SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
บทที่ 3
วิธีดาเนินงานวิจัย
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัย เรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนวัดราชโอรส โดยมีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและ
หาประสิทธิภาพของนักเรียนแต่ละห้อง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลง
ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ของโรงเรียนวัดราชโอรส 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการ
จัดการเรียนรู้ในห้องเรียน 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
และความใจในการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ซึ่งผู้วิจัยได้ดาเนินและเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาค้นคว้า โดยมีขั้นตอนดาเนินงานดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรในวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส แขวง
บางค้อ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร สังกัด สพม. 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
จานวน 2 ห้องเรียน โดยเลือกห้องนักเรียนที่มีนักเรียนจานวนเท่ากัน คือ 47 คน ได้แก่ ห้อง
มัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ มัธยมศึกษาปีที่ 1/8 รวมทั้งหมด 94 คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส
แขวงบางค้อ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร สังกัด สพม. เขต1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2556 โดยเจาะจงกับนักเรียนกลุ่มนี้เนื่องจากเป็นห้องที่ผู้วิจัยทาการสอน และนักเรียนมีความรู้
ความสามารถด้านการใช้คอมพิวเตอร์ไม่แตกต่างกัน และเนื่องด้วยจานวนนักเรียนในห้องมีจานวน
นักเรียน 47 คนเท่ากัน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย
1. แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง การแปลงข้อมูลให้เป็น
สารสนเทศ
1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบทฤษฎีและลงมือ
ปฏิบัติกับคอมพิวเตอร์ จานวน 4 แผน 2 คาบ/สัปดาห์ รวม 8 คาบ
1.2 บทเรียนที่ใช้ในการสอน คือ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยมี
การอธิบายพร้อมให้นักเรียนเขียนบันทึกลงในสมุดเพื่อจะได้ทบทวนในการเรียนครั้งต่อไป และมี
การนาสื่อต่างๆ มาขึ้นสไลด์บนหน้าจอโปรแจ็คเตอร์ มีการนาเสนอบทสรุป แบบวิธีการบรรยาย
พร้อมทั้งการปฏิบัติให้กับนักเรียนดูหน้าชั้นเรียน ประกอบกับใบความความรู้ และแบบฝึกหัดใน
แต่ละเรื่อง
1.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง
เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก มีคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียวจานวน 30 ข้อ
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้
1. การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) ที่ใช้ในการจัดการ
เรียนการเรียนการสอน ผู้วิจัยยึดองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรของ
สถานศึกษาของโรงเรียนวัดราชโอรส มีขั้นตอนดังนี้
1.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
1.2 แบ่งเนื้อหาในบทเรียนเพื่อนามาเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
1.3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงโดย
ก. กาหนดเนื้อหา
ข. กาหนดสาระสาคัญของเนื้อหาที่ทาการสอน
ค. เขียนจุดประสงค์ปลายทางและจุดประสงค์นาทาง
ง. กาหนดการเรียนการสอนโดยมีขั้นนาเข้าสู่บทเรียนขั้นอภิปรายก่อนการทดลอง
ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การศึกษาเนื้อหาจากใบงาน
การทาใบงานลงในโปรแกรม Microsoft Office Excel 2010 ค้นคว้าหางานทางอินเทอร์เน็ต
ทั้งนี้การจัดกิจกรรมคานึงถึงความเหมาะสมกับเนื้อหาในบทเรียนเฉพาะรายคาบนั้น ๆ
จ. สื่อการเรียนการสอน เป็นสื่อที่นามาประกอบการเรียน โดยนามาจากสื่อที่เป็น
ของจริงเกี่ยวเนื้อหาบทเรียนนั้น ๆ และครูสร้างขึ้น
ฉ. การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน เป็นการประเมินผลว่าผู้เรียน
พัฒนาการและสามารถเรียนรู้ได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ โดยประเมินจากคะแนน
การทาแบบทดสอบก่อนเรียน และ คะแนนการทาแบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรียน
1.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบแล้วนาผลการปรับปรุง
1.5 เมื่อปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว จึงนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. การสร้างบทเรียน
การสร้างบทเรียน วิชาเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้
เป็นสารสนเทศ ที่จัดการเรียนรู้ ผู้วิจัยได้ยึดองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตร
สถานศึกษาของโรงเรียนวัดราชโอรส มีขั้นตอนการสร้างดังนี้
2.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
2.2 แบ่งเนื้อหาในบทเรียนเพื่อนามาเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
2.3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงโดย
ก. กาหนดเนื้อหา
ข. กาหนดสาระสาคัญของเนื้อหาที่ทาการสอน
ค. เขียนจุดประสงค์ปลายทางและจุดประสงค์นาทาง
ง. กาหนดการเรียนการสอนโดยมีขั้นนาเข้าสู่บทเรียนขั้นอภิปรายก่อนการทดลอง
ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การศึกษาเนื้อหาจากใบงาน
