SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 48
Baixar para ler offline
• แหล่งสารสนเทศ (Information Sources)
– ความหมาย
– ประเภท
• ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources)
– ความหมาย
– ประเภท
– ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources)
และการเลือกใช้
• การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
• มาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Information Sources”
• บางครั้งอาจเรียกว่า
–แหล่งสารนิเทศ
–แหล่งข้อมูล
–แหล่งค้นคว้า
–แหล่งความรู้
• หมายถึง
• แหล่งที่เกิดสารสนเทศ
• แหล่งผลิตสารสนเทศ และหรือ
• แหล่งที่เป็นศูนย์รวมทรัพยากรสารสนเทศในรูปลักษณ์ที่
หลากหลายไว้ให้บริการ
• โดยมีหน้าที่ต่อสังคมในการให้บริการสารสนเทศและ
ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าแก่ผู้ต้องการสารสนเทศในระดับ
ต่าง ๆ กัน
• หมายถึง
• “แหล่งที่เกิดสารสนเทศ หรือ แหล่งที่เป็นต้นกาเนิดของ
สารสนเทศ
• แหล่งผลิตสารสนเทศ หรือ
• สถานที่ที่รวบรวม จัดเก็บสารสนเทศในหลายรูปแบบไว้ให้
บริการในรูปแบบต่างๆ
• เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าและหาข้อมูลของบุคคลใน
หน่วยงาน และสาธารณชน” (รติรัตน์ มหาทรัพย์, ม.ป.ป., น.1)
• หมายถึง
• แหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใช้ศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
โดยสารสนเทศที่ให้บริการ อาจได้มาจากการรวบรวม
และจัดหาจากสารสนเทศที่มีอยู่เดิม หรือผลิตสารสนเทศ
ขึ้นเอง
• แหล่งสารสนเทศอาจเป็นองค์กร สถานที่ หรือบุคคล แต่เป็น
ที่ นิยมใช้มากในปัจจุบันคือ แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต
(แหล่งสารสนเทศทางการพยาบาล, ม.ป.ป.)
• แหล่งสารนิเทศ (Information Source)
• หมายถึง
• “แหล่งที่จัดหา และรวบรวมทรัพยากรสารนิเทศประเภทต่าง ๆ
เพื่อให้บริการต่อผู้ใช้” (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชา
บรรณารักษศาสตร์, 2552, น.12)
หมายถึง
• แหล่งที่เกิดสารสนเทศ หรือ แหล่งที่เป็นต้นกาเนิดของสารสนเทศ
• แหล่งผลิตสารสนเทศ หรือ
• แหล่งที่รวบรวม จัดเก็บ และให้บริการทรัพยากรสารสนเทศใน
หลากหลายรูปแบบ
• โดยมีหน้าที่ในการส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าและการทาวิจัยให้แก่คน
ในสังคม
• อนึ่งแหล่งสารสนเทศอาจเป็น องค์กร สถานที่ หรือ บุคคล แต่ที่
นิยมใช้มากในปัจจุบันคือ แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต
(แนวคิดผู้สอน)
• รติรัตน์ มหาทรัพย์ (ม.ป.ป.) แบ่งแหล่งสารสนเทศ เป็น 4
ประเภท คือ
1. แหล่งสารสนเทศบุคคล
2. แหล่งสารสนเทศหน่วยงานบริการสารสนเทศ
3. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน
4. แหล่งสารสนเทศอื่น
• และจากเอกสารอื่นๆ อาทิ อาภากร ธาตุโลหะ (2551), จาก
เอกสารชื่อบทที่ 1 คุณค่าในการใฝ่หาความรู้ (ม.ป.ป.) ฯลฯ
• สรุปรายละเอียดของประเภทแหล่งสารสนเทศ ได้ดังนี้
1. แหล่งสารสนเทศบุคคล
- คือ บุคคลที่สะสมความรู้ ความคิด และประสบการณ์ จนสามารถถ่ายทอด
ความรู้ให้กับผู้อื่นได้
- ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา นักวิชาการสาขาวิชาต่างๆ
- ตัวอย่างเช่น
-นางขวัญจิต ศรีประจันต์ ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านเพลงพื้นบ้าน จ.สุพรรณบุรี
-นายวิบูลย์ เข็มเฉลิม อาชีพเกษตรกรใน จ.ฉะเชิงเทรา ปราชญ์ชาวบ้านในด้าน
การเกษตรผสมผสาน
-ศ.นายแพทย์ประเวศ วะสี นักวิชาการด้านภูมิปัญญาชาวบ้านและวิถีชาวบ้าน
-แพทย์หญิง คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันทน์ นักวิชาการด้านนิติเวชวิทยา
- วิธีการเข้าถึงสารสนเทศ: ไปพบปะ และสนทนาขอความรู้
2. แหล่งสารสนเทศหน่วยงานบริการสารสนเทศ/สถาบัน
- จัดตั้งขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ เอกชน สมาคม หรือ
องค์การระหว่างประเทศ
- มีหน้าที่สาคัญในการจัดหา รวบรวม วิเคราะห์ จัดเก็บ และให้บริการ
สารสนเทศตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด
- แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ
1) ห้องสมุด 2) ศูนย์สารสนเทศ
3) หน่วยงานสถิติหรือหน่วยทะเบียนสถิติ 4) หอจดหมายเหตุ
2.1 ห้องสมุด (Library)
- สถานที่รวบรวมและให้บริการสรรพวิทยาการต่างๆ ในหลากหลาย
รูปแบบ
- มีบรรณารักษ์เป็นผู้บริหารงาน และดาเนินงานต่าง ๆ
- เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุด
- แบ่งออกเป็น หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน
ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดเฉพาะ และ
