Anúncio

คุณภาพน้ำดื่มและน้ำใช้ในโรงงาน.ppt

28 de Nov de 2022
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Destaque(20)

Anúncio

คุณภาพน้ำดื่มและน้ำใช้ในโรงงาน.ppt

  1. คุณภาพน้าดื่มและน้าใช้ ในโรงงาน โดย รศ.ดร.นฤมล มาแทน
  2. ความสาคัญของน้า  น้าเป็ นสิ่งที่จาเป็ น สาหรับสิ่งมีชีวิตบน โลก น้าเป็ น ส่วนประกอบในการ ทางานของ DNA ของมนุษย์  เราใช้น้าในการดื่ม ล้าง และผลิตอาหาร  เชื้อโรคบางชนิดต้อง อาศัยน้าในการ
  3. การใช้น้าในโรงงานอาหารกระป๋ อง In-plant use Total use (%) Raw product washing 15 Product transport 10 Product preparation 10 Incorporation in product 6 Steam and water sterilization of containers 15 Container cooling 36 Plant cleanup 8
  4. แหล่งน้า (Sources of water) 1 น้าผิวดิน (Surface water) เช่น แม่น้า, ทะเลสาบ, ห้วยและลาคลองต่างๆ ปกติแล้ว น้าตามแหล่งน้าธรรมชาติจะมีตะกอนไม่ มาก เพราะมีเวลาที่จะตกตะกอนดังนั้นน้า ตามแม่น้าจึงง่ายในการกรองหรือทาให้ บริสุทธิ์คุณภาพของน้าแล้วแต่บริเวณที่น้า ไหลผ่าน เช่น บริเวณไร่นา ของเสียหรือ โรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตว์
  5. 2 น้าทะเล (Ocean water) ปกติจะใช้ในการ อุตสาหกรรมอาหารซีฟู๊ ด น้าทะเลใช้ในการ ขนส่งวัตถุดิบและใช้ในการล้างทาความ สะอาดวัตถุดิบ ปกติจะมีการกรองเอาทราย ออกก่อนนามาใช้
  6. 3 น้าใต้ดิน (Ground water) เช่น น้าพุ น้าบ่อ น้าชนิดนี้ต้องมี การป้ องกันการ ปนเปื้อนบริเวณ บ่อ การเกิดรอย รั่วอาจจะถูก ปนเปื้อนจาก เชื้อจุลินทรีย์ได้
  7. ความลึกจากผิวดินของการนาน้า ใต้ดินขึ้นมาใช้ Potential sources of contamination Suggested minimum distance from well (in feet)a Septic tanks 100 Sewers 100 Barnyards or feeding lots 200 Chemical disposal area 75-200 Stream 75 Landfill 200
  8. การทาให้น้าสะอาดก่อนนามาใช้ (Water Treatment) 1 การตกตะกอน (Sedimentation) อาจ มีการเติม ferric chloride เพื่อทาให้ เกิดการตกตะกอนจากนั้นจึงแยกเอา ตะกอนนั้นออกมา
  9. 2 การกรอง (Filtration) น้าที่มาจากแหล่งน้าควรผ่านการกรองเพื่อ แยกเอาตะกอนหรือเศษผงที่มีขนาดใหญ่ ออกให้เรียบร้อยเสียก่อน อาจใช้ถ่านเพื่อ ช่วยกรองและดูดกลิ่น และสีที่ไม่ดีออกจาก น้า
  10. 3 การทาให้น้าอ่อน (softening)  Zeolites สามารถใช้เพื่อทาให้น้าอ่อนได้ เนื่องจากมี metallic ions การทางานของ zeolites คือจะแลกเปลี่ยนหมู่โซเดียมกับ แคลเซียมและแมกนีเซียมของน้า หมู่ Iron และ แมกนีเซียมสามารถแยกออกจากน้าได้ทาให้น้า เกิดความนุ่ม แหล่งน้าใต้ดินมักเป็ นน้ากระด้างมี เกลือแคลเซียมและแมกนีเซียมอยู่มาก เมื่อทาให้ น้าอ่อนแล้วอาจใช้เครื่องกรองสาหรับกรองเศษ ตะกอนและถ่านสาหรับดูดซับกลิ่นสีของน้าอีกที
  11. 4 การทาลายเชื้อจุลินทรีย์ (Disinfection) 4.1 Chlorine สามารถผสมในน้าเพื่อฆ่า เชื้อจุลินทรีย์ได้ อย่างไรก็ตามควรมีการตรวจสอบ residual ของ chlorine บริเวณอ่างล้างมืออย่าง น้อย 1 ครั้งต่อวัน - Chlorine gas, sodium chloride-based generators, sodium hypochlorite solutions ล้วนเป็ นแหล่งของ Chlorine ในโรงงานอาหาร