การทาใบงานลงในโปรแกรม Microsoft Office Excel 2010 ค้นคว้าหางานทางอินเทอร์เน็ต
ทั้งนี้การจัดกิจกรรมคานึงถึงความเหมาะสมกับเนื้อหาในบทเรียนเฉพาะรายคาบนั้น ๆ
จ. สื่อการเรียนการสอน เป็นสื่อที่นามาประกอบการเรียน โดยนามาจากสื่อที่เป็น
ของจริงเกี่ยวเนื้อหาบทเรียนนั้น ๆ และครูสร้างขึ้น
ฉ. การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน เป็นการประเมินผลว่าผู้เรียน
พัฒนาการและสามารถเรียนรู้ได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ โดยประเมินจากคะแนน
การทาแบบทดสอบก่อนเรียน และ คะแนนการทาแบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรียน
2.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบแล้วนาผลการปรับปรุง
2.5 เมื่อปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว จึงนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่อง
การแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้วิจัยได้ศึกษาหลักสูตรและจุดประสงค์
จุดประสงค์ เพื่อกาหนดเนื้อหา ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางการ
สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยผู้วิจัยได้ดาเนิน
ขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ จากคู่มือการวัดผลประเมินผลคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน
วัดราชโอรส เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้ของ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2539,หน้า93-
121) เทคนิคการวิจัยทางการศึกษาของ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2538,หน้า170-176)
3.2 ศึกษาเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการ
แปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ จากแบบเรียนและคู่มือครู
3.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลง
ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) 4 ตัวเลือก โดย
แบ่งตามเนื้อหา ดังนี้
3.3.1 ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
3.3.2 องค์ประกอบของสารสนเทศ
3.3.3 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.3.4 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.4 นาแบบทดสอบที่สร้างข้นไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน
ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์
(IOC-Index of Item-objective Congruence) นาข้อสอบที่มีคะแนนเฉลี่ยจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน
มากกว่า .5 ขึ้นไป โดยพิจารณาความสอดคล้องของข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการ
วัด โดยใช้หลักเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ข้อคาถามที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียน ให้คะแนน +1
ข้อคาถามที่ไม่แน่ใจว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้คะแนน 0
ข้อคาถามที่ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้คะแนน -1
นาผลการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญในแต่ละข้อไปหาค่าดัชนีความสอดคล้อง
ระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้
3.5 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ
ผู้เชี่ยวชาญ แล้วนาไปให้อาจารย์ที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง
3.6 นาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5
และ 1/8 ของโรงเรียนวัดราชโอรส แขวงบางค้อ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร สังกัด
สพม. เขต1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 94 คน
3.7 นาผลการทดสอบมาตรวจให้คะแนนโดยให้คะแนนข้อที่ตอบถูกเป็น 1 คะแนน และ
ข้อที่ตอบผิดหรือเลือกตอบมากกว่า 1 ข้อ หรือไม่ตอบเลยเป็น 0 คะแนน
3.8 นาผลคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน หาค่าความยากง่าย จาแนก
และค่าความเชื่อมั่น ซึ่งมีสูตรและเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อสอบ ดังนี้
1) วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 โดย
ที่ 80 ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการวัดจากแบบฝึกหัด 80 ตัวหลังหมายถึง
ประสิทธิภาพของผลลัพธ์จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพการทดลองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1/5 โรงเรียนวัดราชโอรส นาบทเรียนไปทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1/5 จานวน 47 คน
ขั้นตอนที่ 2 การหาประสิทธิภาพการทดลองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1/8 โรงเรียนวัดราชโอรส นาบทเรียนไปทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1/8 จานวน 47 คน
ขั้นที่ 3 เมื่อหาประสิทธิภาพการทดลองทั้ง 2 กลุ่มแล้ว จานวน 94 คน
จานวน 2 ห้องเรียน เมื่อผ่านกระบวนการทั้ง 3 ขั้นตอน และประสิทธิภาพ
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานจึงนาบทเรียนไปวิเคราะห์หาความยากง่าย อานาจ
จาแนก และค่าความเชื่อมั่นต่อไป
2) วิเคราะห์หาความยากง่ายและอานาจจาแนกของแบบทดสอบ โดยใช้เทคนิค
อย่างง่าย (สุรศักดิ์ อมรรัตน์ศักดิ์,2536,หน้า 137-138) โดยหาค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง .32-
.82 ค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ .27-.91 ขึ้นไป ถ้าข้อสอบข้อใดไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดจะนาไป
