Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Anúncio

การท่องเที่ยวยั่งยืน

  1. การท่องเที่ยวยั่งยืน ชุมชนยั่งยืน
  2. องค์ประกอบของการท่องเที่ยว ทรัพยากร การท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ท้องถิ่น 2
  3. องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว สิ่งดึงดูดใจ • ธรรมชาติ • มนุษย์สร้าง • วัฒนธรรม สิ่งอานวยความ สะดวกและบริการ • ที่พัก • ร้านอาหาร • ร้านขายของที่ระลึก • ความบันเทิง • ฯลฯ การเข้าถึง • ถนนหนทาง • สาธารณูปโภค • ระบบขนส่ง • กฎหมาย กฎระเบียบ • ฯลฯ 3
  4. องค์ประกอบของสินค้าทางการท่องเที่ยว • สิ่งดึงดูดใจAttraction • สิ่งอานวยความสะดวกAmenity • ความสามารถในการเข้าถึงAccessibility • กิจกรรมActivity • ที่พักAccommodation 4 5 As
  5. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน • การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ถูกนามา พูดเป็นกระแสมากว่าเกือบ 25 ปีแล้ว • การท่องเที่ยวที่พัฒนาแล้วจะไม่เน้น เรื่องของการมีรายได้เป็นหลัก แต่ ท่องเที่ยวนั้นจะต้องให้ผลตอบแทน ของสังคม ให้ผลตอบแทนกับคนรอบ ข้างของแหล่งท่องเที่ยว และให้ ผลตอบแทนต่อสิ่งแวดล้อมที่ดี
  6. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน • การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จะต้องไม่ ต่อต้านการเจริญเติบโตและการพัฒนา แต่ต้องเน้นข้อจากัดของการ เจริญเติบโต • การท่องเที่ยวจะต้องอยู่กึ่งกลางระหว่าง การพัฒนาและการอนุรักษ์ • ที่ประเทศไทยไม่ประสบความสาเร็จนั้น เนื่องจากไม่ได้คานึงข้อจากัดทาง สิ่งแวดล้อม ทางสังคม
  7. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน • การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จะต้องจัดการ และวางแผนที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยง ปัญหาที่เกิดขึ้นต่อธรรมชาติและ ทรัพยากรมนุษย์ • เป็นการกาหนดข้อจากัดที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ว่าทาอย่างไร ที่การท่องเที่ยวจะไปเข้าไปเบียดบังคน ท้องถิ่น หรือ สิ่งแวดล้อมในบริเวณนั้น จนมากเกินไป
  8. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน • การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จะต้องคานึงถึง ผลในระยะยาวมากกว่าระยะสั้น • ประเทศไทยมักจะนาการท่องเที่ยวเป็น เครื่องมือในการสร้างรายได้ เป็นการเน้น ปริมาณที่เป็นนักท่องเที่ยวกระแสหลัก ที่ เป็น Mass Tourism ลูกค้ากลุ่มมาก • ได้ผลประโยชน์ในระยะสั้นแต่มีผลกระทบ ในระยะยาว
  9. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
  10. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน • ควรให้ความสาคัญกับความ ต้องการที่ทาให้มนุษย์เกิดความ พึงพอใจ แต่ต้องอยู่ภายใต้ความ เสมอภาคและความยุติธรรมทั้ง ต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม • เช่น ไม่ควรมีการพยายาม เอาชนะธรรมชาติ และระบบ นิเวศ
  11. การท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ “หมู่บ้านที่มีการท่องเที่ยว”หรือ “ชุมชนที่มีการท่องเที่ยว” หรือ หมู่บ้านที่เรียกว่า “การท่องเที่ยวโดยชุมชน” ซึ่งมักจะมีหลายชื่อ เรียกและจะมีความแตกต่างกันอยู่ในรายละเอียด และการจัดการ
  12. เป้าหมายของการท่องเที่ยวโดยชุมชน • เพื่อพัฒนาคนและการมีส่วนร่วมของชุมชน • เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนระหว่างคนต่างวัฒนธรรม ไม่ใช่ให้นักท่องเที่ยวมาเรียนรู้ท้องถิ่นเพียงอย่างเดียว คนในชุมชน ท้องถิ่นก็ต้องเรียนรู้นักท่องเที่ยวด้วย • การฟื้นฟูวัฒนธรรม การดูแลฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม • รายได้เสริม
  13.  เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวตั้งอยู่ที่ เกาะช้าง จ.ตราด ซึ่งมีความ น่าสนใจในด้านการจัดการที่แตกต่างจากที่อื่นๆ เป็นการ ประยุกต์จากสิ่งเดิมที่ชุมชนเคยมี  มีการนาจุดเด่น โดยการบริการจัดการจะมีการให้คนในชุมชนมา เป็นเจ้าของกิจการโดยต้องจ้างผู้จัดการ 1 คน ซึ่งเป็นผู้ที่เข้าใจ เรื่องอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพื่อมาเป็นลูกจ้างของชาวบ้าน ในการติดต่อประสานงานกับบริษัททัวร์และการทาการตลาด  รายได้ก็จะถูกตอบแทนเป็นเงินเดือนให้กับผู้ที่ทาหน้าที่เป็น ผู้จัดการ และส่วนต่างๆก็จะเป็นระบบปันผลให้แก่สมาชิกที่มา รวมหุ้นในการทาการท่องเที่ยวของหมู่บ้าน หมู่บ้านสลักคอก