  12. Effect of chlorine demand on free chlorine Chlorine Added Free Residual Chlorine Break Point Combined Chlorine
  13. ปริมาณของคลอรีนในแนะนาให ้ใช ้ Purpose Concentration (ppm) Drinking water 0.2 Process water 0-0.5 Cleaning 10-20 Sanitizing 100-250 Cooling (can) 0.5-10.0 Conveying water 0.5-5.0 Belt sprays 1.5-3.0 Hydro-cooling meat 5.0-200 Fish thawing 5.0-10.0
  14. ประสิทธิภาพของคลอรีน Microorganism Concentration (ppm) Algae 2.0 Bacteria (gram neg. cell) 0.2-5.0 Spores 150-250 Mould (hyphae) 100 Spores 135-500 Viruses 0.2-3.25
  15. 4.2 Chloramine เป็ นสารอนินทรีย์ จุด demean point จะต่ากว่าคลอรีนและไม่เกิด trihalomethanes แต่มันก็มีส่วนผสมของแก๊ส ammonia
  16. 4.3 Chlorine dioxide มันจะไม่สร้าง Trihalomethanes มันจะสามารถกาจัดกลิ่นไม่ดี ของน้า แต่มันราคาแพงและอาจเป็ นพิษ http://www.dentist.net/profresh-breath-system.asp
  17. 4.4 Ozone มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในยุโรป สามารถใช้สาหรับการผลิตน้าดื่ม ประสิทธิภาพ ของ ozone สามารถต้านทานเชื้อ poliovirus >Escherichia coli >hepatitis A virus >Legionella pneumophila >Bacillus subtilus spores นอกจากนั้นยังมีผลต่อ Giardia lamblia และ พวกโปรโตซัว
  18. การใช้น้าในอุตสาหกรรมอาหาร 1 Formulation water น้าที่ใช้เป็ น ส่วนประกอบของอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่ง ควรจะมีความบริสุทธิ์สูงและปราศจากกลิ่น, กลิ่นรส น้าที่ใช้ควรเป็ นน้าอ่อน เช่น อุตสาหกรรมน้าดื่มจะนาน้ามาผสมกับ ไซรัปและอัดแก๊สจากนั้นก็นาไปฆ่า เชื้อจุลินทรีย์อาจใช้แผ่นกรองพิเศษเพื่อให้ แน่ใจว่าน้านั้นปราศจากสิ่งปนเปื้อน แท็งค์ น้าปกติควรมีน้าอยู่ไม่ต่ากว่า 10%ของถัง
  19. 2 Cleaning ปริมาณน้า 10-50 เปอร ์เซ็นต์ ใช้ในการล้างทาความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร และ พื้น ฝาผนังในโรงงาน อุตสาหกรรม น้ากระด้างบางครั้งไม่เหมาะ ในการนามาล้างทาความสะอาดในโรงงาน เพราะจะเหลือคราบของแคลเซียมและ แมกนีเซียม
  20. 3 Conveying การขนส่งผักและผลไม้ จาเป็ นต้องใช้น้า เช่นการขนส่งพวกมัน สาปะหลัง และ แครอท อาจมีการใช้ pumping ในการขนย้ายโดยมีท่อสาหรับ ส่งน้า ท่อที่ทาจาก stainless steel จึงจะมี ความปลอดภัยสูง อาจจะมี biofilms อยู่ใน ท่อซึ่งอยากแก่การทาความสะอาด
  21. 4 Cooling การหล่อเย็นในกระบวนการแปรรูป จาเป็ นต้องใช้น้า ปกติแล้ว sodium หรือ calcium hypochlorite จะถูกเติมลงในการหล่อ เย็นอาหารกระป๋ อง เพื่อให้มี residual ของ chlorine เพื่อป้ องกันการเน่าเสียของอาหาร กระป๋ อง Can size Product Chlorinated cooling water Nonchlorinated cooling water 306x302 Vacuum-packed corn 0.46 3.44 603x408 Vacuum-packed corn 0.39 5.17 303x406 Cream-style corn 0.29 1.17 603x700 Cream-style corn 1.37 7.80 Effect of chlorination of cooling water on spoilage rate