แก้ไข แล้วนามาหาค่าใหม่ เพื่อให้ได้ตามเกณฑ์
3) วิเคราะห์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
แต่ละห้อง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8
3.9 นาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้จริง
การเก็บรวมรวมข้อมูล
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้รายงานได้ดาเนินการทดลอง กับกลุ่มตัวอย่างตามลาดับดังนี้
1. ก่อนการทดลองให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (Multiple
Choice) 4 ข้อ จานวน 30 ข้อ
2. ผู้รายงานดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่างด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นจานวน
4 แผน โดยให้นักเรียนเรียนและปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการ/
สื่อนวัตกรรม
3. เมื่อสิ้นสุดการทดลองสอนแล้ว นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เป็นข้อสอบปรนัยแบบ
เลือกตอบ (Multiple Choice) 4 ข้อ จานวน 30 ข้อ ไปทดสอบนักเรียนอีกครั้ง จากนั้นนาผลที่ได้
ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป
วิธีการดาเนินการทดลอง
ผู้วิจัยดาเนินการสอนทั้ง 2 ห้องเรียน โดยใช้เนื้อหาเดียวกัน คือเรื่องการแปลงข้อมูลให้
เป็นสารสนเทศ ได้แก่ ข้อมูล และ สารสนเทศ , ความหมายของข้อมูล , ประเภทของข้อมูล ,
ความหมายของสารสนเทศ , ประเภทของสารสนเทศ , การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ,
วิธีการประมวลผลข้อมูล , ลักษณะสาคัญและผลกระทบของสารสนเทศ , โดยกลุ่มทดลองให้
นักเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรูปแบบบรรยายประกอบด้วยใบความรู้และแบบฝึกหัด ใช้เวลาการ
จัดการเรียนการสอน จานวน 4 สัปดาห์ จานวน 8 คาบ โดยทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ก่อนเรียนและหลังเรียน ทั้ง 2 ห้องเรียน ซึ่งการวิจัยนี้เป็นการวิจัยการทดลองตามแบบแผน มี
ลักษณะการทดลองตามตาราง ดังนี้
การกาหนดเข้ากลุ่ม สอบก่อนเรียน สอบหลังเรียน
E T1E T2E
C T1C T2C
ความหมายของสัญลักษณ์
E แทน กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5
C แทน กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8
T1 แทน การทดสอบก่อนการทดลอง (Pretest)
T2 แทน การทดสอบหลังการทดลอง (Posttest)
1. วิธีการดาเนินการทดลอง
1.1) อธิบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักเรียนแต่ละห้องได้ทราบและทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
1.2) ให้กลุ่มทดลองทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนจานวน 20 นาที
1.3) ดาเนินการทดลอง โดยให้ผู้เรียนใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel 2010 โดยให้
ทาแบบฝึกหัด เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรม และทาการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศใน
Microsoft Excel 2010 , การจัดเรียงข้อมูล , การแบ่งกลุ่มข้อมูล , การจัดการข้อความ , การจัด
ตารางและใส่ข้อมูลลงในตาราง , การเลือกวิธีการประมวลผล , การประมวลผลแบบกราฟแท่ง ,
การเปลี่ยนสีของข้อมูล ,ใช้เวลาการจัดการเรียนการสอน จานวน 4 สัปดาห์ จานวน 8 คาบ
1.4) ให้กลุ่มทดลองวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจานวน 20 นาที
1.5) นาผลการเรียนที่ได้มาตรวจให้คะแนน โดยใช้วิธี 0-1 (zero – one Method) โดยมี
เกณฑ์การกาหนดว่าตอบถูก 1 คะแนน ตอบผิดหรือตอบไม่ตอบ หรือตอบเกินมากกว่า 1 แห่ง
ในข้อเดียวกันให้ 0 คะแนน
1.6) รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ค่าสถิติ
1.7) สรุปผลและรายงานผลการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. การวิเคราะห์ข้อมูลคานวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
1.1) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนได้รับจากการทา
แบบฝึกหัดการปฏิบัติด้วยคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เรื่อง การแปลงข้อมูล
ให้เป็นสารสนเทศ , การจัดเรียงข้อมูล , การแบ่งกลุ่มข้อมูล , การจัดการข้อความ , การจัดตาราง
และใส่ข้อมูลลงในตาราง , การเลือกวิธีการประมวลผล , การประมวลผลแบบกราฟแท่ง , การ
เปลี่ยนสีของข้อมูล ถูกต้องเฉลี่ยร้อยละ 80
80 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนได้รับการทาแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน เรื่อง การแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การจัดเรียงข้อมูล , การแบ่งกลุ่ม
ข้อมูล , การจัดการข้อความ , การจัดตารางและใส่ข้อมูลลงในตาราง , การเลือกวิธีการประมวลผล
, การประมวลผลแบบกราฟแท่ง , การเปลี่ยนสีของข้อมูล ถูกต้องเฉลี่ยร้อยละ 80
โดยใช้สูตร E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์,2550,หน้า 51)
E1 =
E2 =
เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ
E1 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
∑X คือ คะแนนรวมของแบบฝึกหัด
∑F คือ คะแนนของผลลัพธ์หลังเรียน
A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทุกเรื่องรวมกัน
B คือ คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน
N คือ จานวนผู้เรียน
1.2) หาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตร KR-20
ของ คูเดอร์-ริชาร์ต (Kuder Richardson) (บุญเรียง ขจรศิลป์,2533,หน้า 163)
X 100






