสดงบนหนา
                 เว็บเพจ

             การเพิ่มและแกไของคประกอบบนหนาเว็บ
       ในการเพิ่มและปรับแตงองคประกอบบนหนาเว็บ สามารถทําไดงาย ๆ ไมวาจะพิ่มตาราง รูปภาพ
หรือแบบฟอรมตาง ๆ ในโปรแกรม Dreamweaver
จะเรียกองคประกอบเหลานี้วา Object (ออบเจ็กต)
โดยเราสามารถสรางออบเจ็กตนี้ได โดยอาศัยกลุม
เครื่องมือตาง ๆ       ที่ไดกลาวไว แลวในตอนตน
ดังตัวอยาง ถาเราตองการนําภาพเขา ในโปรแกรม
ใหไปที่เครื่องมือรูป ซึ่งอยูในกลุม Common เมื่อ
เลือ กภาพที่ ตอ งการไดแ ลว ให ค ลิก แทรกภาพเข า
โปรแกรม ภาพก็จะปรากฏในหนาเว็บ ณ ตําแหนงที่
เคอรเซอรอยู
         เมื่อนําภาพเขาโปรแกรมไดแลว
ถ า เราจะจั ดการปรั บ แต ง ภาพ หรื อ
ออบเจ็กต ใหคลิกที่ภาพนั้น ๆ จะเกิอ
จุดดํา 3 จุดรอบภาพ และเกิด Property
Inspector ของภาพดานลาง เพื่อให
กําหนดรายละเอียดตามตองการ



       สําหรับการพิมพตัวหนังสือ สามารถพิมพลงบนหนาเว็บไดเลย และปรับแตงตัวหนังสือ กําหนด
ขนาด กําหนดสีและอื่น ๆ ไดที่ Properties
ดานลาง




หนา 26/96                                                  เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
การใสหัวเรืองบนหนาเว็บ
                            ่
        การใสหัวเรื่องบนหนาเว็บ เมื่อเราเปดเว็บไซตขึ้นมา ในชอง Title บน Toolbar เราสามารถพิมพ
ชื่อหัวเรื่องที่ตองการลงไปไดเลย




      ตอจากนั้นเลือกคําสั่ง File>Save เพื่อบันทึก แลวกดปุม F12 ดู ชื่อหัวเรื่องของหนาเว็บบน
หนาตางบราวเซอร ซึ่งจะปรากฏชื่อตามที่เราตั้งไว ดังภาพ




             การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8
      การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8 ซึ่งในเวอรชั่นนี้ เราสามารถพิมพภาษาไทย ในหนาตาง
Design          View           ได เ ลยและข อ ความภาษาไทยก็ จ ะปรากฏในหน า ต า งบราวเซอร ทั น ที
      สําหรับผูที่ตองการเขาไปแกไขโคด HTML ในหนาตาง Code View จะเห็นไดวาขอความที่เรา
พิมพที่ Design View จะแสดงเปนเลขรหัส ในหนาตาง Code View ดังภาพ




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                            หนา 27/96
ถาเราตองการจะอานโคดออก เปนภาษาไทยเหมือนที่เราพิมพที่ Design View ตองกําหนดให
ภาษาที่ใชในเว็บเปน Thai (Windows) โดยเลือกเมนูคาสั่ง Modify>Page Properties หรือคลิกขวาที่
                                                 ํ
หนาเว็บ แลวเลือก Page Properties ดังภาพ




      ตอไป ใหเลือกหัวขอ Title/Encoding ที่ชอง Encoding เลือก Thai (Windows) ดังภาพ




      เมื่อเลือก Thai (Windows)      แลว โคดที่เปนรหัสจะแสดงเปนภาษาไทยเหมือนที่เราพิมพ ที่
หนาตาง Design View ดังภาพ




หนา 28/96                                                     เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
การเพิ่ม-ลบฟอนต
     ก า ร เ พิ่ ม -ล บ ฟ อ น ต เ พื่ อ ใ ช ง า น ใ น
Dreamweaver ทําไดโดย เลือกคําสั่งที่เมนูบาร
Text>Font>Edit Font List ดังภาพ
    ขั้นตอนการเพิ่มฟอนต มีรายละเอียดดังนี้ ดู
ภาพประกอบ




    1. หมายเลข 1 Font list เปนฟอนตที่มีอยูแลว
    2. หมายเลข 2 Available fonts เลือกฟอนตจาก windows ที่ตองการเพิ่ม ดังตัวอยาง ถาตองการ
       เลือกฟอนต ชื่อ AngsanaUPC ใหคลิกเลือก
    3. หมายเลข 3 เมื่อเลือกฟอนตไดแลว ใหคลิกปุม    เพื่อสงมาที่ชองหมายเลข 4
    4. หมายเลข 4 Chosen fonts เปนชองที่วางฟอนตที่ถูกเลือกเพิ่มขึ้นมา
    5. หมายเลข 5 สามารถจัดลําดับของฟอนตที่ใชบอย ๆ ใหเลื่อนขึ้นมาอยูลําดับแรก ๆ ได โดยใช
       ลูกศรเลื่อนขึ้น      หรือลูกศรเลื่อนลงเพื่อตองการจัดใหฟอนตเลื่อนลงจากตําแหนงเดิม
    6. หมายเลข 6 เมื่อเลือกฟอนตไดตามตองการแลว ใหกดปุม OK

    • การลบฟอนต
     การลบฟอนต ทําไดโดย เลือกคําสั่งที่เมนูบาร Text>Font>Edit Font List แลวเลือกฟอนตที่
ตองการลบในชอง Font list และคลิกปุม            แลวคลิกปุม OK




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                        หนา 29/96
การปรับแตงขอความบนเว็บเพจ
           การใสขอความบนหนาเว็บ
      การใสขอความบนหนาเว็บเพจ กระทําไดงาย ๆ โดยการพิมพบนหนาเว็บเพจไดเลย หรือจะ copy
ขอความมาจากไฟล word หรือจากโปรแกรมอื่น ๆ แลวนํามาวางบนหนาเว็บเพจก็ได ดังภาพ




      จากตัวอยาง ถาเราตองการขึ้นยอหนาใหม ตรงขอความ "ตอมา ไดมีการจัดตั้ง...ใหเราตั้งเคอร
เซอรหนาขอความที่ตองการจะขึ้นยอหนาใหมแลวกด Enter ที่แปนพิมพ ขอความนั้น จะขึ้นยอหนาใหม
ให และเกิดการแทรกบรรทัดวางขึ้น ดังภาพ




        ถาเราไมตองการขึ้นยอหนาใหม แตตองการขึ้นบรรทัดใหม ใหกด <Shift + Enter> หรือคลิก
เมาสที่ปุม    ในกลุมเครื่องมือ Text จะเปนการแทรก Line Break ในขอความตรงตําแหนงที่เรา
ตองการ ดังตัวอยาง ถาเราตองการขึ้นบรรทัดใหม ตรงขอความ "ตอมา ไดมีการจัดตั้ง...ใหเราตั้งเคอรเซ
อรหนาขอความที่ตองการจะขึ้นบรรทัดใหมแลวกด <Shift + Enter> ที่แปนพิมพ ก็จะได ดังภาพ




       ตอไป ถาเราตองการจะยอหนา ใหคลิกเมาสที่ สามเหลี่ยมเล็ก ๆ ขางปุม BR ดังภาพ



หนา 30/96                                                        เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
ซึ่งอยูในกลุมเครื่องมือ Text และเลือก Non-Breaking Space




      ตอไป เราตองการยอหนา บรรทัดแรก ใหเราตั้งเคอรเซอร ที่หนาคําวา "ศูนย... และบรรทัดที่ 5

คําวา "ตอมา...ใหคลิกที่รูป ดังภาพ
         โดยคลิกติด ๆ กัน จนกวาจะยอหนาเขา
ไปไดตามตองการ ดังภาพ




            การตกแตงและจัดรูปแบบขอความ
     กอนที่จะตกแตงและจัดรูปแบบขอความ เราตองเลือกขอความทั้งหมดกอน โดยเลือกคําสั่ง Edit
       
>Select All หรือคลิกเลือกที่แท็ก <body> จะไดผลลัพธ ดังภาพ




       เมื่อเลือกขอความแลว เราปรับแตงและจัดรูปแบบขอความ โดย Property Inspector หรือใชกลุม
เครื่องมือ Text ที่แถบ Insert Bar ในที่นี้ ใหไปที่ Window และเลือก Properties โปรแกรมจะเปด
เครื่องมือ Properties เราก็สามารถตั้งคาฟอนต ขนาด สี ตําแหนงของขัอความ ดังภาพ




     เมื่อเปดหนาจอเครื่องมือ ที่จะใชปรับแตงตัวหนังสือ หรือขอความ ขึ้น เราสามารถกําหนดขนาด
ประเภทตัวหนังสือหรือฟอนต สีของตัวอักษร ตําแหนง และอื่น ๆ สมมุติวา ตองการใหขอความเปน ตัวสี


เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                           หนา 31/96
น้ําเงิน เอียง ขอความตําแหนงชิดซายของเว็บเพจ และหัวขอเปนตัวหนา สามารถกระทําไดโดยใช
เครื่องมือดังที่กลาวมาแลว ขางตน จะไดผลลัพธ ดังภาพ




เครื่องมือที่ใชจัดตําแหนงและตกแตงขอความ ที่ควรรู มีดังนี้

        การจัดตําแหนงขอความโดยใชปุม

             1.      จัดชิดซายของเว็บเพจ
             2.      จัดอยูกึ่งกลาง
             3.      จัดชิดขวา
             4.       จัดใหขอความอยูเต็มบรรทัด