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ)
2.1.1 หอสมุดแห่งชาติ (National Libraries) คือ
- หอสมุดประจาชาติ
- หน้าที่หลักที่สาคัญ คือ เก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ
ทุกประเภทที่ผลิตขึ้นในประเทศนั้นๆ
- เป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศที่สาคัญของชาติ เช่น ศิลาจารึก
เอกสารประวัติศาสตร์ พงศาวดาร ต้นฉบับตัวเขียน ฯลฯ
- เช่น สานักหอสมุดแห่งชาติ (http://www.nlt.go.th/th_index.htm)
ตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ และยังมีหอสมุดแห่งชาติสาขา
อยู่บางจังหวัด (เช่นเชียงใหม่ นครราชสีมา ฯลฯ)
2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ)
2.1.2 ห้องสมุดประชาชน (Public Libraries) คือ
- ให้บริการสารสนเทศแก่ประชาชนทั่วไป โดยไม่จากัด เพศ วัย
เชื้อชาติ ศาสนา ระดับการศึกษา
- หน้าที่ส่งเสริมการอ่านแก่ชุมชน ให้การศึกษาต่อเนื่อง
- เช่น TK Park
(http://www.tkpark.or.th/tk/index.php?lang=th)
ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ซอยพระนาง ฯลฯ
2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ)
2.1.3 ห้องสมุดโรงเรียน (school libraries)
- คือ แหล่งสารสนเทศที่จัดตั้งขึ้นในโรงเรียนประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา
- บางแห่งจัดห้องสมุดเป็นศูนย์ของสื่อการเรียนการสอนด้วย
- รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ไว้ให้ครูและ
นักเรียน ไว้ศึกษาค้นคว้า
- หน้าที่ปลูกฝังนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียน และการใฝ่หาความรู้
ด้วยตนเองให้แก่เยาวชน
2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ)
2.1.4 ห้องสมุดเฉพาะ (Special Libraries)
- คือ ห้องสมุดซึ่งจัดขึ้นในหน่วยงาน องค์การ บริษัท สมาคม
- เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะสาขาวิชา หรือบุคลากรของหน่วยงาน
- เป็นแหล่งสะสมสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน
นั้น ๆ
- เช่น หอสมุดและจดหมายเหตุ ธนาคารแห่งประเทศไทย
(http://www.bot.or.th/Thai/LibraryAndArchives/Pages/Library.aspx)
ห้องสมุดกรมวิทยาศาสตร์บริการ
ฯลฯ
2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ)
2.1.5 ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย(College and University
Libraries)
- จัดตั้งในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา อาจมีห้องสมุดกลาง
เพียงแห่งเดียว หรือมีห้องสมุดประจาคณะวิชาต่างๆ ด้วย
- มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการศึกษา
ค้นคว้าวิจัยของอาจารย์ นักศึกษาและข้าราชการในสถาบัน
นั้น ๆ
- บริการที่มีในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่
1.1) บริการให้ยืมและรับคืน หรือบริการจ่าย-รับ (CirculationServices)
1.2) บริการหนังสือสารอง (Reserved Books Services)
2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ)
2.1.5 ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย (College and University Libraries)
1.3) บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้าหรือบริการสารสนเทศ
(Reference and Information Services)
1.4) บริการสืบค้นสารสนเทศ (Information RetrievalServices) ได้แก่
Web OPAC, Online Retrieval Services
1.5) บริการยืมระหว่างห้องสมุด (Inter-library Loan Services)
1.6) บริการโสตทัศนวัสดุ (Audio – Visual Materials Services)
1.7) บริการข่าวสารทันสมัย ( Current Awareness Services) เช่น
แจ้งรายการสิ่งพิมพ์ใหม่ ข่าวสารห้องสมุด เป็นต้น
1.8) บริการถ่ายสาเนาเอกสาร ( Photocopies Services)
2.2 ศูนย์สารสนเทศ (Information Center)
- เป็นหน่วยงานบริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชาหรือเฉพาะเรื่อง
- มีหน้าที่คัดเลือก วิเคราะห์ รวบรวม เรียบเรียง จัดรูปแบบสารสนเทศ
หรือปรับแต่งสารสนเทศขึ้นใหม่ เพื่อความรวดเร็ว ตรงกับความต้องการ
ของผู้ใช้มากที่สุด และทันต่อกระแสการเพิ่มปริมาณสารสนเทศในปัจจุบัน
- มีชื่อเรียกต่างๆกัน เช่น ศูนย์สารนิเทศ ศูนย์เอกสาร ศูนย์บริการเอกสาร
ศูนย์ข้อมูล ศูนย์ข่าวสาร ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศ
ศูนย์แนะแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น
- มีนักสารสนเทศที่มีความรู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา เป็นผู้ดาเนินงานและให้บริการ
- เช่น ศูนย์สนเทศทางการเกษตรแห่งชาติ (http://thaiagris.lib.ku.ac.th/)