N
F






N
X
X 100
A
B
Rtt =
เมื่อ Rtt แทนค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
S1
2
แทนความแปรปรวนของแบบทดสอบ
N แทนจานวนของแบบทดสอบ
p แทนสัดส่วนของผู้ทาได้ในข้อหนึ่งๆ
q แทนสัดส่วนของผู้ที่ทาผิดในข้อหนึ่ง ๆ หรือ p-1
1.3) หาดัชนีความสอดคล้อง (IOC = Index of Item-objective Congruence)
IOC =
IOC แทนค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์
แทนผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
ทั้งหมด
N แทนจานวนผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เปรียบเทียบคะแนน โดยใช้สถิติ
เปรียบเทียบคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนของแต่ละกลุ่ม คือกลุ่มที่ 1 นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 จานวน 47 คน กลุ่มที่ 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 จานวน 47 คน
โดยการทดสอบหาค่าทีแบบ t-test Independent (ระพินทร์ โพธิ์ศรี,2549)
t =
df (v) =










2
1
1
1 s
pq
N
N
N
r
r
2
2
2
1
2
1
2121
n
s
n
s

 
21 2
2
2
2
2
2
1
1
2
1
2
2
2
1
2
1











n
n
s
n
n
s
n
s
n
s
เมื่อ คือ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ 1
และกลุ่มที่ 2 ตามลาดับ
คือ ความแปรปรวนของตัวอย่างกลุ่มที่ 1
และกลุ่มที่ 2 ตามลาดับ
คือ จานวนตัวอย่างของกลุ่มที่ 1
และกลุ่มที่ 2 ตามลาดับ
df หรือ V คือ ชั้นความเป็นอิสระ (Degree of Freedom)
1) หาค่าความยากง่าย และอานาจจาแนก โดยใช้เทคนิคอย่างง่าย (สุรศักดิ์
อมรรัตน์ศักดิ์,2536,หน้า 137-138)
ค่าความยากง่าย
P =
โดยใช้เกณฑ์ค่าความยากง่ายระหว่าง .20-.80
โดย = จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง
= จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง
= จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูง
= จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูง
ค่าอานาจจาแนก
R =
โดยใช้เกณฑ์ค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ .20 ขึ้นไป
2) หาค่าความแตกต่างระหว่างบททดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการ
ทดสอบด้วยค่าสถิติทดสอบ t-test paired
t =
D =
SD =
21, xx
2
2
2
1 ,ss
21 ,nn
1NN
RR
H
nu


uR
nR
HN
LN
1orNN
RR
H
nu 
D
D
s
uD 

postpre XX 
n
sd
Df = n-1
เมื่อ D คือ ผลต่างระหว่างข้อมูลแต่ละคู่
n คือ จานวนคู่
คือ ค่าเฉลี่ยของผลต่าง
SD คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลต่าง
Df คือ ชั้นความเป็นอิสระ (degree of Freedom)
D

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
Hathaichon Nonruongrit
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
kruood
 
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
giggle036
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 

Mais procurados (18)

Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
3
33
3
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
Techno and program
Techno and programTechno and program
Techno and program
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
Mai
MaiMai
Mai
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
MIS KMUTNB
MIS KMUTNBMIS KMUTNB
MIS KMUTNB
 

