SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส (Inter Process
Communication:IPC) หมายถึงการที่โปรเซสต่างๆทาการ
ติดต่อประสานกัน เพื่อให้การทางานเสร็จสิ้นตามต้องการโครงสร้าง
พื้นฐานของการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
ในการส่งข้อความ (Message) ระหว่างโปรเซสนั้น โปรเซสที่ต้องการ
ข้อความจากโปรเซสอื่น จะต้องส่งคาร้องไปยังโปรเซสนั้นเมื่อโปรเซส
ได้รับคาร้องแล้วจึงส่งข้อความไปให้เปรเซสที่ร้องขอซึ่ง ขนาดของ
ข้อความไม่จาเป็นต้องเท่ากัน
ในการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสจะมีการสร้างลิงค์ (Link)
ขึ้นมาระหว่างโปรเซส ซึ่งมีทั้งลิงค์ทางกายภาพ (Physical Link) เช่น
หน่วยความจาร่วม บัส หรือเครือข่าย และลิงค์ทางตรรกะ (Logical
Link)
ปัญหาในการสร้างลิงค์ทางตรรกะ
1.จะสร้างลิงค์อย่างไร
2. ลิงค์ที่สร้างนั้นมีความสัมพันธ์กับโปรเซสมากกว่า 2
โปรเซสหรือไม่
3. ต้องสร้างลิงค์จานวนเท่าไร ระหว่างโปรเซส 2 โปรเซส
4. แต่ละลิงค์ต้องการพื้นที่เพื่อใช้เก็บข้อความจานวนเท่าไร
5. ขนาดของข้อความควรเป็นเท่าไร และแต่ละลิงค์จะต้อง
รองรับข้อความแบบ Variable Sizeหรือ Fixed Size
6. แต่ละลิงค์เป็นลิงค์ทางเดียว (Unidirectional) หรือลิงค์
สองทาง (Bidirectional)
การรับและส่งข้อความ หรือการใช้ลิงค์สามารถทาได้ ดังนี้
1. การติดต่อสื่อสารเป็นแบบทางตรงหรือทางอ้อม
2. การติดต่อสื่อสารเป็นแบบสมมาตร (Symmetric) หรือไม่
สมมาตร (Asymmetric)
3. พื้นที่ที่ใช้เก็บข้อความเป็นแบบอัตโนมัติหรือใช้บัฟเฟอร์
เฉพาะแบบ
4. ส่งข้อความแบบสาเนา (Copy) หรือแบบอ้างอิง
(Reference)
5. ข้อความมีขนาดคงที่หรือไม่คงที่
การตั้งชื่อ (Naming)
โปรเซสที่ด้องการติดต่อสื่อสารกัน จาเป็นต้องมีการอ้างถึงซื่อ
ของผู้รับและผู้ส่ง ซึ่งการอ้างถึงนี้สามารถทาได้ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม
การสื่อสารทางตรง (Direct Communication)
การติดต่อแบนนี้จะต้องกาหนดซื่อเฉพาะในการติดต่อทั้งผู้รับ
และผู้ส่งลิงค์แบบนี้มีคุณสมบัติคือ
1. ลิงค์จะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ระหว่างโปรเซสทั้งสอง โดยแต่ละโปรเซส
ต้องรู้จักซื่อของอีกโปรเซสหนึ่ง
2. ลิงค์ 1 ลิงค์ จะเชื่อมระหว่าง 2 โปรเซสเท่านั้น
3. ลิงค์อาจเป็นแบบลิงค์ทางเดียวหรือลิงค์สองทางก็ได้ แต่ปกติมักเป็น
แบบลิงค์สองทาง
การสื่อสารทางอ้อม (Indirect Communication)
เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสโดยผ่านกล่องจดหมาย
(MailBox)หรือผ่านทางพอร์ต (Port)โดยข้อความที่ส่งไปมาระหว่าง
โปรเซสจะถูกน่ามาเก็บไว้ในกล่องจดหมายก่อนที่จะส่งไปให้ โปรเซส
ผู้รับ กล่องจดหมายแต่ละกล่องจะมีหมายเลขที่ไม่ซ้ากัน ลิงค์แบบนี้มี
คุณสมบัติคือ
1. มีการสร้างลิงค์ระหว่างโปรเซส เมื่อโปรเซสมีการร่วมกันใช้กล่อง
จดหมาย
2. ลิงค์หนึ่ง ๆ อาจมีความสัมพันธ์กันมากกว่า 2 โปรเซส
3. โปรเซสแต่ละคู่ อาจมีหลายลิงค์ที่แตกต่างกันได้ และแต่ละลิงค์จะ
ติดต่อผ่านกล่อง จดหมายเดียว
4. ลิงค์อาจเป็นแบบลิงค์ทางเดียว หรือลิงค์สองทางก็ได้
การพักข้อมูล (Buffering)
ในการสร้างลิงค์ นอกจากจะต้องกาหนดเส้นทางแล้วยังต้องมีพื้นที่
ส่วนหนึ่งเพื่อใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่งการเก็บข้อมูลนี้จะเก็บในลักษณะของคิว
โดยพื้นฐานแล้วคิวนี้มีความจุ 3 รูปแบบคือ
1.ความจุแบบศูนย์ (Zero Capacity)
เป็นคิวแบบมีความจุเป็น 0 คือจะไม่มีการเก็บข้อความไว้ในคิวเลย
เมื่อคิวได้รับข้อความแล้วจะส่งไปยังปลายทางทันที ในกรณีนี้ผู้ส่งจะต้องรอ
จนกว่าผู้รับจะได้รับข้อความ
2.ความจุแบบมีขอบเขต (Bounded Capacity)
เป็นคิวที่มีขนาดความจุคงที่ เมื่อใดที่ข้อความยังไม่เต็ม คิวจะรับ
ข้อความเข้ามาอยู่ในคิว จนกว่าจะเต็ม เมื่อเต็มแล้วต้องรอจนกว่าจะมีที่ว่าง
ข้อความใหม่จึงจะเข้ามาในคิวได้
3.ความจุแบบไร้ขอบเขต (Unbounded Capacity)
เป็นคิวที่มีความจุไม่คงที่สามารถรับข้อความได้ตลอดเวลา ทาให้ผู้ส่ง