ศูนย์เอกสารประเทศไทย (http://www.car.chula.ac.th/aboutus/9/)
ศูนย์ข้อมูลสมุนไพร (http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_herbal/)
2.3 หน่วยงานสถิติหรือหน่วยทะเบียนสถิติ (Statistical Office)
- เป็นหน่วยงานที่รวบรวม จัดเก็บ ข้อมูลทางสถิติตัวเลขต่าง ๆ เป็นตัวเลข
เฉพาะด้านหรือเฉพาะสาขาวิชา
- อาจเป็นหน่วยงานที่สังกัดอยู่ในกระทรวง ทบวง กรม เพื่อรวบรวมสถิติ
เฉพาะภายในหน่วยงาน
- เช่น สถิติการค้าไทย สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
(http://www2.ops3.moc.go.th/)
สานักงานสถิติแห่งชาติ (http://www.nso.go.th/)
2.4 หอจดหมายเหตุ (Archives Center)
- เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่รวบรวม จัดเก็บและอนุรักษ์ เอกสารและวัสดุทาง
ประวัติศาสตร์ของหน่วยงาน หรือของท้องถิ่น หรือประเทศ
- เพื่อแสดงประวัติ พัฒนาการ และการดาเนินงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชน
ใช้อ้างอิงในการปฏิบัติหน้าที่ และการค้นคว้าวิจัย รวมทั้งเป็นมรดก
ทางวัฒนธรรม
เช่น หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
(http://www.nat.go.th/web/history.html)
หอจดหมายเหตุของธนาคารแห่งประเทศไทย
ฯลฯ
3. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน
เป็นแหล่งสารสนเทศที่มุ่งเผยแพร่สารสนเทศ ข่าวสาร เหตุการณ์ ต่อ
มวลชนส่วนใหญ่
เน้นข่าวสารเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ๆ รวมทั้งสาระความรู้ในเรื่องต่างๆ
ที่เป็นประโยชน์
ใช้การถ่ายทอดสารสนเทศในรูปของการกระจายเสียง ภาพและ
ตัวอักษร
โดยผ่านสื่อประเภท โทรทัศน์ วิทยุและหนังสือพิมพ์ รวมทั้ง
ฐานข้อมูลข่าวและข่าวของหนังสือพิมพ์บนอินเทอร์เน็ต
เช่น รายการใจดีสู้สื่อ ของ Thai PBS เป็นต้น
4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ ได้แก่
4.1 สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
4.2 หน่วยงานภาครัฐ
4.3 หน่วยงานภาคเอกชน
4.4 สถานที่ที่เป็นต้นแหล่งสารสนเทศ (เช่น พิพิธภัณฑ์ วัดและศาสนสถาน)
4.5 อินเทอร์เน็ต
4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ (ต่อ)
4.1 สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่
- หน่วยงานที่ทาหน้าที่ด้านการเรียนการสอน
- หน่วยงานที่ทาหน้าที่ด้านการวิจัยและกิจกรรมทางวิชาการ
- หน่วยงานบริการทางวิชาการแก่สังคม
- หน่วยงานจัดพิมพ์และจาหน่ายสิ่งพิมพ์
4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ (ต่อ)
4.2 หน่วยงานภาครัฐ
เป็นหน่วยงานที่มีกิจกรรมการผลิตและเผยแพร่สารสนเทศ ตั้งแต่หน่วยงาน
ระดับกระทรวง กรม กอง รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์การอิสระ
และองค์การระหว่างประเทศ
4.3 หน่วยงานภาคเอกชน
เป็นหน่วยงานประเภท สมาคมทางวิชาชีพและวิชาการ มูลนิธิ ธนาคาร
โรงพยาบาล บริษัทที่ทาธุรกิจสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เป็นต้น
4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ (ต่อ)
4.4 สถานที่ที่เป็นต้นแหล่งสารสนเทศ
เช่น พิพิธภัณฑ์ วัดและศาสนสถาน โบราณสถาน อนุสาวรีย์
อุทยานแห่งชาติต่าง ๆ เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
4.5 อินเทอร์เน็ต
เป็นแหล่งสารสนเทศทีมีความสาคัญในปัจจุบัน แต่ผู้ที่ใช้สารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ตต้องทราบวิธีการค้นหา และให้ความสาคัญกับการ
ประเมินคุณภาพของข้อมูลที่เผยแพร่
• ความหมาย
• ประเภทและประโยชน์
• ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง
(Reference Resources) และการเลือกใช้
• Information Resources
• บางครั้งเรียก “ทรัพยากรห้องสมุด (Library Resources)”
“วัสดุห้องสมุด (Library Materials)”
• คือ
สื่อที่ใช้ในการบันทึกความรู้ เรื่องราวต่างๆ หรือ
สื่อที่ใช้ในการบันทึกสารสนเทศ หรือ
วัสดุที่บันทึกสารสนเทศ
ซึ่งห้องสมุดจะจัดหา จัดเก็บ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ
เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุด
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
• แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-Printed Resources)
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
• 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
1.1 หนังสือ (Books)
1.1.1 หนังสือบันเทิงคดี (Fictions)
1.1.2 หนังสือสารคดี (Non-Fictions)
ก. หนังสือความรู้ทั่วไป (general books)
ข. ตาราวิชาการ (text books)
ค. หนังสืออ้างอิง (reference books) หรือ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources)