Semelhante a บทที่3 (เสร็จ)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
Meaw Sukee
 
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธีหน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
Oh Aeey
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
Meaw Sukee
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Ananyaluk Chaiwut
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
Rungdawan Rungrattanachai
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Ko Kung
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school network
Kroo nOOy
 
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Meaw Sukee
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
Pimpisut Plodprong
 

Semelhante a บทที่3 (เสร็จ) (20)

9
99
9
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
 
Pitima
PitimaPitima
Pitima
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธีหน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
Plan basic 1 7
Plan basic 1 7Plan basic 1 7
Plan basic 1 7
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ที่ศธ
ที่ศธที่ศธ
ที่ศธ
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school network
 
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 

Mais de Annop Phetchakhong

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
Annop Phetchakhong
 
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาคโครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
Annop Phetchakhong
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...
Annop Phetchakhong
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จ
Annop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 

Mais de Annop Phetchakhong (11)

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาคโครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จ
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 

บทที่3 (เสร็จ)

  • 1. บทที่ 3 วิธีดาเนินงานวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัย เรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนวัดราชโอรส โดยมีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและ หาประสิทธิภาพของนักเรียนแต่ละห้อง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลง ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ของโรงเรียนวัดราชโอรส 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้ในห้องเรียน 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ และความใจในการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ซึ่งผู้วิจัยได้ดาเนินและเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาค้นคว้า โดยมีขั้นตอนดาเนินงานดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรในวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส แขวง บางค้อ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร สังกัด สพม. 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 2 ห้องเรียน โดยเลือกห้องนักเรียนที่มีนักเรียนจานวนเท่ากัน คือ 47 คน ได้แก่ ห้อง มัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ มัธยมศึกษาปีที่ 1/8 รวมทั้งหมด 94 คน
  • 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส แขวงบางค้อ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร สังกัด สพม. เขต1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โดยเจาะจงกับนักเรียนกลุ่มนี้เนื่องจากเป็นห้องที่ผู้วิจัยทาการสอน และนักเรียนมีความรู้ ความสามารถด้านการใช้คอมพิวเตอร์ไม่แตกต่างกัน และเนื่องด้วยจานวนนักเรียนในห้องมีจานวน นักเรียน 47 คนเท่ากัน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง การแปลงข้อมูลให้เป็น สารสนเทศ 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบทฤษฎีและลงมือ ปฏิบัติกับคอมพิวเตอร์ จานวน 4 แผน 2 คาบ/สัปดาห์ รวม 8 คาบ 1.2 บทเรียนที่ใช้ในการสอน คือ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยมี การอธิบายพร้อมให้นักเรียนเขียนบันทึกลงในสมุดเพื่อจะได้ทบทวนในการเรียนครั้งต่อไป และมี การนาสื่อต่างๆ มาขึ้นสไลด์บนหน้าจอโปรแจ็คเตอร์ มีการนาเสนอบทสรุป แบบวิธีการบรรยาย พร้อมทั้งการปฏิบัติให้กับนักเรียนดูหน้าชั้นเรียน ประกอบกับใบความความรู้ และแบบฝึกหัดใน แต่ละเรื่อง 1.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก มีคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียวจานวน 30 ข้อ ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ 1. การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) ที่ใช้ในการจัดการ เรียนการเรียนการสอน ผู้วิจัยยึดองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรของ สถานศึกษาของโรงเรียนวัดราชโอรส มีขั้นตอนดังนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 1.2 แบ่งเนื้อหาในบทเรียนเพื่อนามาเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