Mais conteúdo relacionado

Destaque (7)

Graham_Sears_CV2016
Graham_Sears_CV2016Graham_Sears_CV2016
Graham_Sears_CV2016
 
Hmbh by jh
Hmbh by jhHmbh by jh
Hmbh by jh
 
Jhoanna Rafols( c.v)
Jhoanna Rafols( c.v)Jhoanna Rafols( c.v)
Jhoanna Rafols( c.v)
 
pro-e
pro-epro-e
pro-e
 
Sociala medier
Sociala medierSociala medier
Sociala medier
 
Portfolio 1
Portfolio 1Portfolio 1
Portfolio 1
 
FJ Trial Marketwired Case Study
FJ Trial Marketwired Case StudyFJ Trial Marketwired Case Study
FJ Trial Marketwired Case Study
 

Semelhante a การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส (7)

การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Charpter 5 2
Charpter 5 2Charpter 5 2
Charpter 5 2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
 

Mais de Thanaporn Singsuk

Mais de Thanaporn Singsuk (13)

การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
 
9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10
9.1 9.10
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซส
 
บทท 1 บทนำ 1
บทท   1 บทนำ 1บทท   1 บทนำ 1
บทท 1 บทนำ 1
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 

การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส

  • 1.
  • 2. การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส (Inter Process Communication:IPC) หมายถึงการที่โปรเซสต่างๆทาการ ติดต่อประสานกัน เพื่อให้การทางานเสร็จสิ้นตามต้องการโครงสร้าง พื้นฐานของการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส ในการส่งข้อความ (Message) ระหว่างโปรเซสนั้น โปรเซสที่ต้องการ ข้อความจากโปรเซสอื่น จะต้องส่งคาร้องไปยังโปรเซสนั้นเมื่อโปรเซส ได้รับคาร้องแล้วจึงส่งข้อความไปให้เปรเซสที่ร้องขอซึ่ง ขนาดของ ข้อความไม่จาเป็นต้องเท่ากัน ในการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสจะมีการสร้างลิงค์ (Link) ขึ้นมาระหว่างโปรเซส ซึ่งมีทั้งลิงค์ทางกายภาพ (Physical Link) เช่น หน่วยความจาร่วม บัส หรือเครือข่าย และลิงค์ทางตรรกะ (Logical Link)
  • 3. ปัญหาในการสร้างลิงค์ทางตรรกะ 1.จะสร้างลิงค์อย่างไร 2. ลิงค์ที่สร้างนั้นมีความสัมพันธ์กับโปรเซสมากกว่า 2 โปรเซสหรือไม่ 3. ต้องสร้างลิงค์จานวนเท่าไร ระหว่างโปรเซส 2 โปรเซส 4. แต่ละลิงค์ต้องการพื้นที่เพื่อใช้เก็บข้อความจานวนเท่าไร 5. ขนาดของข้อความควรเป็นเท่าไร และแต่ละลิงค์จะต้อง รองรับข้อความแบบ Variable Sizeหรือ Fixed Size 6. แต่ละลิงค์เป็นลิงค์ทางเดียว (Unidirectional) หรือลิงค์ สองทาง (Bidirectional)