  22. Laboratory control of In-Plant Chlorination 1. ตรวจสอบระดับของ chlorine ทุกๆ 2 ชั่วโมง โดยใช้ Orthotoluidine flash test 2. ตรวจสอบ chlorine residual อย่างน้อย 7 จุด 2 ครั้งต่อวัน 3. บันทึกผลถ้าหากมีการพบ chlorine residual 4. เปรียบเทียบปริมาณของ residual กับ chlorinator settings 5 ชั่งน้าหนักของของถังใส่ chlorine ในเวลา เดียวกันทุกวัน 6. ตรวจการทางานของ chlorinator
  23. 5 Steam and Boilers ไอน้าร้อนและน้าร้อน มักใช้กันมากในโรงงานอุตสาหกรรม อาจมี การใช้ไอน้าร้อนในการทาความสะอาดบาง พื้นที่ของโรงงาน
  24. คุณภาพน้า (Water Quality) 1 Microbiological quality เชื้อจุลินทรีย์ทั้งชนิดที่ ก่อโรคและไม่ก่อโรคสามารถพบได้ในน้า และ สามารถสร้างกลิ่น รสให้กับน้า เชื้อโรคหลายชนิด สามารถมีชีวิตในน้าและเมื่อมนุษย์บริโภคเข้าไปก็ นาโรคติดต่อมายังมนุษย์ไม่ว่าจะเป็ นแบคทีเรีย เช่น Cholera, Shigellosis, Typhoid fever, Salmonellosis, Enteropathogenic E. coli infection, Yersinia gastroenteritis, Legionella pneumophila นอกจากนั้นยังมี ไวรัสเช่น Poliomyelitis, Hepatitis A, Reovirus infection, Coxsackie virus infection, และโปรโตซัว เช่น Giardiasis, Amebiasis, Coccidiosis
  25. การปนเปื้อนของน้าเสียสามารถ นาโรคมาสู่มนุษย์ 1 พวกสารพิษและเชื้อจุลินทรีย์มักมีอยู่เป็ น จานวนมากในน้าเสียหรือของเสีย 2 การรั่วไหลของท่อน้าเสียอาจจะปนเปื้อนไป กับน้าดี หรือท่อน้าเสียที่ปล่อยทิ้งในน้าดี อาจทาให้เกิดการปนเปื้อนของเชื้อโรคใน น้าดีได้ 3 น้าเสียมีโอกาสสัมผัสกับอาหารได้ 4 เมื่อเชื้อจุลินทรีย์หรือสิ่งปนเปื้อนไม่ถูก กาจัดออกและยังคงมีชีวิตในกระบวนการ แปรรูปอาหารดังนั้นเมื่อมนุษย์รับประทาน าที่ใช ้ในโรงงานควรมี coliform ไม่เกิน 1 ตัวต่อน้า 100 ม
  26. 2 Chemical Quality สารประกอบที่มี แคลเซียมและแมกนีเซียมอยู่สูงอาจถือว่า น้านั้นมีการปนเปื้อนจากสารเคมี เพราะ สารเคมีอาจเป็ นสาเหตุที่ทาให้เกิดการ เจ็บป่ วย น้าเสียอาจมีการปนเปื้อนของ สารพิษและสารเคมีอยู่สูง 3 Radiation บางครั้งมีการใช้พลังงาน นิวเคลียสเข้ามาช่วยในการแปรรูป จึงอาจ มีการปนเปื้อนลงไปในน้า โดยเฉพาะน้าที่ ใช้ cooling
  27. ระบบการจ่ายน้า (Water supply systems)  ปกติจะมีแท็งค์สาหรับเก็บน้าและจ่ายส่งไป ตามท่อโดยอาศัยปั๊มน้า ดังนั้นอุปกรณ์ทุก อย่างจึงต้องมีการตรวจสอบความสะอาดอยู่ เสมอ ท่อส่งน้าควรจะทามาจาก copper หรือ stainless steel ไม่ควรใช้ท่อเหล็กสี ดา ระบบการจ่ายน้าควรมีการส่งผ่าน filter ก่อนที่จะทาการจ่ายโดยการใช้แรงดันเข้า ช่วย และ filter ควรจะเก็บไว้ในที่แห้ง ปราศจากแมลงและสัตว์รบกวน
  28. Potential sources of cross-connections in food service and food processing operations  ระบบการเชื่อมต่อของท่อส่งน้าสาคัญมาก เพราะหากเชื่อมไม่สนิทอาจเกิดการ ปนเปื้อนจากสิ่งปนเปื้อนภายนอกท่อเข้าไป ในท่อน้าได้ Laboratory sinks Steam ejectors Submerged hoses Lawn sprinklers Submerged inlets in tanks Utensil washers Sewage ejectors Ice machines Lavatory Air conditioners Commode Coffee urns
Anúncio