  • 3. 1.3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงโดย ก. กาหนดเนื้อหา ข. กาหนดสาระสาคัญของเนื้อหาที่ทาการสอน ค. เขียนจุดประสงค์ปลายทางและจุดประสงค์นาทาง ง. กาหนดการเรียนการสอนโดยมีขั้นนาเข้าสู่บทเรียนขั้นอภิปรายก่อนการทดลอง ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การศึกษาเนื้อหาจากใบงาน การทาใบงานลงในโปรแกรม Microsoft Office Excel 2010 ค้นคว้าหางานทางอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้การจัดกิจกรรมคานึงถึงความเหมาะสมกับเนื้อหาในบทเรียนเฉพาะรายคาบนั้น ๆ จ. สื่อการเรียนการสอน เป็นสื่อที่นามาประกอบการเรียน โดยนามาจากสื่อที่เป็น ของจริงเกี่ยวเนื้อหาบทเรียนนั้น ๆ และครูสร้างขึ้น ฉ. การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน เป็นการประเมินผลว่าผู้เรียน พัฒนาการและสามารถเรียนรู้ได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ โดยประเมินจากคะแนน การทาแบบทดสอบก่อนเรียน และ คะแนนการทาแบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรียน 1.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบแล้วนาผลการปรับปรุง 1.5 เมื่อปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว จึงนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2. การสร้างบทเรียน การสร้างบทเรียน วิชาเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้ เป็นสารสนเทศ ที่จัดการเรียนรู้ ผู้วิจัยได้ยึดองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตร สถานศึกษาของโรงเรียนวัดราชโอรส มีขั้นตอนการสร้างดังนี้ 2.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 2.2 แบ่งเนื้อหาในบทเรียนเพื่อนามาเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 2.3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงโดย ก. กาหนดเนื้อหา ข. กาหนดสาระสาคัญของเนื้อหาที่ทาการสอน ค. เขียนจุดประสงค์ปลายทางและจุดประสงค์นาทาง ง. กาหนดการเรียนการสอนโดยมีขั้นนาเข้าสู่บทเรียนขั้นอภิปรายก่อนการทดลอง ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การศึกษาเนื้อหาจากใบงาน
  • 4. การทาใบงานลงในโปรแกรม Microsoft Office Excel 2010 ค้นคว้าหางานทางอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้การจัดกิจกรรมคานึงถึงความเหมาะสมกับเนื้อหาในบทเรียนเฉพาะรายคาบนั้น ๆ จ. สื่อการเรียนการสอน เป็นสื่อที่นามาประกอบการเรียน โดยนามาจากสื่อที่เป็น ของจริงเกี่ยวเนื้อหาบทเรียนนั้น ๆ และครูสร้างขึ้น ฉ. การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน เป็นการประเมินผลว่าผู้เรียน พัฒนาการและสามารถเรียนรู้ได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ โดยประเมินจากคะแนน การทาแบบทดสอบก่อนเรียน และ คะแนนการทาแบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรียน 2.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบแล้วนาผลการปรับปรุง 2.5 เมื่อปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว จึงนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่อง การแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้วิจัยได้ศึกษาหลักสูตรและจุดประสงค์ จุดประสงค์ เพื่อกาหนดเนื้อหา ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางการ สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยผู้วิจัยได้ดาเนิน ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ จากคู่มือการวัดผลประเมินผลคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน วัดราชโอรส เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้ของ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2539,หน้า93- 121) เทคนิคการวิจัยทางการศึกษาของ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2538,หน้า170-176) 3.2 ศึกษาเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการ แปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ จากแบบเรียนและคู่มือครู 3.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลง ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) 4 ตัวเลือก โดย แบ่งตามเนื้อหา ดังนี้ 3.3.1 ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ 3.3.2 องค์ประกอบของสารสนเทศ 3.3.3 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.3.4 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 5. 