        การจัดยอหนาโดยใชปุม

             5.       คลิกที่ปุม Text Indent เพื่อจัดยอหนาของขอความใหเขาไปมากนอยไดตาม
                  ตองการ
             6.       ถาจัดยอหนาเขาไปมากเกินไป ก็สามารถคลิกปุม Text Outdent เพื่อยกเลิกยอหนา
                  ใหไดระยะหางตามตองการ

        การใส Bullet และตัวเลขกํากับในแตละบรรทัด

             7.       ใชจัดลําดับเนื้อหาในแตละบรรทัดดวย Bullet หรือสัญลักษณรูปแบบ ตาง ๆ
             8.       ใชจัดลําดับเนื้อหาในแตละบรรทัดดวยตัวเลข

           การยอนกลับเพื่อแกไขขอผิดพลาดดวยพาเนล History
       ในการทํางานออกแบบเว็บเพจ เมื่อทําไปเรื่อย ๆ อาจเกิดขอผิดพลาดได เราสามารถยอนกลับไป
แกไขขอผิดพลาดได โดยไปที่เมนูบาร Window>History หรือกดคีย < Shift+F10> ดังภาพ




หนา 32/96                                                        เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
เมื่อเปดพาเนล History จะเห็นบันทึกการทํางานทุกขั้นตอน โดยขั้นตอนลาสุด จะเรียงอยูลําดับ
บนสุดของรายการ ขั้นตอนกอนหนานี้จะอยูลาง ๆ ดังภาพ




      การยอนกลับการทํางานหลาย ๆ ขั้นดวยพาเนลนี้ เราทําไดโดย คลิกเลื่อนแถบ      ไปยังขั้นตอนที่
เราตองการยอนกลับไป โดยจะเลื่อนไปทีละขั้นตอน หรือหลายขั้นตอนได ดังภาพ




     การทําซ้ําขั้นตอนการทํางาน เราสามารถสั่งใหทําซ้ําขั้นตอนการทํางานที่เราตองการจะใหทําซ้ํา
ในพาเนล History ได โดย

   1. คลิกเลือกขั้นตอนที่ตองการใหซ้ํา

เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                         หนา 33/96
2. คลิกที่ปุม          ที่อยูมุมลางดานซายมือ ดังภาพ




             การบันทึกเว็บเพจ
      เมื่อเราออกแบบเว็บเพจไดตามตองการแลว การที่จะบันทึกงาน ใหเลือกคําสั่ง File>Save As เพื่อ
บันทึกไฟลในชื่อใหม ดังภาพ




        จากนั้นใหทําตามขั้นตอน ดังนี้

    1. เลือกโฟลเดอรที่เก็บไฟลงาน
    2. ใหตั้งชื่อไฟล โดยใสนามสกุลเปน .html
    3. คลิกปุม Save เพื่อสั่งบันทึกไฟล

หนา 34/96                                                     เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
นอกจากนี้ ยังมีรูปแบบในการบันทึกเว็บเพจทีควรรูอีก 4 วิธี คือ
                                                ่

   •   วิธีที่ 1 เลือกคําสั่ง File>Save เพื่อบันทึกไฟลในชื่อเดิม
   •   วิธีที่ 2 เลือกคําสั่ง File>Save All บันทึกไฟลทั้งหมดที่มการเปลี่ยนแปลงแกไข
                                                                  ี
   •   วิธีที่ 3 เลือกคําสั่ง File>Save to Remote Server ทําการบันทึกเว็บเพจและอัพโหลดไปยัง
       เซิรฟเวอร
   •   วิธีที่ 4 คลิกเลือกรูป   นี้ ในกลุมเครื่องมือ Standard Bar บน Insert Bar เพื่อบันทึกไฟลเว็บ
       เพจใหมโดยตั้งชื่อใหมตามที่เราตองการ หรือบันทึกไฟลเว็บเพจในชื่อเดิมไดอยางรวดเร็ว โดย
       ดําเนินการไดดงนี้
            1. คลิกเมาสขวาที่แถบกลุมเครื่องมือ Document และเลือกคําสั่ง Standard ดังภาพ




           2. คลิกเมาสบันทึกไฟลเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยู ดังภาพ




              แตถาเราออกแบบงานเว็บเพจเสร็จแลว และยังไมไดมีการบันทึก หรือมีการแกไข
       เปลี่ยนแปลงและยังไมไดบันทึก โปรแกรม Dreamweaver จะมีเครื่องหมาย * ปรากฏเตือนอยูที่
       มุมบนขวาของชื่อไฟล ดังภาพ




เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver                                                            หนา 35/96
การดูผลลัพธของเว็บเพจบนหนาตางบราวเซอร
    เมื่อเราบันทึกเว็บเพจเสร็จเรียบรอยแลว และ ตองการที่จะดูเว็บเพจที่เราออกแบบวาเวลาแสดงผล
บนหนาตางบราวเซอรจะมีผลตามที่ตองการหรือไม อยางไร เราสามารถดําเนินการได 3 วิธีการ ดังนี้

             วิธีที่ 1 กดปุม < F12 > ที่คียบอรด
             วิธีที่ 2 ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล html ที่เราบันทึกเก็บไวในเครืองคอมพิวเตอร
                                                                         ่
             วิธีที่ 3 เลือกคําสั่ง File>Preview in Browser>IEexplore ดังภาพ




        หลังจากนั้นผลลัพธ จะปรากฏบนหนาจอในหนาตางบราวเซอร ดังภาพ




                                    ตกแตงเว็บเพจดวยกราฟก
            เตรียมภาพเพื่อใชในเว็บเพจ
        ในการออกแบบเว็บเพจ นอกจากจะมีขอความแลว ภาพนับวาเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยทําใหเว็บ
เพจนั้น ๆ มีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น



หนา 36/96                                                            เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]
Dreamweaver8 new[1]

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Dreamweaver8 new[1]

รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
NooLuck
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
dekthai
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
พงศธร ภักดี
 
12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บ12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บ
teaw-sirinapa
 
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...
Panda Jing
 
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
sa_jaimun
 
คู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทย
คู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทยคู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทย
คู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทย
ธนวัฒน์ แสนสุข
 
Dream weaver cs3
Dream weaver cs3Dream weaver cs3
Dream weaver cs3
first351
 

Semelhante a Dreamweaver8 new[1] (16)

Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
Blog ด้วย Wordpress.com
Blog ด้วย Wordpress.comBlog ด้วย Wordpress.com
Blog ด้วย Wordpress.com
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
Ch09
Ch09Ch09
Ch09
 
Kompozer manual
Kompozer manualKompozer manual
Kompozer manual
 
Dream weaver8
Dream weaver8Dream weaver8
Dream weaver8
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บ12 หลักการออกแบบเว็บ
12 หลักการออกแบบเว็บ
 
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย html5 และ java script สำหรับผู้เริ่มต้น (ตัวอ...
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
Google site
Google siteGoogle site
Google site
 
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
 
คู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทย
คู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทยคู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทย
คู่มือใช้งาน Mambo ฉบับภาษาไทย
 
คู่มือ Dream cs3
คู่มือ Dream cs3คู่มือ Dream cs3
คู่มือ Dream cs3
 
Dream weaver cs3
Dream weaver cs3Dream weaver cs3
Dream weaver cs3
 

Mais de thongtaw (14)

Power point20079
Power point20079Power point20079
Power point20079
 
Power point20078
Power point20078Power point20078
Power point20078
 
Power point20077
Power point20077Power point20077
Power point20077
 
Power point20076
Power point20076Power point20076
Power point20076
 
Power point6
Power point6Power point6
Power point6
 
Power point5
Power point5Power point5
Power point5
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Power point20074
Power point20074Power point20074
Power point20074
 
Power point20073
Power point20073Power point20073
Power point20073
 
Power point20072
Power point20072Power point20072
Power point20072
 
Power point20071
Power point20071Power point20071
Power point20071
 
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชาตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
 
การทำภาพสีให้เป็นแบบฟิล์ม
การทำภาพสีให้เป็นแบบฟิล์มการทำภาพสีให้เป็นแบบฟิล์ม
การทำภาพสีให้เป็นแบบฟิล์ม
 
ทำตัวอักษรให้เคลื่อนไหวแบบจางหาย ใน gif animation
ทำตัวอักษรให้เคลื่อนไหวแบบจางหาย ใน gif animationทำตัวอักษรให้เคลื่อนไหวแบบจางหาย ใน gif animation
ทำตัวอักษรให้เคลื่อนไหวแบบจางหาย ใน gif animation
 

Dreamweaver8 new[1]