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
• 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) (ต่อ)
1.1 หนังสือ (Books) (ต่อ)
ค. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources)
1) พจนานุกรม (Dictionaries)
2) สารานุกรม (Encyclopedias)
3) หนังสือรายปี (Yearbook)
4) อักขรานุกรมชีวประวัติ (Bibliographic dictionaries)
5) นามานุกรม (Directories)
6) แหล่งสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Sources)
7) หนังสือคู่มือ (Handbooks)
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
ความหมาย “ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources)”
* ทรัพยากรสารสนเทศ ที่รวบรวมข้อเท็จจริงจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
* จัดทาขึ้นเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงบางเรื่องที่ต้องการ ไม่มุ่งหมายจะอ่าน/ใช้เนื้อหาทั้งหมดที่
มี จะอ่านเฉพาะส่วน หรือ ตอนที่ตอบคาถามเท่านั้น
* ตัวอย่างเช่น อยากทราบความหมายของคาว่า “เบญจางคประดิษฐ์” ก็จะเปิด
พจนานุกรมไทยดูที่ คาว่า “เบญจางคประดิษฐ์” เท่านั้น โดยไม่เปิดดูความหมาย
ของศัพท์อื่น ๆ
* จัดเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เพื่อสะดวกในการค้นหาข้อมูล
* จัดทาทั้งในรูปของทรัพยากรตีพิมพ์ และทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์
* ถ้าเป็นหนังสืออ้างอิง (ในรูปเล่มหนังสือ) ไม่อนุญาต
ให้ยืมออกนอกห้องสมุด
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
1. พจนานุกรม (Dictionaries)
รวบรวมคาตามลาดับอักษรและให้ข้อมูลเกี่ยวกับคา :
- ตัวสะกด
- วิธีอ่านคาที่ถูกต้อง
- ชนิดของคา
- ประวัติที่มาของคา
- ความหมายของคาในภาษาเดียวกัน
- ความหมายของคาจากภาษาหนึ่งไปอีก ภาษาหนึ่ง
1. พจนานุกรม (Dictionaries) (ต่อ)
เช่น
New Model English-Thai Dictionary
พจนานุกรมญี่ปุ่น-ไทย-อังกฤษ
Merriam-Webster Dictionary
(http://www.merriam-webster.com)
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
(http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp)
LEXITRON: Thai-English Electronic Dictionary
(http://lexitron.nectec.or.th/2009_1/)
2. สารานุกรม (Encyclopedias)
• ให้สารสนเทศสารพัดอย่างในรูปของบทความ
• ครอบคลุมเนื้อหาสาระในสาขาวิชาต่าง ๆ และเรื่องราวที่น่าสนใจ
อย่างกว้างขวางตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
• มีการจัดเรียงเนื้อหาอย่างมีระบบ ซึ่งมักเรียงตามลาดับอักษรของ
หัวข้อวิชา
• มีดรรชนีช่วยค้นเรื่องอย่างละเอียด
• เช่น
2. สารานุกรม (Encyclopedias) (ต่อ)
Encyclopedia.com
(http://www.encyclopedia.com)
Grolier Online
(http://go-passport.grolier.com)
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(http://th.wikipedia.org/wiki/Main_Page)
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(http://kanchanapisek.or.th/kp6/GENERAL/encyclopedia/saranugrom
.htm)
3. หนังสือรายปี (Yearbook)
* มีกาหนดออกเป็นรายปี
* ให้สารสนเทศใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา
* เป็นข้อเท็จจริง สถิติ ข่าวสารความเคลื่อนไหว
แนวโน้ม ใน สาขาวิชา ประเทศ องค์กร/
หน่วยงาน
เช่น
รายงานประจาปี (Annual Report)
จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงาน และรายงาน
ความก้าวหน้าของการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาของหน่วยงาน
ต่างๆ
3. หนังสือรายปี (Yearbook) (ต่อ)
ตัวอย่างหนังสือรายปี
รายงานประจาปีของธนาคารไทยพาณิชย์
(http://www.scb.co.th/th/getfile/14/annual)
Information Please Almanac
(http://www.infoplease.com/almanacs.html)
4. อักขรานุกรมชีวประวัติ (Bibliographic dictionaries)
รวบรวมประวัติบุคคลสาคัญหลายคนไว้ในชื่อเรื่องเดียวกัน
+ บุคคลที่ทาคุณประโยชน์ต่อสังคมด้านต่างๆ เช่น ผู้นา
ประเทศ/ทหาร/ศาสนา นักวิทยาศาสตร์ นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ
+ บุคคลในสังคมชั้นสูง เช่น กษัตริย์ ราชินี พระบรมวงศานุ
วงศ์ ขุนนาง ฯลฯ
* รายละเอียด: ปีเกิด-ปีตาย สถานที่เกิด การศึกษา
สถานภาพการสมรส อาชีพ ผลงานดีเด่น หน้าที่การงาน
เช่น biography.com (http://www.biography.com/)
5. นามานุกรม (Directories)
* อาจเรียกว่า ทาเนียบนาม หรือนามสงเคราะห์
* รวบรวมรายชื่อบุคคล ชื่อสถาบัน หน่วยงาน องค์การ
ห้างร้าน
* ใช้ประโยชน์ในการหาชื่อหน่วยงานและสถานที่ติดต่อ
* เช่น
นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย 2556