  • 4. การรับและส่งข้อความ หรือการใช้ลิงค์สามารถทาได้ ดังนี้ 1. การติดต่อสื่อสารเป็นแบบทางตรงหรือทางอ้อม 2. การติดต่อสื่อสารเป็นแบบสมมาตร (Symmetric) หรือไม่ สมมาตร (Asymmetric) 3. พื้นที่ที่ใช้เก็บข้อความเป็นแบบอัตโนมัติหรือใช้บัฟเฟอร์ เฉพาะแบบ 4. ส่งข้อความแบบสาเนา (Copy) หรือแบบอ้างอิง (Reference) 5. ข้อความมีขนาดคงที่หรือไม่คงที่
  • 5. การตั้งชื่อ (Naming) โปรเซสที่ด้องการติดต่อสื่อสารกัน จาเป็นต้องมีการอ้างถึงซื่อ ของผู้รับและผู้ส่ง ซึ่งการอ้างถึงนี้สามารถทาได้ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม การสื่อสารทางตรง (Direct Communication) การติดต่อแบนนี้จะต้องกาหนดซื่อเฉพาะในการติดต่อทั้งผู้รับ และผู้ส่งลิงค์แบบนี้มีคุณสมบัติคือ 1. ลิงค์จะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ระหว่างโปรเซสทั้งสอง โดยแต่ละโปรเซส ต้องรู้จักซื่อของอีกโปรเซสหนึ่ง 2. ลิงค์ 1 ลิงค์ จะเชื่อมระหว่าง 2 โปรเซสเท่านั้น 3. ลิงค์อาจเป็นแบบลิงค์ทางเดียวหรือลิงค์สองทางก็ได้ แต่ปกติมักเป็น แบบลิงค์สองทาง
  • 6. การสื่อสารทางอ้อม (Indirect Communication) เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสโดยผ่านกล่องจดหมาย (MailBox)หรือผ่านทางพอร์ต (Port)โดยข้อความที่ส่งไปมาระหว่าง โปรเซสจะถูกน่ามาเก็บไว้ในกล่องจดหมายก่อนที่จะส่งไปให้ โปรเซส ผู้รับ กล่องจดหมายแต่ละกล่องจะมีหมายเลขที่ไม่ซ้ากัน ลิงค์แบบนี้มี คุณสมบัติคือ 1. มีการสร้างลิงค์ระหว่างโปรเซส เมื่อโปรเซสมีการร่วมกันใช้กล่อง จดหมาย 2. ลิงค์หนึ่ง ๆ อาจมีความสัมพันธ์กันมากกว่า 2 โปรเซส 3. โปรเซสแต่ละคู่ อาจมีหลายลิงค์ที่แตกต่างกันได้ และแต่ละลิงค์จะ ติดต่อผ่านกล่อง จดหมายเดียว 4. ลิงค์อาจเป็นแบบลิงค์ทางเดียว หรือลิงค์สองทางก็ได้
  • 7. การพักข้อมูล (Buffering) ในการสร้างลิงค์ นอกจากจะต้องกาหนดเส้นทางแล้วยังต้องมีพื้นที่ ส่วนหนึ่งเพื่อใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่งการเก็บข้อมูลนี้จะเก็บในลักษณะของคิว โดยพื้นฐานแล้วคิวนี้มีความจุ 3 รูปแบบคือ 1.ความจุแบบศูนย์ (Zero Capacity) เป็นคิวแบบมีความจุเป็น 0 คือจะไม่มีการเก็บข้อความไว้ในคิวเลย เมื่อคิวได้รับข้อความแล้วจะส่งไปยังปลายทางทันที ในกรณีนี้ผู้ส่งจะต้องรอ จนกว่าผู้รับจะได้รับข้อความ 2.ความจุแบบมีขอบเขต (Bounded Capacity) เป็นคิวที่มีขนาดความจุคงที่ เมื่อใดที่ข้อความยังไม่เต็ม คิวจะรับ ข้อความเข้ามาอยู่ในคิว จนกว่าจะเต็ม เมื่อเต็มแล้วต้องรอจนกว่าจะมีที่ว่าง ข้อความใหม่จึงจะเข้ามาในคิวได้ 3.ความจุแบบไร้ขอบเขต (Unbounded Capacity) เป็นคิวที่มีความจุไม่คงที่สามารถรับข้อความได้ตลอดเวลา ทาให้ผู้ส่ง