  14.  วัดปงสนุกเป็นวัดที่ได้รางวัลยูเนสโกในเรื่องการดูแล โบราณสถานและสถาปัตยกรรมโบราณ  มีการเก็บรวบรวมโบราณวัตถุและสถาปัตยกรรม ต่างๆที่อยู่ในยุคที่พม่ายังมีอานาจในการปกครองเมือง ลาปางและเชียงใหม่  กลุ่มเป้าหมายจึงเป็นกลุ่มเด็กนักเรียนนักศึกษาในพื้นที่ จึงมีกิจกรรมท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อมาเรียนรู้ วัดและพื้นที่รอบชุมชนที่มีเรื่องราวน่าสนใจมากมาย วัดปงสนุก จังหวัดลาปาง
  15. ศูนย์บันดาลไทย
  16.  การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือ : ในการพัฒนาและทางานกับชุมชนในด้านต่างๆ เช่น หมู่บ้านอาข่าที่ เลือกใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในการรักษา ดูแล อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของชาวอาข่าไว้  การท่องเที่ยวเป็นกระบวนการ: ในการเก็บรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่น ความภาคภูมิใจในการเป็นชาติ พันธ์เนื่องจากมีบุคคลภายนอกเข้าไปเยี่ยมชมและชื่นชมอยู่สม่าเสมอ เป็นต้น สมาชิกในหมู่บ้านหรือเป็นผู้นาชุมชน: จะสามารถวิเคราะห์ได้ว่าหมู่บ้านนั้นๆมีต้นทุนทางธรรมชาติ ที่ดีและสวยงาม หรือ วัฒนธรรมที่น่าสนใจและมีความแตกต่างทางวัฒนธรรม สถานที่ที่ถ่ายรูป สวยงาม มีของที่ระลึกจาหน่าย คนในพื้นที่สูญเสียความเป็นส่วนตัวของชุมชน: การท่องเที่ยวเช่นนี้คนในชุมชนจะตกอยู่ในสถานะ ของผู้ที่ถูกท่องเที่ยวซึ่งหลายหมู่บ้านเป็นเช่นนี้ ทาให้คนในพื้นที่สูญเสียความเป็นส่วนตัวจากการถูก รบกวนจากนักท่องเที่ยว มีเพียงคนบางกลุ่มเท่านั้นที่ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยวหรือได้รับ ผลตอบแทนที่ไม่คุ้มค่า
  17.  กิจกรรมการท่องเที่ยว: การให้บริการ และแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนนั้นจะอยู่บนฐานทั้งทรัพยากร และวัฒนธรรม ด้านวัฒนธรรมจาเป็นจะต้องมีองค์ความรู้ในท้องถิ่นที่จะมีในตัวบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การทอผ้า การทาแคน เป็นต้น ทาให้สิ่งเหล่านี้สามารถยกระดับและ ความสาคัญมากขึ้น  การถ่ายทอดสู่คนในรุ่นต่อไป: เป็นกระบวนการที่ทาให้คนในชุมชนตื่นตัวและเห็นความสาคัญ นาไปสู่กระบวนการถ่ายทอดสู่คนรุ่นต่อไปได้ สิ่งเหล่านี้เป็นคุณค่าที่มีอยู่ในชุมชนที่นามาใช้ในการ ท่องเที่ยว  การท่องเที่ยวช่วยในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิต: เมื่อมีการท่องเที่ยวเข้าไปช่วยเป็น ตัวกระตุ้นทาให้ชาวบ้านเห็นว่าเป็นเรื่องสาคัญที่จะไม่สามารถใช้ชีวิตที่ไม่ถูกสุขอนามัยได้ เนื่องจาก จะมีบุคคลภายนอกเข้ามา ทาให้เกิดความใส่ใจที่ทาให้เกิดประโยชน์กับคนในชุมชนในการพัฒนา คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
  18.  การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นการท่องเที่ยวคานึงถึงความยั่งยืน: ของสิ่งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และชุมชนเป็นผู้กาหนดทิศทางของตนเอง เช่น เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สร้างการเรียนรู้ให้กับเด็ก และเยาวชน เป็นต้น  ดาเนินการตามทิศทางและเป้าหมายที่กาหนดไว้แล้วชัดเจน: จัดการชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีบทบาท และสิทธิในการจัดการดูแลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน
  19. 1.ใช้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเครื่องมือในการสร้างความมีส่วนร่วมใน ชุมชน นากระบวนการในการท่องเที่ยวสร้างการทางานร่วมกัน 2.ใช้การท่องเที่ยวในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการสื่อสารกับผู้คนภายนอก 3.การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.การสร้างรายได้เสริมให้แก่ชุมชน 5.เป็นกระบวนการในการพัฒนาคนอีกด้วย จุดเริ่มต้นสาคัญในการทาการท่องเที่ยวโดยชุมชนนั้นคือ การ วางเป้าหมาย ซึ่งสามารถสรุปได้ 5 เรื่อง ได้แก่
  20. ขอบคุณ
Anúncio