(http://gphone.prd.go.th/)
TOT Phonebook
(http://phonebook.tot.co.th/wss/)
6. แหล่งสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Sources)
ใช้ค้นหารายละเอียดพอสังเขปเกี่ยวกับชื่อและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ทั่ว
โลก ทั้งที่เป็นสถานที่เกิดเองตามธรรมชาติ (เช่น น้าตก ภูเขา) และสถานที่ที่มนุษย์
เป็นผู้สร้าง (เช่น พิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะ) ตัวอย่างคาถาม เช่น ความยาวของแม่น้า
ไนล์ หรือ หอไอเฟลอยู่ในประเทศใด สูงเท่าไหร่ มีประวัติความเป็นมาอย่างไร
หรือข้อมูลต่างๆ ที่มีประโยชน์ต่อการท่องเที่ยว
หรือตาแหน่งที่ตั้งของชื่อทางภูมิศาสตร์ แสดงอาณาเขตของประเทศและ
เมือง ลักษณะทางกายภาพของส่วนต่าง ๆ ของโลก เป็นต้น
เช่น อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)
(http://www.royin.go.th/akara/home/index.php)
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
(http://thai.tourismthailand.org/)
7. หนังสือคู่มือ (Handbooks)
* รวบรวมสารสนเทศและความรู้เบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
หรือสาขาใดสาขาหนึ่ง
* ให้สารสนเทศอย่างสั้นกะทัดรัด สามารถใช้ตอบคาถามได้ทันที หรือ
นาความรู้เหล่านั้นไปใช้เป็นประโยชน์ในทางปฏิบัติได้
* เช่น
Guinness Book of Records
(http://www.guinnessworldrecords.com/)
Familiar Quotations (http://www.bartleby.com/100)
• 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) (ต่อ)
1.2 สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials)
1.2.1 วารสาร (journals/periodicals)
1.2.2 นิตยสาร (Magazines)
1.2.3 หนังสือพิมพ์ (Newspapers)
1.2.4 หนังสือรายปี (Yearbooks)
1.3 จุลสาร (Pamphlets)
1.4 กฤตภาค (Clippings)
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
• 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) (ต่อ)
1.5 รายงานการวิจัย (Research Reports)
1.6 วิทยานิพนธ์ (Theses or Dissertations)
1.7 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publications)
1.8 รายงานการประชุมทางวิชาการ (Conference
Reports or Conference Proceedings)
1.9 สิ่งพิมพ์อื่น ๆ อาทิ หนังสือตัวเขียน สิทธิบัตร
มาตรฐาน ฯลฯ
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-Printed Resources)
2.1 โสตวัสดุ (Audio Materials)
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual Materials)
1) วัสดุกราฟิก (Graphic Materials)
2) วัสดุ 3 มิติ (Three-Dimension Materials)
3) วัสดุโปร่งแสงและทึบแสง
4) วัสดุย่อส่วน (Microforms)
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audiovisual Materials)
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
3.1 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-books)
3.2 วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-journals/e-magazines)
3.3 หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (e-newspapers)
3.4 ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
1. ฐานข้อมูลรายการบรรณานุกรมออนไลน์
(OPAC : Online Public Access Catalog)
2. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
3. ฐานข้อมูลซีดีรอม (CD-ROM database)
4. อินเทอร์เน็ต (Internet)
1. ซีดีรอม
2. ฐานข้อมูล
ออนไลน์
3. สิ่งพิมพ์
อิเล็กทรอนิกส์
(e-Book
e-Journal
e-Newspaper)
ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
1. มีความสะดวกในการเข้าใช้
2. เป็นแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ ถ้าเป็นทรัพยากรสารสนเทศ
ดูที่ผู้เขียน/ผู้จัดทา/ผู้ผลิต
3. เนื้อหามีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้อง ชัดเจน และทันสมัย
4. มีความสอดคล้องกับลักษณะของเนื้อหาสารสนเทศที่ต้องการ
*******************
บรรณานุกรม
รติรัตน์ มหาทรัพย์. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอน เรื่องแหล่งสารสนเทศ
และการเลือกใช้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัด
สาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์. (2555). เอกสารคาสอนวิชาทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทอ้างอิง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัด
สาเนา).
อาภากร ธาตุโลหะ. (2551). ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า (พิมพ์ครั้งที่
2). ชลบุรี: พี. เค. กราฟฟิค.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 