  • 1. สารบัญ หัวขอ หนา 1. ความรูเบื้องตนในการสรางเว็บไซต 6 หลักการสรางเว็บไซต 6 อินเทอรเน็ตพืนฐาน้ 6 ความสําคัญของอินเทอรเน็ต 6 ทําความรูจัก HTML 8 คุณสมบัติของเครื่องที่เหมาะกับ Dreamweaver 8 9 การติดตั้ง Dreamweaver 8 9 การเปดใชงาน Dreamweaver 8 12 สวนประกอบของ Dreamweaver 8 13 2. หลักการสรางเว็บไซต 17 เริ่มตนสรางเว็บไซต 17 การจัดการโครงสรางโฟลเดอร 20 การสรางเว็บเพจใหม 20 การเพิ่มและแกไของคประกอบบนหนาเว็บ 26 การใสหัวเรื่องบนหนาเว็บ 27 การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8 27 การเพิ่ม-ลบฟอนต 29 3. การปรับแตงขอความบนเว็บเพจ 30 การใสขอความบนหนาเว็บ 30 การตกแตงและจัดรูปแบบขอความ 31 การยอนกลับเพื่อแกไขขอผิดพลาดดวยพาเนล History 32 การบันทึกเว็บเพจ 34 การดูผลลัพธของเว็บเพจบนหนาตางบราวเซอร 36 4. ตกแตงเว็บเพจดวยกราฟก 36 เตรียมภาพเพือใชในเว็บเพจ ่ 36 การปรับแตงรูปภาพ 38 การนําภาพมาแสดงเปนพื้นหลังเว็บเพจ 43 การแกไขรูปภาพ 45 5. การสรางตารางบนเว็บเพจ 46 การสรางตาราง 46 การปรับขนาดชองตาราง การใสขอมูลและภาพในตาราง 48 การเลือกตาราง แถว คอลัมน และเซล 50 การปรับแตงรายละเอียดของตาราง 52 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 1/96
  • 2. การจัดเรียงขอความในตาราง 52 การแทรกแถวและคอลัมน 54 การลบแถวและคอลัมน 56 การรวมและการแบงเซล 57 การขยายและลดความกวางเซลในตาราง 58 ปรับความสูงและความกวางของตารางใน Property Inspector 59 การซอนตาราง 62 การกําหนดสีใหกับพื้นตาราง 62 การคัดลอกขอมูลในตาราง 65 6. การเชื่อมโยง 65 การเชื่อมโยงภายในเว็บเพจหนาเดียวกัน 65 การเชื่อมโยงภายในเว็บไซตเดียวกัน 66 การเชื่อมโยงไปเว็บไซตอื่นและเชื่อมโยงดวยอีเมล 68 การเชื่อมโยงดวย Map Link 69 การกําหนดคุณสมบัติของการเชื่อมโยง 70 7. การออกแบบเลยเอาท 71 การใชเลยเอาท 71 โครงสรางของหนาเว็บ 73 การสรางเลยเอาทเทเบิล และเลยเอาทเซล ้ 73 8. เฟรม เลเยอร แฟลช 77 การใชเฟรม 77 การใชเลเยอร 80 การใชแฟลช (Flash) 82 9. การจดทะเบียนเว็บไซต การหาเว็บโฮสติ้ง และการอัพโหลดไฟล 85 การจดทะเบียนเว็บไซต 85 การหาเว็บโฮสติ้ง 88 การอัพโหลดไฟล 90 หนา 2/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 3. เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver  คําอธิบายรายวิชา หลักสูตรเนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver นี้ จะชวยใหผูเขาอบรมลดภาระการประชาสัมพันธ การเผยแพรขอมูลตางๆ ของ องคการ และลดปริมาณเอกสารภายใน โดยการจัดเก็บไวในรูปแบบของสื่อ อิเล็กทรอนิกส หลักสูตรนี้เหมาะอยางยิ่งสําหรับหนวยงานที่ตองการจัดทําเอกสารไวในรูปแบบของ เอกสารอิเล็กทรอนิกส หรือตองการลดปริมาณกระดาษ เชน ฝายบุคคลตองการสรางเว็บเพื่อแสดงขอมูล ของพนักงานแตละคนไดวาชื่ออะไร อยูแผนกไหน เบอรโทรศัพทอะไร อีเมลอะไร พรอมรูปถาย หรือแจง ขาวสารการจัดฝกอบรม การจัดเก็บคูมือปฏิบัติงาน การจัดเก็บวิดีโอสอนการทํางาน ฝายขายก็สามารถ แสดงภาพสินคา และคุณสมบัติตางๆ ของ สินคาแตละชนิดได ฝายประชาสัมพันธก็สามารถเผยแพร ขาวสารของบริษัทได ไมวาจะเปน ขาวเกี่ยวกับ 5ส การไปทัศนะศึกษาดูโรงงาน หรือวิดีโอการทํา กิจกรรมในวันสําคัญตางๆ ฝายหองสมุดก็สามารถแนะนําหนังสือใหมๆ หรือความรูตางๆ สําหรับ เผยแพรภายในบริษัท ฝายธุรการก็สามารถสรุปรายงานการประชุม ขาวสารจากผูบริหารได ซึ่งจะชวยให องคการ ของทานมีการสื่อสารกันไดอยางมีประสิทธิภาพ จุดประสงค 1. เพื่อใหผูเขาอบรมเขาใจหลักการสรางเว็บไซตสําหรับใชภายในองคกรของตนได 2. เพื่อใหผูเขาอบรมเขาใจการทํางาน และสามารถใชโปรแกรม Dreamweaver ได 3. เพื่อใหผูเขาอบรมนําไฟลประเภทตาง ๆ เชน ไฟลรูปภาพ ไฟลวิดีโอ มาใชในการจัดทําเว็บไซต ไดอยางมีประสิทธิภาพ ความรูพื้นฐานของผูเขาอบรม 1. Microsoft Windows 2. Internet Explorer เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรูเบื้องตนในการสรางเว็บไซต หลักการสรางเว็บไซต อินเทอรเน็ตพืนฐาน ้ ความสําคัญของอินเทอรเน็ต ทําความรูจัก HTML คุณสมบัติของเครื่องที่เหมาะกับ Dreamweaver 8 การติดตั้ง Dreamweaver 8 การเปดใชงาน Dreamweaver 8 สวนประกอบของ Dreamweaver 8 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 3/96
  • 4. 2. หลักการสรางเว็บไซต เริ่มตนสรางเว็บไซต การจัดการโครงสรางโฟลเดอร การเปดเว็บเพจใหม การเพิ่มและแกไของคประกอบบนหนาเว็บ การใสหัวเรื่องบนหนาเว็บ การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8 การเพิ่ม-ลบฟอนต 3. การปรับแตงขอความบนเว็บเพจ การใสขอความบนหนาเว็บ การตกแตงและจัดรูปแบบขอความ การยอนกลับเพื่อแกไขขอผิดพลาดดวยพาเนล History การบันทึกเว็บเพจ การดูผลลัพธของเว็บเพจบนหนาตางบราวเซอร 4. ตกแตงเวบเพจดวยกราฟก ็ เตรียมภาพเพือใชในเว็บเพจ ่ การปรับแตงรูปภาพ การนําภาพมาแสดงเปนพื้นหลังเว็บเพจ การแกไขรูปภาพ 5. การสรางตารางบนเว็บเพจ การสรางตาราง การปรับขนาดชองตาราง การใสขอมูลและภาพในตาราง การเลือกตาราง แถว คอลัมน และเซล การปรับแตงรายละเอียดของตาราง การจัดเรียงขอความในตาราง การแทรกแถวและคอลัมน การลบแถวและคอลัมน การรวมและการแบงเซล การขยายและลดความกวางเซลในตาราง ปรับความสูงและความกวางของตารางใน Property Inspector การซอนตาราง การกําหนดสีใหกับพื้นตาราง การคัดลอกขอมูลในตาราง 6. การเชื่อมโยง การเชื่อมโยงภายในเว็บเพจหนาเดียวกัน การเชื่อมโยงภายในเว็บไซตเดียวกัน หนา 4/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 5. การเชื่อมโยงไปเว็บไซตอื่นและเชื่อมโยงดวยอีเมล การเชื่อมโยงดวย Map Link การกําหนดคุณสมบัติของการเชื่อมโยง 7. การออกแบบเลยเอาท การใชเลยเอาท โครงสรางของหนาเว็บ การสรางเลยเอาทเทเบิล และเลยเอาทเซล ้ 8. เฟรม เลเยอร แฟลช การใชเฟรม การใชเลเยอร การใชแฟลช (Flash) 9. การจดทะเบียนเว็บไซต การหาเว็บโฮสติ้ง และการอัพโหลดไฟล การจดทะเบียนเว็บไซต การหาเว็บโฮสติ้ง การอัพโหลดไฟล เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 5/96