3.4 นาแบบทดสอบที่สร้างข้นไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (IOC-Index of Item-objective Congruence) นาข้อสอบที่มีคะแนนเฉลี่ยจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน มากกว่า .5 ขึ้นไป โดยพิจารณาความสอดคล้องของข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการ วัด โดยใช้หลักเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ข้อคาถามที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียน ให้คะแนน +1 ข้อคาถามที่ไม่แน่ใจว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้คะแนน 0 ข้อคาถามที่ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้คะแนน -1 นาผลการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญในแต่ละข้อไปหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 3.5 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญ แล้วนาไปให้อาจารย์ที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง 3.6 นาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 ของโรงเรียนวัดราชโอรส แขวงบางค้อ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร สังกัด สพม. เขต1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 94 คน 3.7 นาผลการทดสอบมาตรวจให้คะแนนโดยให้คะแนนข้อที่ตอบถูกเป็น 1 คะแนน และ ข้อที่ตอบผิดหรือเลือกตอบมากกว่า 1 ข้อ หรือไม่ตอบเลยเป็น 0 คะแนน 3.8 นาผลคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน หาค่าความยากง่าย จาแนก และค่าความเชื่อมั่น ซึ่งมีสูตรและเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อสอบ ดังนี้ 1) วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 โดย ที่ 80 ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการวัดจากแบบฝึกหัด 80 ตัวหลังหมายถึง ประสิทธิภาพของผลลัพธ์จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพการทดลองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/5 โรงเรียนวัดราชโอรส นาบทเรียนไปทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/5 จานวน 47 คน ขั้นตอนที่ 2 การหาประสิทธิภาพการทดลองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/8 โรงเรียนวัดราชโอรส นาบทเรียนไปทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/8 จานวน 47 คน ขั้นที่ 3 เมื่อหาประสิทธิภาพการทดลองทั้ง 2 กลุ่มแล้ว จานวน 94 คน จานวน 2 ห้องเรียน เมื่อผ่านกระบวนการทั้ง 3 ขั้นตอน และประสิทธิภาพ
  • 6. เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานจึงนาบทเรียนไปวิเคราะห์หาความยากง่าย อานาจ จาแนก และค่าความเชื่อมั่นต่อไป 2) วิเคราะห์หาความยากง่ายและอานาจจาแนกของแบบทดสอบ โดยใช้เทคนิค อย่างง่าย (สุรศักดิ์ อมรรัตน์ศักดิ์,2536,หน้า 137-138) โดยหาค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง .32- .82 ค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ .27-.91 ขึ้นไป ถ้าข้อสอบข้อใดไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดจะนาไป แก้ไข แล้วนามาหาค่าใหม่ เพื่อให้ได้ตามเกณฑ์ 3) วิเคราะห์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน แต่ละห้อง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 3.9 นาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้จริง การเก็บรวมรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้รายงานได้ดาเนินการทดลอง กับกลุ่มตัวอย่างตามลาดับดังนี้ 1. ก่อนการทดลองให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) 4 ข้อ จานวน 30 ข้อ 2. ผู้รายงานดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่างด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นจานวน 4 แผน โดยให้นักเรียนเรียนและปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการ/ สื่อนวัตกรรม 3. เมื่อสิ้นสุดการทดลองสอนแล้ว นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เป็นข้อสอบปรนัยแบบ เลือกตอบ (Multiple Choice) 4 ข้อ จานวน 30 ข้อ ไปทดสอบนักเรียนอีกครั้ง จากนั้นนาผลที่ได้ ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป วิธีการดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยดาเนินการสอนทั้ง 2 ห้องเรียน โดยใช้เนื้อหาเดียวกัน คือเรื่องการแปลงข้อมูลให้ เป็นสารสนเทศ ได้แก่ ข้อมูล และ สารสนเทศ , ความหมายของข้อมูล , ประเภทของข้อมูล , ความหมายของสารสนเทศ , ประเภทของสารสนเทศ , การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ , วิธีการประมวลผลข้อมูล , ลักษณะสาคัญและผลกระทบของสารสนเทศ , โดยกลุ่มทดลองให้
  • 7. นักเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรูปแบบบรรยายประกอบด้วยใบความรู้และแบบฝึกหัด ใช้เวลาการ จัดการเรียนการสอน จานวน 4 สัปดาห์ จานวน 8 คาบ โดยทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน ทั้ง 2 ห้องเรียน ซึ่งการวิจัยนี้เป็นการวิจัยการทดลองตามแบบแผน มี ลักษณะการทดลองตามตาราง ดังนี้ การกาหนดเข้ากลุ่ม สอบก่อนเรียน สอบหลังเรียน E T1E T2E C T1C T2C ความหมายของสัญลักษณ์ E แทน กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 C แทน กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 T1 แทน การทดสอบก่อนการทดลอง (Pretest) T2 แทน การทดสอบหลังการทดลอง (Posttest) 1. วิธีการดาเนินการทดลอง 1.1) อธิบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักเรียนแต่ละห้องได้ทราบและทาความเข้าใจ เกี่ยวกับการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 1.2) ให้กลุ่มทดลองทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนจานวน 20 นาที 1.3) ดาเนินการทดลอง โดยให้ผู้เรียนใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel 2010 โดยให้ ทาแบบฝึกหัด เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรม และทาการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศใน Microsoft Excel 2010 , การจัดเรียงข้อมูล , การแบ่งกลุ่มข้อมูล , การจัดการข้อความ , การจัด ตารางและใส่ข้อมูลลงในตาราง , การเลือกวิธีการประมวลผล , การประมวลผลแบบกราฟแท่ง , การเปลี่ยนสีของข้อมูล ,ใช้เวลาการจัดการเรียนการสอน จานวน 4 สัปดาห์ จานวน 8 คาบ 1.4) ให้กลุ่มทดลองวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจานวน 20 นาที 1.5) นาผลการเรียนที่ได้มาตรวจให้คะแนน โดยใช้วิธี 0-1 (zero – one Method) โดยมี เกณฑ์การกาหนดว่าตอบถูก 1 คะแนน ตอบผิดหรือตอบไม่ตอบ หรือตอบเกินมากกว่า 1 แห่ง ในข้อเดียวกันให้ 0 คะแนน 1.6) รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ค่าสถิติ 1.7) สรุปผลและรายงานผลการวิจัย
  • 8. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลคานวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.1) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนได้รับจากการทา แบบฝึกหัดการปฏิบัติด้วยคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เรื่อง การแปลงข้อมูล ให้เป็นสารสนเทศ , การจัดเรียงข้อมูล , การแบ่งกลุ่มข้อมูล , การจัดการข้อความ , การจัดตาราง และใส่ข้อมูลลงในตาราง , การเลือกวิธีการประมวลผล , การประมวลผลแบบกราฟแท่ง , การ เปลี่ยนสีของข้อมูล ถูกต้องเฉลี่ยร้อยละ 80 80 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนได้รับการทาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน เรื่อง การแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การจัดเรียงข้อมูล , การแบ่งกลุ่ม ข้อมูล , การจัดการข้อความ , การจัดตารางและใส่ข้อมูลลงในตาราง , การเลือกวิธีการประมวลผล , การประมวลผลแบบกราฟแท่ง , การเปลี่ยนสีของข้อมูล ถูกต้องเฉลี่ยร้อยละ 80 โดยใช้สูตร E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์,2550,หน้า 51) E1 = E2 = เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ∑X คือ คะแนนรวมของแบบฝึกหัด ∑F คือ คะแนนของผลลัพธ์หลังเรียน A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทุกเรื่องรวมกัน B คือ คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน N คือ จานวนผู้เรียน 1.2) หาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตร KR-20 ของ คูเดอร์-ริชาร์ต (Kuder Richardson) (บุญเรียง ขจรศิลป์,2533,หน้า 163) X 100       N F       N X X 100 A B
  • 9. Rtt = เมื่อ Rtt แทนค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ S1 2 แทนความแปรปรวนของแบบทดสอบ N แทนจานวนของแบบทดสอบ p แทนสัดส่วนของผู้ทาได้ในข้อหนึ่งๆ q แทนสัดส่วนของผู้ที่ทาผิดในข้อหนึ่ง ๆ หรือ p-1 1.3) หาดัชนีความสอดคล้อง (IOC = Index of Item-objective Congruence) IOC = IOC แทนค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ แทนผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ทั้งหมด N แทนจานวนผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เปรียบเทียบคะแนน โดยใช้สถิติ เปรียบเทียบคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนของแต่ละกลุ่ม คือกลุ่มที่ 1 นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 จานวน 47 คน กลุ่มที่ 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 จานวน 47 คน โดยการทดสอบหาค่าทีแบบ t-test Independent (ระพินทร์ โพธิ์ศรี,2549) t = df (v) =           2 1 1 1 s pq N N N r r 2 2 2 1 2 1 2121 n s n s    21 2 2 2 2 2 2 1 1 2 1 2 2 2 1 2 1            n n s n n s n s n s
  • 10. เมื่อ คือ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ตามลาดับ คือ ความแปรปรวนของตัวอย่างกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ตามลาดับ คือ จานวนตัวอย่างของกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ตามลาดับ df หรือ V คือ ชั้นความเป็นอิสระ (Degree of Freedom) 1) หาค่าความยากง่าย และอานาจจาแนก โดยใช้เทคนิคอย่างง่าย (สุรศักดิ์ อมรรัตน์ศักดิ์,2536,หน้า 137-138) ค่าความยากง่าย P = โดยใช้เกณฑ์ค่าความยากง่ายระหว่าง .20-.80 โดย = จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง = จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง = จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูง = จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูง ค่าอานาจจาแนก R = โดยใช้เกณฑ์ค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ .20 ขึ้นไป 2) หาค่าความแตกต่างระหว่างบททดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการ ทดสอบด้วยค่าสถิติทดสอบ t-test paired t = D = SD = 21, xx 2 2 2 1 ,ss 21 ,nn 1NN RR H nu   uR nR HN LN 1orNN RR H nu  D D s uD   postpre XX  n sd
  • 11. Df = n-1 เมื่อ D คือ ผลต่างระหว่างข้อมูลแต่ละคู่ n คือ จานวนคู่ คือ ค่าเฉลี่ยของผลต่าง SD คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลต่าง Df คือ ชั้นความเป็นอิสระ (degree of Freedom) D