Mais procurados (20)

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 

Destaque

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 

Destaque (20)

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 

Semelhante a หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ

ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศnok_waraporn
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information servicesKKU Library
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์Humanities Information Center
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243KKU Library
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...Satapon Yosakonkun
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference serviceKKU Library
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference serviceeden95487
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
แผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่นแผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่นAlich Chomsuntia
 
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษาแนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 

Semelhante a หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ (20)

Service kku
Service kkuService kku
Service kku
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information services
 
Collection Development
Collection DevelopmentCollection Development
Collection Development
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
 
Library
LibraryLibrary
Library
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Present 11 มีนา 53
Present 11 มีนา 53Present 11 มีนา 53
Present 11 มีนา 53
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
V 268
V 268V 268
V 268
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553
 
แผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่นแผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แผ่นพับบริการสำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษาแนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
 
MOU-art-hic-chula-stks-nstda
MOU-art-hic-chula-stks-nstdaMOU-art-hic-chula-stks-nstda
MOU-art-hic-chula-stks-nstda
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 

Mais de Srion Janeprapapong

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

Mais de Srion Janeprapapong (14)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ

  • 1.
  • 2. • แหล่งสารสนเทศ (Information Sources) – ความหมาย – ประเภท • ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) – ความหมาย – ประเภท – ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources) และการเลือกใช้ • การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
  • 3. • มาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Information Sources” • บางครั้งอาจเรียกว่า –แหล่งสารนิเทศ –แหล่งข้อมูล –แหล่งค้นคว้า –แหล่งความรู้
  • 4. • หมายถึง • แหล่งที่เกิดสารสนเทศ • แหล่งผลิตสารสนเทศ และหรือ • แหล่งที่เป็นศูนย์รวมทรัพยากรสารสนเทศในรูปลักษณ์ที่ หลากหลายไว้ให้บริการ • โดยมีหน้าที่ต่อสังคมในการให้บริการสารสนเทศและ ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าแก่ผู้ต้องการสารสนเทศในระดับ ต่าง ๆ กัน
  • 5. • หมายถึง • “แหล่งที่เกิดสารสนเทศ หรือ แหล่งที่เป็นต้นกาเนิดของ สารสนเทศ • แหล่งผลิตสารสนเทศ หรือ • สถานที่ที่รวบรวม จัดเก็บสารสนเทศในหลายรูปแบบไว้ให้ บริการในรูปแบบต่างๆ • เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าและหาข้อมูลของบุคคลใน หน่วยงาน และสาธารณชน” (รติรัตน์ มหาทรัพย์, ม.ป.ป., น.1)
  • 6. • หมายถึง • แหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใช้ศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยสารสนเทศที่ให้บริการ อาจได้มาจากการรวบรวม และจัดหาจากสารสนเทศที่มีอยู่เดิม หรือผลิตสารสนเทศ ขึ้นเอง • แหล่งสารสนเทศอาจเป็นองค์กร สถานที่ หรือบุคคล แต่เป็น ที่ นิยมใช้มากในปัจจุบันคือ แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต (แหล่งสารสนเทศทางการพยาบาล, ม.ป.ป.)
  • 7. • แหล่งสารนิเทศ (Information Source) • หมายถึง • “แหล่งที่จัดหา และรวบรวมทรัพยากรสารนิเทศประเภทต่าง ๆ เพื่อให้บริการต่อผู้ใช้” (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชา บรรณารักษศาสตร์, 2552, น.12)
  • 8. หมายถึง • แหล่งที่เกิดสารสนเทศ หรือ แหล่งที่เป็นต้นกาเนิดของสารสนเทศ • แหล่งผลิตสารสนเทศ หรือ • แหล่งที่รวบรวม จัดเก็บ และให้บริการทรัพยากรสารสนเทศใน หลากหลายรูปแบบ • โดยมีหน้าที่ในการส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าและการทาวิจัยให้แก่คน ในสังคม • อนึ่งแหล่งสารสนเทศอาจเป็น องค์กร สถานที่ หรือ บุคคล แต่ที่ นิยมใช้มากในปัจจุบันคือ แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต (แนวคิดผู้สอน)
  • 9. • รติรัตน์ มหาทรัพย์ (ม.ป.ป.) แบ่งแหล่งสารสนเทศ เป็น 4 ประเภท คือ 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล 2. แหล่งสารสนเทศหน่วยงานบริการสารสนเทศ 3. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน 4. แหล่งสารสนเทศอื่น • และจากเอกสารอื่นๆ อาทิ อาภากร ธาตุโลหะ (2551), จาก เอกสารชื่อบทที่ 1 คุณค่าในการใฝ่หาความรู้ (ม.ป.ป.) ฯลฯ • สรุปรายละเอียดของประเภทแหล่งสารสนเทศ ได้ดังนี้
  • 10. 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล - คือ บุคคลที่สะสมความรู้ ความคิด และประสบการณ์ จนสามารถถ่ายทอด ความรู้ให้กับผู้อื่นได้ - ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา นักวิชาการสาขาวิชาต่างๆ - ตัวอย่างเช่น -นางขวัญจิต ศรีประจันต์ ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านเพลงพื้นบ้าน จ.สุพรรณบุรี -นายวิบูลย์ เข็มเฉลิม อาชีพเกษตรกรใน จ.ฉะเชิงเทรา ปราชญ์ชาวบ้านในด้าน การเกษตรผสมผสาน -ศ.นายแพทย์ประเวศ วะสี นักวิชาการด้านภูมิปัญญาชาวบ้านและวิถีชาวบ้าน -แพทย์หญิง คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันทน์ นักวิชาการด้านนิติเวชวิทยา - วิธีการเข้าถึงสารสนเทศ: ไปพบปะ และสนทนาขอความรู้