  • 6. ความรูเบื้องตนในการสรางเว็บไซต หลักการสรางเว็บไซต ในการสรางเว็บไซตในยุคเริ่มแรกนั้น ผูสรางจะตองมีความรูเกี่ยว กับภาษา HTML จึงจะ สามารถสรางเว็บเพจได โดยใชโปรแกรม EditPlus หรือ Notepad ในการเขียนโคดทั้งหมด แลวบันทึก เปนไฟลนามสกุล .html จากนั้นเปดบราวเซอรเพื่อดูผลลัพธของหนาเว็บที่สราง ซึ่งทําใหเสียเวลาในการ ทํางานมาก แตถามี ความรูในภาษา HTML บางจะชวยใหเราสรางสรรคงานไดอยางสวยงาม ตามความ ตองการ ในปจจุบันโปรแกรม Dreamweaver เปนโปรแกรม สรางเอกสารเว็บเพจ ที่ทํางานในลักษณะ HTML Generator คือ โปรแกรมจะสรางรหัสคําสั่ง HTML ใหอัตโนมัติ โดยผูใช ไมตองศึกษาภาษา HTML หรือปอนรหัสคําสั่ง HTML มีลักษณะการทํางานคลายๆ กับการพิมพเอกสารดวย Word Processor โดยอาศัยปุมเครื่องมือ (Toolbars) หรือแถบคําสั่ง (Menu Bar) ควบคุมการทํางาน ชวยให งายตอการใชงาน สะดวก และรวดเร็วในการสรางเว็บเพจ อินเทอรเน็ตพื้นฐาน อินเทอรเน็ต มาจากคําวา Inter Connection Network เปนระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่มีขนาด ใหญ เครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องทั่วโลกสามารถติดตอสื่อสารถึงกันได โดยใชมาตรฐานในการรับสง ขอมูลที่เปนหนึ่งเดียว หรือที่เรียกวา โปรโตคอล (Protocol) ซึ่งโปรโตคอลที่ใชบนระบบเครือขาย อินเทอรเน็ตมีชื่อวา ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ลักษณะของระบบอินเทอรเน็ตเปนเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก ในแตละจุดที่เชื่อมตอ อินเทอรเน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันไดหลายเสนทางตามความตองการ โดยไมกําหนดตายตัว และไม จําเปนตองไปตามเสนทางโดยตรง อาจจะผานจุดอื่น ๆ หรือเลือกไปเสนทางอื่นไดหลาย ๆ เสนทาง การ ติดตอสื่อสารผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตนั้นอาจเรียกวา การติดตอสื่อสารแบบไรมิติ หรือ Cyberspace ความสําคัญของอินเทอรเน็ต 1. การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย 2. การติดตอสื่อสารที่สะดวก และรวดเร็ว 3. สามารถใชเปนแหลงคนควาหาขอมูลไดทั่วโลก ระบบเครือขายอินเทอรเน็ตจะทําหนาที่ เสมือนเปนหองสมุดขนาดใหญ และเปนแหลงรวบรวมขอมูลแหลงใหญที่สุดในโลก ในการติดตอสื่อสารบนเครื่อขายอินเทอรเน็ตที่คอมพิวเตอรทั่วโลกเชื่อมโยงถึงกันนั้น มีการ ติดตอสื่อสารอยู 2 แบบคือ แบบสงขอมูลและรับขอมูล และการที่จะสรางเว็บเพจดวย Dreamweaver นั้น เราควรมีความรูเกี่ยวกับศัพททางอินเทอรเน็ตที่เกี่ยวของ เพื่อความเขาใจที่ดี ดังนี้ เครื่องใหบริการ (Server) คือ เครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่สงขอมูล เครื่องรับบริการ (Client) คือ เครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่รับขอมูล เครือขายใยแมงมุม WWW (World Wide Web) หรือเรียกสั้น ๆ วาเว็บ คือ การใหบริการในรูปแบบที่เรียกบราวเซอร เชน Internet Explorer จากเครื่อง หนา 6/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 7. ของเรา และระบุที่อยู URL ก็สามารถที่จะเปดเว็บไซตได เชน ถาเราระบุ URLที่ ตองการเปด คือ www.TrainingDD.com ก็เ ปนการเปดดูเ ว็บไซต ของ TrainingDD ดังภาพ เว็บเพจ (Web Page) คือ เอกสารที่เราเปดดูจาก www ซึ่งสวนใหญจะถูกสราง ขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอรที่ เรียกวา HTML ประกอบดวยตัวหนังสือ รูปภาพ และมีการเชื่อมตอกับเว็บเพจอื่นๆ เว็บไซต (Web Site) คือ การรวบรวมเว็บเพจไวหลาย ๆ หนา และ กําหนด เว็บเพจหนาหนึ่งใหเปนหนาแรก เรียกวา โฮมเพจ (Home Page) ซึ่งเปนประตู ทางเขาสูเว็บเพจหนาอื่น ๆ ทั้งหมดในเว็บไซตนั้น ๆ เว็บบราวเซอร (Web Browser) คือ โปรแกรมที่ใชเขาสู World Wide Web เปนโปรแกรมที่อยูในเครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย (Client) ทําหนาที่ในการ นําเสนอขอมูลเว็บ บราวเซอรที่ไดรับความนิยมในปจจุบัน เชน Internet Explorer ของไมโครซอฟท และ Firefox ซึ่งเปนบราวเซอรโอเพนซอสต เว็บเซิรฟเวอร (Server) คือ ที่เก็บเว็บเพจ โดยใชโปรแกรม WFTP ในการนํา เว็บเพจขึ้นไปไวบนเซิรฟเวอร เรียกวาอัพโหลด (Upload) และนําเว็บเพจลงมา แกไขในเครื่องของเรา เรียกวา ดาวนโหลด (Download) โดเมนเนม (Domain name) คือ การติดตอกันบนอินเทอรเน็ต จะใชไอพี แอดเดรส (IP address)ในการทํางาน แตเปนตัวเลขหลายตัว ทําใหจดจําไดยาก จึงมีการใชโดเมนเนม ซึ่งเปนตัวอักษรที่จดกัน และจะมีชื่อไมซ้ํากันโดยตั้งชื่อให สอดคลองกับหนวยงาน องคกร บริษัท หางราน เพื่อความสะดวกในการจดจํา ชื่อ เชน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย มีโดเมนเนม คือ egat.co.th เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 7/96
  • 8. ทําความรูจัก HTML HTML ยอมาจาก Hyper Text Markup Language ภาษา HTML เปนภาษาที่ใชในวงการ อินเทอรเน็ต เว็บไซตตาง ๆ เขียนขึ้นโดยใชภาษา HTML เปนหลัก ทําใหเราสามารถนําเสนอ ขอความ ภาพ เสียง หรือแมแตวิดีโอ ผานทางอินเทอรเน็ตได คําวา Hyper มีความหมายตรงขามกับคําวา เรียงลําดับ คือ ไมจําเปนตองเรียงลําดับ สามารถ กระโดดขามขั้นตอนได เชน ในหนาเว็บ เราสามารถที่จะคลิกไปยังที่ตาง ๆ ตามลิงค ไดตามตองการ ไม จําเปนตองอานเรียงไปทีละหนา นี่จึงเปนลักษณะสําคัญของ HTML ที่สามารถลิงคไปยังที่ตาง ๆ ได คําวา Text หมายถึงขอความ HTML เปนไฟลตัวอักษร หรือ text file สามารถสรางโดยใช โปรแกรมไดหลายโปรแกรม เชน Notepad, EditPlus หรือแมแต MS Word ก็ได คําวา Markup เปนการแบงขอความออกเปนสวน ๆ โดยมีคําสั่ง หรือ tag บอกใหทราบวาจะให แสดงภาพ หรือ ขอความนั้น ๆ อยางไร เชน ใหตัวอักษรเปนสีตาง ๆ มีลักษณะตัวหนา หรือ ตัวเอียง เปนตน สวนคําวา Language หมายถึง ภาษา เราจัด HTML เปนภาษา ทางคอมพิวเตอรภาษาหนึ่ง แต ใชในการนําเสนอเนื้อหาสาระบนเว็บเทานั้น อยางไรก็ตาม มีบางคนยัง ไมยอมรับวา HTML เปนภาษา ทางคอมพิวเตอรเพราะขาดคุณสมบัติทางดานตัวแปรเพราะ HTML ไมมีการเก็บคา ตัวแปรแตอยางใด โครงสรางของภาษา HTML โครงสรางหลักของภาษา จะมี Tag ที่ประกอบจากวงเล็บ <TAG name> เปนตัวเปดการควบคุม อักษรและปดการควบคุมอักษรดวย </TAG name> โดยมีเครื่องหมาย / อยูใน Tag หมายถึง การปด การควบคุม ภายใน Tag ตาง ๆ จะมี Tag ที่อยูเดี่ยว (Single) กับ Tag ที่ตองประกอบกันเปนชุด (Composite) และใน Tag แตละตัวอาจจะมี Attribute เพื่อขยาย ความหมายหรือเพิ่มการควบคุม Tag ไดอีกดวย นอกจากนั้น HTML สามารถทํา Comment ไดดวยการใช <! และจบดวย !> เพื่อไมตองแปล สัญลักษณที่อยูระหวางเครื่องหมายทั้งสองนี้ Tag ในภาษา HTML ที่สําคัญมีดังตอไปนี้ <HTML> และ </HTML> เปน Tag ที่ใชเพื่อกําหนดวาเอกสารตอไปนี้ เปนเอกสาร HTML เปน Markup Language <HEAD> และ </HEAD> เปน Tag ที่ใชกําหนดสวนหัวของเอกสาร HEAD ไมไดเปนสวนของ เอกสารภายใน แตจะให ขอมูลเกี่ยวกับเอกสารฉบับนี้ โดยจะมี <METHA> Tag เปนตัวกําหนด คุณสมบัติตาง ๆ การกําหนด Key Word ใหรูวาเว็บของเราคืออะไร เปนคําสั่งควบคุมการทํางาน ของเว็บใหทํางานแบบอัตโนมัติได ซึ่งจะเปนประโยชนสําหรับการคนหาเว็บไซตตาง ๆ ที่มีอยูใน โลกนี้ ดวยวิธี Search Engine <TITLE> และ </TITLE> เปนการระบุขอความที่ตองการใหเปนสวนหัวของเอกสาร ที่จะปรากฏ อยูที่ Task Bar ใน Browser โดย Title จะเปนสวนหนึ่งของ Head เชน <title> การไฟฟาฝาย ผลิตแหงประเทศไทย</title> จะปรากฏใหเห็นรายละเอียดอยูดานบน Task Bar ดานบน <BODY> และ </BODY> เปน Tag ที่บอกถึงลักษณะตาง ๆ ของเอกสารฉบับนี้ ซึ่งใน Body จะ มี Attribute ตาง ๆ ไดแก BGCOLOR = "#XXXXXX", TEXT = "# XXXXXX " เปนตน หนา 8/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 9. ตัวอยาง HTML Code ตัวอยางผลลัพธที่ได คุณสมบัติของเครื่องทีเหมาะกับ Dreamweaver 8 ่ สําหรับเครื่อง PC CPU ความเร็วไมต่ํากวา 800 MHz ระดับไมต่ํากวา Pentium III หนวยประเมินผลกลาง(CPU) processor หรือเทียบเทา ระบบปฏิบัติการ windows 2000 หรือ Windows XP หนวยความจํา(RAM) 256 MB หากใชงานบน Windows XP ควรใช 512 MB หรือ 1 GB ขึ้นไป พื้นที่วางบนฮารดดิสก อยางนอย 650 MB การติดตั้ง Dreamweaver 8 การติดตั้ง Dreamweaver 8 เริ่มตนดวยการนําแผนโปรแกรมใสในชองอาน CD และเริ่มติดตั้ง ตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Install Dreamweaver 8 ดังภาพ 2. จะปรากฏหนาตางเตรียมการติดตั้งโปรแกรม ดังภาพ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 9/96