  • 11. 2. แหล่งสารสนเทศหน่วยงานบริการสารสนเทศ/สถาบัน - จัดตั้งขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ เอกชน สมาคม หรือ องค์การระหว่างประเทศ - มีหน้าที่สาคัญในการจัดหา รวบรวม วิเคราะห์ จัดเก็บ และให้บริการ สารสนเทศตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด - แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ 1) ห้องสมุด 2) ศูนย์สารสนเทศ 3) หน่วยงานสถิติหรือหน่วยทะเบียนสถิติ 4) หอจดหมายเหตุ
  • 12. 2.1 ห้องสมุด (Library) - สถานที่รวบรวมและให้บริการสรรพวิทยาการต่างๆ ในหลากหลาย รูปแบบ - มีบรรณารักษ์เป็นผู้บริหารงาน และดาเนินงานต่าง ๆ - เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุด - แบ่งออกเป็น หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดเฉพาะ และ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
  • 13. 2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ) 2.1.1 หอสมุดแห่งชาติ (National Libraries) คือ - หอสมุดประจาชาติ - หน้าที่หลักที่สาคัญ คือ เก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ ทุกประเภทที่ผลิตขึ้นในประเทศนั้นๆ - เป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศที่สาคัญของชาติ เช่น ศิลาจารึก เอกสารประวัติศาสตร์ พงศาวดาร ต้นฉบับตัวเขียน ฯลฯ - เช่น สานักหอสมุดแห่งชาติ (http://www.nlt.go.th/th_index.htm) ตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ และยังมีหอสมุดแห่งชาติสาขา อยู่บางจังหวัด (เช่นเชียงใหม่ นครราชสีมา ฯลฯ)
  • 14. 2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ) 2.1.2 ห้องสมุดประชาชน (Public Libraries) คือ - ให้บริการสารสนเทศแก่ประชาชนทั่วไป โดยไม่จากัด เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ระดับการศึกษา - หน้าที่ส่งเสริมการอ่านแก่ชุมชน ให้การศึกษาต่อเนื่อง - เช่น TK Park (http://www.tkpark.or.th/tk/index.php?lang=th) ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ซอยพระนาง ฯลฯ
  • 15. 2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ) 2.1.3 ห้องสมุดโรงเรียน (school libraries) - คือ แหล่งสารสนเทศที่จัดตั้งขึ้นในโรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษา - บางแห่งจัดห้องสมุดเป็นศูนย์ของสื่อการเรียนการสอนด้วย - รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ไว้ให้ครูและ นักเรียน ไว้ศึกษาค้นคว้า - หน้าที่ปลูกฝังนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียน และการใฝ่หาความรู้ ด้วยตนเองให้แก่เยาวชน
  • 16. 2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ) 2.1.4 ห้องสมุดเฉพาะ (Special Libraries) - คือ ห้องสมุดซึ่งจัดขึ้นในหน่วยงาน องค์การ บริษัท สมาคม - เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะสาขาวิชา หรือบุคลากรของหน่วยงาน - เป็นแหล่งสะสมสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน นั้น ๆ - เช่น หอสมุดและจดหมายเหตุ ธนาคารแห่งประเทศไทย (http://www.bot.or.th/Thai/LibraryAndArchives/Pages/Library.aspx) ห้องสมุดกรมวิทยาศาสตร์บริการ ฯลฯ
  • 17. 2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ) 2.1.5 ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย(College and University Libraries) - จัดตั้งในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา อาจมีห้องสมุดกลาง เพียงแห่งเดียว หรือมีห้องสมุดประจาคณะวิชาต่างๆ ด้วย - มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการศึกษา ค้นคว้าวิจัยของอาจารย์ นักศึกษาและข้าราชการในสถาบัน นั้น ๆ - บริการที่มีในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ 1.1) บริการให้ยืมและรับคืน หรือบริการจ่าย-รับ (CirculationServices) 1.2) บริการหนังสือสารอง (Reserved Books Services)
  • 18. 2.1 ห้องสมุด (Library) (ต่อ) 2.1.5 ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย (College and University Libraries) 1.3) บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้าหรือบริการสารสนเทศ (Reference and Information Services) 1.4) บริการสืบค้นสารสนเทศ (Information RetrievalServices) ได้แก่ Web OPAC, Online Retrieval Services 1.5) บริการยืมระหว่างห้องสมุด (Inter-library Loan Services) 1.6) บริการโสตทัศนวัสดุ (Audio – Visual Materials Services) 1.7) บริการข่าวสารทันสมัย ( Current Awareness Services) เช่น แจ้งรายการสิ่งพิมพ์ใหม่ ข่าวสารห้องสมุด เป็นต้น 1.8) บริการถ่ายสาเนาเอกสาร ( Photocopies Services)
  • 19. 2.2 ศูนย์สารสนเทศ (Information Center) - เป็นหน่วยงานบริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชาหรือเฉพาะเรื่อง - มีหน้าที่คัดเลือก วิเคราะห์ รวบรวม เรียบเรียง จัดรูปแบบสารสนเทศ หรือปรับแต่งสารสนเทศขึ้นใหม่ เพื่อความรวดเร็ว ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้มากที่สุด และทันต่อกระแสการเพิ่มปริมาณสารสนเทศในปัจจุบัน - มีชื่อเรียกต่างๆกัน เช่น ศูนย์สารนิเทศ ศูนย์เอกสาร ศูนย์บริการเอกสาร ศูนย์ข้อมูล ศูนย์ข่าวสาร ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศ ศูนย์แนะแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น - มีนักสารสนเทศที่มีความรู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา เป็นผู้ดาเนินงานและให้บริการ - เช่น ศูนย์สนเทศทางการเกษตรแห่งชาติ (http://thaiagris.lib.ku.ac.th/) ศูนย์เอกสารประเทศไทย (http://www.car.chula.ac.th/aboutus/9/) ศูนย์ข้อมูลสมุนไพร (http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_herbal/)
  • 20. 2.3 หน่วยงานสถิติหรือหน่วยทะเบียนสถิติ (Statistical Office) - เป็นหน่วยงานที่รวบรวม จัดเก็บ ข้อมูลทางสถิติตัวเลขต่าง ๆ เป็นตัวเลข เฉพาะด้านหรือเฉพาะสาขาวิชา - อาจเป็นหน่วยงานที่สังกัดอยู่ในกระทรวง ทบวง กรม เพื่อรวบรวมสถิติ เฉพาะภายในหน่วยงาน - เช่น สถิติการค้าไทย สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ (http://www2.ops3.moc.go.th/) สานักงานสถิติแห่งชาติ (http://www.nso.go.th/)