  • 10. 3. คลิกเมาสที่ปุม Next เพื่อเริ่มขั้นตอนการติดตั้ง ดังภาพ 4. จากนั้นคลิกเมาสเลือก I accept the terms in the license agreement เพื่อรับขอตกลง ในการใชงาน Dreamweaver และคลิก Next เพื่อติดตั้งโปรแกรมตอไป ดังภาพ 5. โปรแกรมจะแสดงไดเร็กทอรี่ที่จะเก็บโปรแกรม Dreamweaver 8 ถาไมตองการ ก็ สามารถคลิกปุม Change เพื่อเปลี่ยนไดเร็กทอรี่ได นอกจากนี้โปรแกรมยังเปดโอกาสให เลือกสราง Shortcut ไวที่แถบ Quick launch และไวที่บนหนาจอ (Desktop) หากไม ตองการไมตองคลิกเลือก แลวคลิกปุม Next ดังภาพ หนา 10/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 11. 6. กําหนดวาจะให Dreamweaver แกไขไฟลชนิดใดบาง ใหเลือก Select All แลว คลิก Next เพื่อเขาสูขั้นตอนตอไป 7. คลิกเมาสที่ปุม Install เพื่อติดตั้งโปรแกรม 8. โปรแกรมจะเริ่มทําการติดตั้ง ดังภาพ 9. ขั้นตอนสุดทาย เมื่อติดตั้งเสร็จ ใหคลิก Finish ดังภาพ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 11/96
  • 12. 10. เปนการเสร็จสิ้นขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม การเปดใชงาน Dreamweaver 8 เมื่อติดตั้ง Dreamweaver 8 เสร็จเรียบรอยแลว เราก็สามารถเปดใชโปรแกรม Dreamweaver 8 โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาสที่ปุม 2. เลือกคําสั่ง All Programs>Macromedia>Macromedia Dreamweaver 8 ดังภาพ 3. คลิกเลือก Macromedia Dreamweaver 8 โปรแกรมจะเปดหนาจอ ดังภาพ 4. หนาจอนี้มีสวนสําคัญ 3 สวน คือ a. สวนที่ 1 Open a Recent Item เปนการเลือกเว็บเพจที่เราสรางไวแลว นํากลับ ขึ้นมาทํางานใหม หนา 12/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 13. b. สวนที่ 2 Create New เปนการสรางหนาเว็บใหม โดยเราจะตองเลือกรูปแบบ การทํางาน เชน HTML, Cold Fusion, PHP, ASP, JavaScript ตามที่ตองการ c. สวนที่ 3 Create from Samples เปนการสรางหนาเว็บใหม โดยใชหนาเว็บ สําเร็จรูปมาใชเปนแบบเริ่มตน d. ในที่นี้ เราจะสรางเว็บเพจใหม ใหคลิกเลือกใช HTML ในสวนที่ 2 Create New ดังภาพ 5. หนาเอกสารวาง ๆ จะถูกเปดขึ้นสําหรับการสรางเว็บเพจ เราสามารถใสขอความและ รูปภาพ ในหนานี้ได ดังตัวอยางที่เห็นในภาพ สวนประกอบของ Dreamweaver 8 กอนที่เราจะใชงาน Dreamweaver 8 เราควรรูสวนประกอบตาง ๆ ของ Dreamweaver 8 ใน เบื้องตนเพื่อเปนพื้นฐานในการใชงานไดสะดวก 1. เมื่อคลิกเมาสเขาสูโปรแกรม Dreamweaver 8 และคลิกเลือก HTML จะเกิดหนาจอ ดัง ภาพ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 13/96
  • 14. 2. สวนประกอบที่สําคัญของหนาจอนี้ มีดังนี้ สวนที่ 1 แถบเมนู (Menu bar) เปนแถบที่เก็บคําสั่งทังหมดของโปรแกรม ้ สวนที่ 2 แถบกลุมเครื่องมือ (Insert bar) เปนแถบที่รวมเครื่องมือตาง ๆ ใน การสรางเว็บ สวนที่ 3 แถบเครื่องมือ (Toolbar) รวมปุมเครื่องมือตาง ๆ ที่ใชงานบอย สวนที่ 4 แถบสถานะ (Status bar) แสดงขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานที่กําลังทํา อยู สวนที่ 5 Property Inspector เปนสวนกําหนดคุณสมบัติขององคประกอบตาง ๆ บนหนาเว็บและ สามารถปรับแตงคาขององคประกอบตาง ๆ ได 3. แถบแสดงสถานะที่ควรรูจัก ดังภาพ สวนที่ 1 สวนไวเลือกแท็ก HTML: จะแสดงโคด HTML ของเว็บเพจ สวนที่ 2 เปนเครื่องมือปรับการแสดงผลเว็บเพจขณะทํางาน: Zoom Tool สําหรับซูมเขาออกเพื่อขยายหนาจอการแสดงผล หรือใช Hand Tool เลื่อนดู หนาเว็บในสวนที่มองไมเห็น  สวนที่ 3 แสดงขนาดหนาตางของเว็บเพจ Window Size: ที่เรากําหนด สามารถ เลือกกําหนดเปนขนาดและเปอรเซ็นต สวนที่ 4 แสดงขนาดเอกสารและเวลาในการโหลด: แสดงเวลาโดยประมาณ ที่ใชใน การโหลดหนาเว็บเพจที่เราสราง กลุมเครื่องมือ การเขาถึงกลุมเครื่องมือ ใหคลิกเมาสที่ปุมตัวเลือก ดังภาพ และคลิกเลือกกลุมเครื่องมือที่ตองการได ดังภาพ หนา 14/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 15. กลุมเครื่องมือที่ใชสําหรับสรางงานเว็บเพจ มีอยู 8 กลุมที่ควรรูจัก ดังนี้ 1. กลุมเครื่องมือ Common: เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อตาง ๆ ที่เราใชงานบอย เชน การแทรกภาพ แทรกตาราง เปนตน 2. กลุมเครื่องมือ Layout :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อตาง ๆ ที่ใชจัดองคประกอบบน หนาเว็บ เชน การจัดวางขอความใหอยูในตําแหนงตาง ๆ เปนตน 3. กลุมเครื่องมือ Forms :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อในการสรางแบบฟอรม ปุม ตัวเลือก ลักษณะตาง ๆ เชน check box, radio button เปนตน 4. กลุมเครื่องมือ Text :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อสําหรับการจัดวางตําแหนง และ ปรับแตงตัวอักษรบนหนาเว็บ 5. กลุมเครื่องมือ HTML :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อสําหรับจัดการภาษา HTML บน หนาเว็บ 6. กลุมเครื่องมือ Application :เปนสวนที่รวบรวมเครื่องมื่อสําหรับการสราง Application ติดตอกับฐานขอมูล 7. กลุมเครื่องมือ Flash elements: เปนเครื่องมือสําหรับนําองคประกอบที่สรางจาก โปรแกรม Flash มาวางบนหนาเว็บ 8. กลุมเครื่องมือ Favorites: เราสามารถเลือกเครื่องมือที่ใชบอยจากแตละกลุมเครื่องมือ มาใสในเมนูนี้ไดตามความตองการ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 15/96
  • 16. การเปลี่ยนรปแบบการเรียกใชงานกลุมเครื่องมือ ู  ในกลุมเครื่องมือ คําสั่งสุดทาย คือ Show as Tabs ดังภาพ Show as Tabs คือคําสั่งที่ใหแสดงกลุมเครื่องมือแยกเปนแท็บ ๆ เราสามารถคลิกเลือกแท็บ ของเครื่องมือที่ตองการใชงานไดตามความตองการ ดังภาพ การกําหนดคุณสมบัติขององคประกอบตาง ๆ บนหนาเว็บ (Property Inspector) การกําหนดคุณสมบัติขององคประกอบตาง ๆ บนหนาเว็บ สามารถกระทําไดเมื่อเราคลิกเลือก ภาพ ตาราง ตัวหนังสือหรือองคประกอบอื่น ๆ ก็จะปรากฏ Property Inspector ขององคประกอบนั้น ๆ ใหเราสามารถปรับแตงไดตามตองการ กลุมหนาตางพาเนล(Panel Group) โปรแกรม Dreamweaver 8 มีหนาตางพาเนลตาง ๆ ที่เพิ่ม ความสามารถในการจัดการและออกแบบหนาเว็บเพจ ซึ่งแตละพาเนลจะ มีความสามารถในการจัดการหนาเว็บเพจไดไมเหมือนกัน เราเรียกเปด พาเนลไดจากเมนู Window > และเลือกพาเนลที่ตองการ ดังภาพ มุมมองการทํางานใน Dreamweaver ในการสรางงานเว็บเพจ เราสามารถเลือกมุมมองในการทํางาน ได 3 รูปแบบ โดยคลิกที่รูปไอคอน ที่อยู ใน Toolbar แถบเครื่องมือมาตรฐาน ดังนี้ 1. Show Code View คลิกที่ จะปรากฏมุมมอง แสดงโคด HTML ของหนาเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยู ถาเรามีความรูเรื่องภาษา HTML ก็สามารถแกไขโคดไดตามตองการ ดังภาพ หนา 16/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 17. 2. Show Code and Design View คลิกที่ จะปรากฏมุมมองที่แสดงทั้งโคดและ หนาเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยู สําหรับผูที่ตองการดูโคดไปพรอมกับการออกแบบ หนาจอ ดังภาพ 3. Show Design View คลิกที่ จะแสดงหนาจอที่เราออกแบบเว็บเพจซึ่ง ประกอบดวยภาพ ขอความ ตาราง หรื่ออื่น ๆ โดยไมมีการแสดงโคดตาง ๆ มา เกี่ยวของ ดังภาพ การออกจากโปรแกรม Dreamweaver การออกจากโปรแกรม Dreamweaver ทําไดหลายวิธีดวยกัน ดังนี้ 1. เลือกคําสั่ง File แลวเลือกคําสั่ง File>Exit เปนการสุดสิ้นการใชงานโปรแกรม 2. คลิกเมาสที่ บริเวณมุมบนขวาของหนาจอ 3. คลิกเมาสที่ บริเวณมุมบนซายของหนาจอและเลือกคลิกที่ Close 4. กดที่คียบอรด <Ctrl+Q> หลักการสรางเว็บไซต เริ่มตนสรางเว็บไซต ในการสรางเว็บไซตดวย Dreamweaver 8 กอนอื่นตองมีการกําหนด Site เพื่อใชจัดเก็บหนาเว็บ เพจแตละหนาใหอยูในชื่อเว็บไซตเดียวกัน และจัดการกับไซตที่เราสรางขึ้น ไดตามตองการ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 17/96
  • 18. การกําหนดโครงรางของเว็บ ในการสรางเว็บไซต กอนอื่นควรออกแบบโครงรางคราวๆ ของเว็บไซตนั้นกอน เพื่อไมใหเกิด ความยุงยากที่จะตามมาในภายหลัง เว็บไซตที่ประกอบดวยเว็บเพจหลาย ๆหนา ควรจัดเก็บเว็บเพจไว ในโฟลเดอรตาง ๆ ดังตัวอยาง ถาเราทําเว็บไซตเกี่ยวกับองคกรของเรา ก็อาจสรางตั้งโฟลเดอรชื่อ Organization เปนโฟลเดอร ที่เก็บรวมเว็บเพจและไฟลตาง ๆ ที่ใชไวทั้งหมด โดยโฟลเดอรนี้อาจ ประกอบไปดวยโฟลเดอรยอย ๆ สําหรับเก็บไฟลตาง ๆ ที่ประกอบกันเปนเว็บไซต ดูตัวอยาง ดังภาพ ตัวอยางการจัดโฟลเดอรสําหรับเก็บไฟลตาง ๆ จากภาพ จะเห็นวาหนาโฮมเพจหลัก (index.html) จะตองอยูในโฟลเดอร หลักและไมควรอยูในโฟลเดอรยอยใด ๆ ทั้งสิ้น การสรางเว็บไซตใหมใน Dreamweaver การสรางเว็บไซตใหมใน Dreamweaver ตองกําหนดที่อยูของไฟลตาง ๆ บนเว็บไซตเสียกอน โดยการสราง Site ไฟลทุกไฟลและภาพที่นํามาใช ตองอยูใน Site งานที่กําหนด วิธีการสรางเว็บไซตแบบใชวิซารด สามารถดําเนินการไดตามขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกคําสั่ง Site> New Site... เพื่อเขาสูการสรางเว็บไซต ดังภาพ 1. จะปรากฏหนาจอ Site Definition for Unnamed Site1 เพื่อใหตั้งคา ดังตอไปนี้ • หมายเลข 1 คลิกเมาสเลือกที่แท็บ Basic ที่อยูมุมบนซาย • หมายเลข 2 คลิกเมาสเลือก Local Info • หมายเลข 3 ที่ Site name : ใหตั้งชื่อไซตงานตามตองการ ควรใหมีความหมาย เกี่ยวของกับงานหรือกิจกรรมของเว็บไซตนั้น ๆ ในที่นี้ จะตั้งชื่อวา myorganization • หมายเลข 4 ที่ Local root folder : เปนการกําหนดที่อยูของเว็บไซตบนเครื่องที่เรากําลัง ทํางานอยู (ควรสรางโฟลเดอรเก็บงานไวกอนแลว ในที่นี้สรางโฟลเดอรเก็บงาน ชื่อ organization ไวใน ไดรฟ C) และสามารถคลิกเลือกโฟลเดอรไดเลย • หมายเลข 5 กําหนดโฟลเดอรที่จะเก็บภาพ โดยอาจคลิกเลือกโฟลเดอรยอยที่สรางไว แลว ในโฟลเดอรเก็บงาน ในที่นี้ใชชื่อ images หนา 18/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 19. • หมายเลข 6 ที่ HTTP address : เปนการกําหนดที่อยู บน Server ถายังไมมีที่อยูบน Server ไมตองใส หรือถามีแตไมตองการให Dreamweaver สงขึ้นไปก็ไมตองใส • หมายเลข 7 ที่ Case - sensitive links :ใหคลิกเลือกเครื่องหมายถูก เพื่อตรวจสอบ ตัวอักษร เล็ก-ใหญ ซึ่งจะเห็นขอแตกตาง ถา Server เปนระบบ Unix เพราะ Unix ถือ วาตัวอักษร เล็ก-ใหญ ไมเหมือนกันเปนคนละตัวกัน 2. ใสชื่อ Site name เลือกโฟลเดอร และตั้งคาตาง ๆ ดังภาพ แลวคลิก Ok ที่ปุมดานลาง 3. โปรแกรมจะแสดงชื่อเว็บไซต โฟลเดอรที่ เก็บเว็บไซตที่เรากําลังจะสรางขึ้นใหม และ โฟลเดอรเก็บภาพ ดังภาพ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 19/96
  • 20. การจัดการโครงสรางโฟลเดอร ในการสรางเว็บไซตดวย Dreamweaver 8 เมื่อสรางเว็บไซต หรือ Site งานขึ้นมาแลว โปรแกรม จะสรางโฟลเดอรใหมสําหรับเก็บขอมูลการทํางานในเว็บไซตนั้น ทั้งหมด หรืออีกวิธีหนึ่ง เราสามารถ สรางโฟลเดอร เก็บงานไวที่ไดร C และสรางโฟลเดอรยอย ๆ ในการเก็บงานแตละประเภท และเมื่อใช โปรแกรม Dreamweaver ใหเราเลือกโฟลเดอรที่สรางเตรียมไวสําหรับเก็บเว็บเพจไดตามตองการ การสรางเว็บเพจใหม ในการสรางเว็บเพจใหมที่จะเก็บไวในเว็บไซตของเรา เราสามารถสรางได 2 วิธี ดวยกัน คือ การสรางเว็บเพจใหมในหนาตาง New Document และการสรางเว็บเพจใหมในพาเนล Files • การสรางเว็บเพจใหมในหนาตาง New Document กอนสรางเว็บ ทานตองสรางโครงสราง และกําหนด Site ตามขั้นตอนในเรื่องที่ 1 ใหเรียบรอย เสียกอน จากนั้นจึงสรางหนาเว็บแตละหนา ซึ่งทานสามารถดําเนินการไดตามขั้นตอน ตอไปนี้ 1. ไปที่เมนู File แลวคลิกเลือก New ดังภาพ 2. หนาตาง New Document จะปรากฏขึ้น ใหคลิกเลือกแท็บ General เพื่อเลือกหัวขอการสราง เว็บเพจใหม และในชอง Category คลิกหัวขอ Basic page แลวเลือก HTML ดังภาพ 3. จะเกิดหนาเว็บเพจใหมขึ้น และพรอมที่จะสรางงาน หนา 20/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 21. 4. เมื่อออกแบบเว็บเพจเสร็จแลว จะทําการบันทึก ใหไปที่ File>save จะเกิดหนาจอขึ้น ดังภาพ 5. ใหตั้งชื่อเว็บเพจ ในที่นี้ เราจะตั้งชื่อเว็บเพจนี้วา index.html แลวคลิก save ชื่อเว็บเพจนี้จะ ปรากฏอยูในเว็บไซตหรือ Site งานที่เราสรางขึ้น ดังภาพ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 21/96
  • 22. • การสรางเว็บเพจใหมในพาเนล File เปนการสรางไฟลงานใหมที่เก็บไวใน Site งานที่งาย สะดวก รวดเร็ว มีขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาสปุมขวาที่โฟลเดอร Site งาน แลวคลิกเลือก New File 2. จะปรากฏเว็บเพจใหม ชื่อ Untitled (แปลวา ไมมีชื่อ) ที่มีนามสกุล .html พรอมสําหรับการ เปลี่ยนชื่อ ใหตั้งชื่อไฟลงานตามตองการ 3. ดังตัวอยาง สมมุติเว็บเพจนี้เปนหนาหลัก ใช ชื่อวา index.html ก็พิมพชื่อแลวกด Enter การสรางโฟลเดอรใหมในเว็บไซต ในกรณีที่เราตองการสรางโฟลเดอรใหมเพื่อเก็บภาพ หรือแยกจัดเก็บเรื่องตาง ๆ ไมใหปะปนกัน เราจําเปนตองสรางโฟลเดอรใหม การสรางโฟลเดอรใหม สามารถทําไดดังนี้ 1. คลิกเมาสปุมขวาที่โฟลเดอรที่เก็บ Site งาน แลว เลือก New Folder 2. ใหตั้งชื่อโฟลเดอรใหม สมมุติโฟลเดอรนี้ไวเก็บ ข อ มู ล บุ ค คลที่ ใ ช ใ นเว็ บ ไซต นี้ ให ชื่ อ โฟลเดอร ว า personal พิมพชื่อแลวกด Enter จะไดดังภาพ หนา 22/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 23. การเปลี่ยนชือไฟลและโฟลเดอร ่ การเปลี่ ย นชื่ อ ไฟล แ ละโฟลเดอร สามารถ กระทําไดงาย โดยคลิกเมาสขวาที่ไฟล หรือโฟลเดอรที่ ตองการจะเปลี่ยนชื่อ แลวเลือก Edit >Rename จะเกิด ลักษณะพรอมที่จะเปลี่ยน แลวพิมพชื่อใหมที่ตองการ การลบไฟลและโฟลเดอร การลบไฟลและโฟลเดอร ทําไดโดยคลิกเมาสขวา ที่ ไฟล หรือโฟลเดอรที่ตองการลบ แลวเลือก Edit >Delete ไฟลหรือโฟลเดอรจะถูกลบไป ดังภาพ การเปดเว็บเพจใหม ในการเปดเว็บเพจใหม ใหดับเบิ้ลคลิกไฟลที่สรางไว เพื่อที่จะเขาไปทํางาน เว็บเพจจะถูกเปดหนา วางขึ้นมาใหเราออกแบบการทํางาน เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 23/96
  • 24. กอนที่จะเริ่มตนการออกแบบทํางาน เราควรที่จะกําหนดรายละเอียดของหนาเว็บเสียกอน โดย คลิกเมาสขวาที่หนาเว็บ แลวเลือก Page Properties เพื่อตั้งคาตาง ๆ Page Properties จะแบงออกเปน 5 หมวด โดยในหมวดแรก คือ 1. หมวด Appearance เปนการกําหนดสวนประกอบตาง ๆ บนหนาเว็บ ดังภาพ สวนประกอบตาง ๆ ในหนานี้ มีการกําหนดคา ดังนี้ หมายเลข 1 Page font ใหเลือกรูปแบบตัวอักษรที่จะใชในเว็บเพจ หมายเลข 2 Size กําหนดขนาดของตัวอักษร หมายเลข 3 Text color กําหนดสีของตัวอักษร หมายเลข 4 Background color กําหนดสีพื้นหลังของหนาเว็บเพจ หมายเลข 5 Background image กําหนดภาพที่เปนพื้นหลังของหนาเว็บเพจ หมายเลข 6 Repeat กําหนดใหเลือกภาพ Background วาใหกระทําซ้ําอยางไร (no-repeat ไมซ้ํา, repeat เปนแบบปูเต็มพื้นที่, repeat-x ปูไปตามแนวนอน, repeat-y ปูไปตามแนวตั้ง) หมายเลข 7 Left margin กําหนดระยะขอบซายของหนาเว็บ หมายเลข 8 Right margin กําหนดระยะขอบขวาของหนาเว็บ หมายเลข 9 Top margin กําหนดระยะขอบบนของหนาเว็บ หมายเลข 10 Bottom margin กําหนดระยะขอบลางของหนาเว็บ 2. หมวด 2 Links เปนการกําหนดคุณสมบัติของ Links มีรายละเอียด ดังนี้ หมายเลข 1 Link font กําหนดตัวอักษรของลิงค หมายเลข 2 Size กําหนดขนาดตัวอักษรของลิงค หมายเลข 3 Link color กําหนดสีใหกับลิงค หนา 24/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 25. หมายเลข 4 Rollover links การกําหนดสีเมื่อเมาสลากผาน หมายเลข 5 Visited links กําหนดสีมื่อไปที่ Link นี้แลว หมายเลข 6 Active links การกําหนดสี Link ที่ใชงานได หมายเลข 7 Underline style กําหนดรูปแบบการขีดเสนใตใหกับลิงค 3. หมวด 3 Headings เปนการกําหนดคุณสมบัติหัวขอของเว็บเพจ มีรายละเอียด ดังนี้ หมายเลข 1 Heading font กําหนดรูปแบบตัวอักษรหัวขอที่จะปรากฏบนหนาเว็บ หมายเลข 2 Heading 1-6 กําหนดขนาดตัวอักษรที่ใชสรางหัวขอบนหนาเว็บ 4. หมวด 4 Title/Encoding เปนการกําหนดชื่อใหสวนไตเติ้ลและกําหนดชุดตัวอักษรที่ใชของ เว็บเพจ มีรายละเอียด ดังนี้ หมายเลข 1 Title กําหนดสวนไตเติ้ลหรือชื่อหัวเรื่องใหเว็บเพจ หมายเลข 2 Document type กําหนดประเภทของเว็บเพจ หมายเลข 3 Encoding กําหนดรูปแบบภาษาของตัวอักษรที่ใชในเว็บเพจ สําหรับ การแปลงตัวอักษรเพื่อเปนภาษามาตรฐาน โดยใหเลือก Thai (Windows) ถา ตองการใชภาษาไทย 5. หมวด 5 Tracing Image เปนการกําหนดคุณสมบัติของรูปที่ใชเปนแบบในการสรางหนา เว็บเพจ มีรายละเอียด ดังนี้ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 25/96
  • 26. หมายเลข 1 Tracing Image ใหเลือกไฟลภาพที่จะใช หมายเลข 2 Image Transparency กําหนดคาความโปรงใสของภาพที่จะแสดงบนหนา เว็บเพจ การเพิ่มและแกไของคประกอบบนหนาเว็บ ในการเพิ่มและปรับแตงองคประกอบบนหนาเว็บ สามารถทําไดงาย ๆ ไมวาจะพิ่มตาราง รูปภาพ หรือแบบฟอรมตาง ๆ ในโปรแกรม Dreamweaver จะเรียกองคประกอบเหลานี้วา Object (ออบเจ็กต) โดยเราสามารถสรางออบเจ็กตนี้ได โดยอาศัยกลุม เครื่องมือตาง ๆ ที่ไดกลาวไว แลวในตอนตน ดังตัวอยาง ถาเราตองการนําภาพเขา ในโปรแกรม ใหไปที่เครื่องมือรูป ซึ่งอยูในกลุม Common เมื่อ เลือ กภาพที่ ตอ งการไดแ ลว ให ค ลิก แทรกภาพเข า โปรแกรม ภาพก็จะปรากฏในหนาเว็บ ณ ตําแหนงที่ เคอรเซอรอยู เมื่อนําภาพเขาโปรแกรมไดแลว ถ า เราจะจั ดการปรั บ แต ง ภาพ หรื อ ออบเจ็กต ใหคลิกที่ภาพนั้น ๆ จะเกิอ จุดดํา 3 จุดรอบภาพ และเกิด Property Inspector ของภาพดานลาง เพื่อให กําหนดรายละเอียดตามตองการ สําหรับการพิมพตัวหนังสือ สามารถพิมพลงบนหนาเว็บไดเลย และปรับแตงตัวหนังสือ กําหนด ขนาด กําหนดสีและอื่น ๆ ไดที่ Properties ดานลาง หนา 26/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 27. การใสหัวเรืองบนหนาเว็บ ่ การใสหัวเรื่องบนหนาเว็บ เมื่อเราเปดเว็บไซตขึ้นมา ในชอง Title บน Toolbar เราสามารถพิมพ ชื่อหัวเรื่องที่ตองการลงไปไดเลย ตอจากนั้นเลือกคําสั่ง File>Save เพื่อบันทึก แลวกดปุม F12 ดู ชื่อหัวเรื่องของหนาเว็บบน หนาตางบราวเซอร ซึ่งจะปรากฏชื่อตามที่เราตั้งไว ดังภาพ การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8 การใชงานภาษาไทยใน Dreamweaver 8 ซึ่งในเวอรชั่นนี้ เราสามารถพิมพภาษาไทย ในหนาตาง Design View ได เ ลยและข อ ความภาษาไทยก็ จ ะปรากฏในหน า ต า งบราวเซอร ทั น ที สําหรับผูที่ตองการเขาไปแกไขโคด HTML ในหนาตาง Code View จะเห็นไดวาขอความที่เรา พิมพที่ Design View จะแสดงเปนเลขรหัส ในหนาตาง Code View ดังภาพ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 27/96
  • 28. ถาเราตองการจะอานโคดออก เปนภาษาไทยเหมือนที่เราพิมพที่ Design View ตองกําหนดให ภาษาที่ใชในเว็บเปน Thai (Windows) โดยเลือกเมนูคาสั่ง Modify>Page Properties หรือคลิกขวาที่ ํ หนาเว็บ แลวเลือก Page Properties ดังภาพ ตอไป ใหเลือกหัวขอ Title/Encoding ที่ชอง Encoding เลือก Thai (Windows) ดังภาพ เมื่อเลือก Thai (Windows) แลว โคดที่เปนรหัสจะแสดงเปนภาษาไทยเหมือนที่เราพิมพ ที่ หนาตาง Design View ดังภาพ หนา 28/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 29. การเพิ่ม-ลบฟอนต ก า ร เ พิ่ ม -ล บ ฟ อ น ต เ พื่ อ ใ ช ง า น ใ น Dreamweaver ทําไดโดย เลือกคําสั่งที่เมนูบาร Text>Font>Edit Font List ดังภาพ ขั้นตอนการเพิ่มฟอนต มีรายละเอียดดังนี้ ดู ภาพประกอบ 1. หมายเลข 1 Font list เปนฟอนตที่มีอยูแลว 2. หมายเลข 2 Available fonts เลือกฟอนตจาก windows ที่ตองการเพิ่ม ดังตัวอยาง ถาตองการ เลือกฟอนต ชื่อ AngsanaUPC ใหคลิกเลือก 3. หมายเลข 3 เมื่อเลือกฟอนตไดแลว ใหคลิกปุม เพื่อสงมาที่ชองหมายเลข 4 4. หมายเลข 4 Chosen fonts เปนชองที่วางฟอนตที่ถูกเลือกเพิ่มขึ้นมา 5. หมายเลข 5 สามารถจัดลําดับของฟอนตที่ใชบอย ๆ ใหเลื่อนขึ้นมาอยูลําดับแรก ๆ ได โดยใช ลูกศรเลื่อนขึ้น หรือลูกศรเลื่อนลงเพื่อตองการจัดใหฟอนตเลื่อนลงจากตําแหนงเดิม 6. หมายเลข 6 เมื่อเลือกฟอนตไดตามตองการแลว ใหกดปุม OK • การลบฟอนต การลบฟอนต ทําไดโดย เลือกคําสั่งที่เมนูบาร Text>Font>Edit Font List แลวเลือกฟอนตที่ ตองการลบในชอง Font list และคลิกปุม แลวคลิกปุม OK เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 29/96
  • 30. การปรับแตงขอความบนเว็บเพจ การใสขอความบนหนาเว็บ การใสขอความบนหนาเว็บเพจ กระทําไดงาย ๆ โดยการพิมพบนหนาเว็บเพจไดเลย หรือจะ copy ขอความมาจากไฟล word หรือจากโปรแกรมอื่น ๆ แลวนํามาวางบนหนาเว็บเพจก็ได ดังภาพ จากตัวอยาง ถาเราตองการขึ้นยอหนาใหม ตรงขอความ "ตอมา ไดมีการจัดตั้ง...ใหเราตั้งเคอร เซอรหนาขอความที่ตองการจะขึ้นยอหนาใหมแลวกด Enter ที่แปนพิมพ ขอความนั้น จะขึ้นยอหนาใหม ให และเกิดการแทรกบรรทัดวางขึ้น ดังภาพ ถาเราไมตองการขึ้นยอหนาใหม แตตองการขึ้นบรรทัดใหม ใหกด <Shift + Enter> หรือคลิก เมาสที่ปุม ในกลุมเครื่องมือ Text จะเปนการแทรก Line Break ในขอความตรงตําแหนงที่เรา ตองการ ดังตัวอยาง ถาเราตองการขึ้นบรรทัดใหม ตรงขอความ "ตอมา ไดมีการจัดตั้ง...ใหเราตั้งเคอรเซ อรหนาขอความที่ตองการจะขึ้นบรรทัดใหมแลวกด <Shift + Enter> ที่แปนพิมพ ก็จะได ดังภาพ ตอไป ถาเราตองการจะยอหนา ใหคลิกเมาสที่ สามเหลี่ยมเล็ก ๆ ขางปุม BR ดังภาพ หนา 30/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 31. ซึ่งอยูในกลุมเครื่องมือ Text และเลือก Non-Breaking Space ตอไป เราตองการยอหนา บรรทัดแรก ใหเราตั้งเคอรเซอร ที่หนาคําวา "ศูนย... และบรรทัดที่ 5 คําวา "ตอมา...ใหคลิกที่รูป ดังภาพ โดยคลิกติด ๆ กัน จนกวาจะยอหนาเขา ไปไดตามตองการ ดังภาพ การตกแตงและจัดรูปแบบขอความ กอนที่จะตกแตงและจัดรูปแบบขอความ เราตองเลือกขอความทั้งหมดกอน โดยเลือกคําสั่ง Edit  >Select All หรือคลิกเลือกที่แท็ก <body> จะไดผลลัพธ ดังภาพ เมื่อเลือกขอความแลว เราปรับแตงและจัดรูปแบบขอความ โดย Property Inspector หรือใชกลุม เครื่องมือ Text ที่แถบ Insert Bar ในที่นี้ ใหไปที่ Window และเลือก Properties โปรแกรมจะเปด เครื่องมือ Properties เราก็สามารถตั้งคาฟอนต ขนาด สี ตําแหนงของขัอความ ดังภาพ เมื่อเปดหนาจอเครื่องมือ ที่จะใชปรับแตงตัวหนังสือ หรือขอความ ขึ้น เราสามารถกําหนดขนาด ประเภทตัวหนังสือหรือฟอนต สีของตัวอักษร ตําแหนง และอื่น ๆ สมมุติวา ตองการใหขอความเปน ตัวสี เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 31/96
  • 32. น้ําเงิน เอียง ขอความตําแหนงชิดซายของเว็บเพจ และหัวขอเปนตัวหนา สามารถกระทําไดโดยใช เครื่องมือดังที่กลาวมาแลว ขางตน จะไดผลลัพธ ดังภาพ เครื่องมือที่ใชจัดตําแหนงและตกแตงขอความ ที่ควรรู มีดังนี้ การจัดตําแหนงขอความโดยใชปุม 1. จัดชิดซายของเว็บเพจ 2. จัดอยูกึ่งกลาง 3. จัดชิดขวา 4. จัดใหขอความอยูเต็มบรรทัด การจัดยอหนาโดยใชปุม 5. คลิกที่ปุม Text Indent เพื่อจัดยอหนาของขอความใหเขาไปมากนอยไดตาม ตองการ 6. ถาจัดยอหนาเขาไปมากเกินไป ก็สามารถคลิกปุม Text Outdent เพื่อยกเลิกยอหนา ใหไดระยะหางตามตองการ การใส Bullet และตัวเลขกํากับในแตละบรรทัด 7. ใชจัดลําดับเนื้อหาในแตละบรรทัดดวย Bullet หรือสัญลักษณรูปแบบ ตาง ๆ 8. ใชจัดลําดับเนื้อหาในแตละบรรทัดดวยตัวเลข การยอนกลับเพื่อแกไขขอผิดพลาดดวยพาเนล History ในการทํางานออกแบบเว็บเพจ เมื่อทําไปเรื่อย ๆ อาจเกิดขอผิดพลาดได เราสามารถยอนกลับไป แกไขขอผิดพลาดได โดยไปที่เมนูบาร Window>History หรือกดคีย < Shift+F10> ดังภาพ หนา 32/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 33. เมื่อเปดพาเนล History จะเห็นบันทึกการทํางานทุกขั้นตอน โดยขั้นตอนลาสุด จะเรียงอยูลําดับ บนสุดของรายการ ขั้นตอนกอนหนานี้จะอยูลาง ๆ ดังภาพ การยอนกลับการทํางานหลาย ๆ ขั้นดวยพาเนลนี้ เราทําไดโดย คลิกเลื่อนแถบ ไปยังขั้นตอนที่ เราตองการยอนกลับไป โดยจะเลื่อนไปทีละขั้นตอน หรือหลายขั้นตอนได ดังภาพ การทําซ้ําขั้นตอนการทํางาน เราสามารถสั่งใหทําซ้ําขั้นตอนการทํางานที่เราตองการจะใหทําซ้ํา ในพาเนล History ได โดย 1. คลิกเลือกขั้นตอนที่ตองการใหซ้ํา เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 33/96
  • 34. 2. คลิกที่ปุม ที่อยูมุมลางดานซายมือ ดังภาพ การบันทึกเว็บเพจ เมื่อเราออกแบบเว็บเพจไดตามตองการแลว การที่จะบันทึกงาน ใหเลือกคําสั่ง File>Save As เพื่อ บันทึกไฟลในชื่อใหม ดังภาพ จากนั้นใหทําตามขั้นตอน ดังนี้ 1. เลือกโฟลเดอรที่เก็บไฟลงาน 2. ใหตั้งชื่อไฟล โดยใสนามสกุลเปน .html 3. คลิกปุม Save เพื่อสั่งบันทึกไฟล หนา 34/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver
  • 35. นอกจากนี้ ยังมีรูปแบบในการบันทึกเว็บเพจทีควรรูอีก 4 วิธี คือ ่ • วิธีที่ 1 เลือกคําสั่ง File>Save เพื่อบันทึกไฟลในชื่อเดิม • วิธีที่ 2 เลือกคําสั่ง File>Save All บันทึกไฟลทั้งหมดที่มการเปลี่ยนแปลงแกไข ี • วิธีที่ 3 เลือกคําสั่ง File>Save to Remote Server ทําการบันทึกเว็บเพจและอัพโหลดไปยัง เซิรฟเวอร • วิธีที่ 4 คลิกเลือกรูป นี้ ในกลุมเครื่องมือ Standard Bar บน Insert Bar เพื่อบันทึกไฟลเว็บ เพจใหมโดยตั้งชื่อใหมตามที่เราตองการ หรือบันทึกไฟลเว็บเพจในชื่อเดิมไดอยางรวดเร็ว โดย ดําเนินการไดดงนี้ 1. คลิกเมาสขวาที่แถบกลุมเครื่องมือ Document และเลือกคําสั่ง Standard ดังภาพ 2. คลิกเมาสบันทึกไฟลเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยู ดังภาพ แตถาเราออกแบบงานเว็บเพจเสร็จแลว และยังไมไดมีการบันทึก หรือมีการแกไข เปลี่ยนแปลงและยังไมไดบันทึก โปรแกรม Dreamweaver จะมีเครื่องหมาย * ปรากฏเตือนอยูที่ มุมบนขวาของชื่อไฟล ดังภาพ เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver หนา 35/96
  • 36. การดูผลลัพธของเว็บเพจบนหนาตางบราวเซอร เมื่อเราบันทึกเว็บเพจเสร็จเรียบรอยแลว และ ตองการที่จะดูเว็บเพจที่เราออกแบบวาเวลาแสดงผล บนหนาตางบราวเซอรจะมีผลตามที่ตองการหรือไม อยางไร เราสามารถดําเนินการได 3 วิธีการ ดังนี้ วิธีที่ 1 กดปุม < F12 > ที่คียบอรด วิธีที่ 2 ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล html ที่เราบันทึกเก็บไวในเครืองคอมพิวเตอร ่ วิธีที่ 3 เลือกคําสั่ง File>Preview in Browser>IEexplore ดังภาพ หลังจากนั้นผลลัพธ จะปรากฏบนหนาจอในหนาตางบราวเซอร ดังภาพ ตกแตงเว็บเพจดวยกราฟก เตรียมภาพเพื่อใชในเว็บเพจ ในการออกแบบเว็บเพจ นอกจากจะมีขอความแลว ภาพนับวาเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยทําใหเว็บ เพจนั้น ๆ มีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น หนา 36/96 เนรมิตเว็บสวยดวย Dreamweaver