  • 21. 2.4 หอจดหมายเหตุ (Archives Center) - เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่รวบรวม จัดเก็บและอนุรักษ์ เอกสารและวัสดุทาง ประวัติศาสตร์ของหน่วยงาน หรือของท้องถิ่น หรือประเทศ - เพื่อแสดงประวัติ พัฒนาการ และการดาเนินงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชน ใช้อ้างอิงในการปฏิบัติหน้าที่ และการค้นคว้าวิจัย รวมทั้งเป็นมรดก ทางวัฒนธรรม เช่น หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ (http://www.nat.go.th/web/history.html) หอจดหมายเหตุของธนาคารแห่งประเทศไทย ฯลฯ
  • 22. 3. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน เป็นแหล่งสารสนเทศที่มุ่งเผยแพร่สารสนเทศ ข่าวสาร เหตุการณ์ ต่อ มวลชนส่วนใหญ่ เน้นข่าวสารเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ๆ รวมทั้งสาระความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ ใช้การถ่ายทอดสารสนเทศในรูปของการกระจายเสียง ภาพและ ตัวอักษร โดยผ่านสื่อประเภท โทรทัศน์ วิทยุและหนังสือพิมพ์ รวมทั้ง ฐานข้อมูลข่าวและข่าวของหนังสือพิมพ์บนอินเทอร์เน็ต เช่น รายการใจดีสู้สื่อ ของ Thai PBS เป็นต้น
  • 23. 4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ ได้แก่ 4.1 สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน 4.2 หน่วยงานภาครัฐ 4.3 หน่วยงานภาคเอกชน 4.4 สถานที่ที่เป็นต้นแหล่งสารสนเทศ (เช่น พิพิธภัณฑ์ วัดและศาสนสถาน) 4.5 อินเทอร์เน็ต
  • 24. 4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ (ต่อ) 4.1 สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ - หน่วยงานที่ทาหน้าที่ด้านการเรียนการสอน - หน่วยงานที่ทาหน้าที่ด้านการวิจัยและกิจกรรมทางวิชาการ - หน่วยงานบริการทางวิชาการแก่สังคม - หน่วยงานจัดพิมพ์และจาหน่ายสิ่งพิมพ์
  • 25. 4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ (ต่อ) 4.2 หน่วยงานภาครัฐ เป็นหน่วยงานที่มีกิจกรรมการผลิตและเผยแพร่สารสนเทศ ตั้งแต่หน่วยงาน ระดับกระทรวง กรม กอง รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์การอิสระ และองค์การระหว่างประเทศ 4.3 หน่วยงานภาคเอกชน เป็นหน่วยงานประเภท สมาคมทางวิชาชีพและวิชาการ มูลนิธิ ธนาคาร โรงพยาบาล บริษัทที่ทาธุรกิจสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เป็นต้น
  • 26. 4. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ (ต่อ) 4.4 สถานที่ที่เป็นต้นแหล่งสารสนเทศ เช่น พิพิธภัณฑ์ วัดและศาสนสถาน โบราณสถาน อนุสาวรีย์ อุทยานแห่งชาติต่าง ๆ เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ 4.5 อินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งสารสนเทศทีมีความสาคัญในปัจจุบัน แต่ผู้ที่ใช้สารสนเทศบน อินเทอร์เน็ตต้องทราบวิธีการค้นหา และให้ความสาคัญกับการ ประเมินคุณภาพของข้อมูลที่เผยแพร่
  • 27. • ความหมาย • ประเภทและประโยชน์ • ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources) และการเลือกใช้
  • 28. • Information Resources • บางครั้งเรียก “ทรัพยากรห้องสมุด (Library Resources)” “วัสดุห้องสมุด (Library Materials)” • คือ สื่อที่ใช้ในการบันทึกความรู้ เรื่องราวต่างๆ หรือ สื่อที่ใช้ในการบันทึกสารสนเทศ หรือ วัสดุที่บันทึกสารสนเทศ ซึ่งห้องสมุดจะจัดหา จัดเก็บ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุด
  • 29. ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ • แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) 2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-Printed Resources) 3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
  • 30. • 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) 1.1 หนังสือ (Books) 1.1.1 หนังสือบันเทิงคดี (Fictions) 1.1.2 หนังสือสารคดี (Non-Fictions) ก. หนังสือความรู้ทั่วไป (general books) ข. ตาราวิชาการ (text books) ค. หนังสืออ้างอิง (reference books) หรือ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources) ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
  • 31. • 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) (ต่อ) 1.1 หนังสือ (Books) (ต่อ) ค. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources) 1) พจนานุกรม (Dictionaries) 2) สารานุกรม (Encyclopedias) 3) หนังสือรายปี (Yearbook) 4) อักขรานุกรมชีวประวัติ (Bibliographic dictionaries) 5) นามานุกรม (Directories) 6) แหล่งสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Sources) 7) หนังสือคู่มือ (Handbooks) ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
  • 32. ความหมาย “ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources)” * ทรัพยากรสารสนเทศ ที่รวบรวมข้อเท็จจริงจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ * จัดทาขึ้นเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงบางเรื่องที่ต้องการ ไม่มุ่งหมายจะอ่าน/ใช้เนื้อหาทั้งหมดที่ มี จะอ่านเฉพาะส่วน หรือ ตอนที่ตอบคาถามเท่านั้น * ตัวอย่างเช่น อยากทราบความหมายของคาว่า “เบญจางคประดิษฐ์” ก็จะเปิด พจนานุกรมไทยดูที่ คาว่า “เบญจางคประดิษฐ์” เท่านั้น โดยไม่เปิดดูความหมาย ของศัพท์อื่น ๆ * จัดเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เพื่อสะดวกในการค้นหาข้อมูล * จัดทาทั้งในรูปของทรัพยากรตีพิมพ์ และทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ * ถ้าเป็นหนังสืออ้างอิง (ในรูปเล่มหนังสือ) ไม่อนุญาต ให้ยืมออกนอกห้องสมุด ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
  • 33. 1. พจนานุกรม (Dictionaries) รวบรวมคาตามลาดับอักษรและให้ข้อมูลเกี่ยวกับคา : - ตัวสะกด - วิธีอ่านคาที่ถูกต้อง - ชนิดของคา - ประวัติที่มาของคา - ความหมายของคาในภาษาเดียวกัน - ความหมายของคาจากภาษาหนึ่งไปอีก ภาษาหนึ่ง
  • 34. 1. พจนานุกรม (Dictionaries) (ต่อ) เช่น New Model English-Thai Dictionary พจนานุกรมญี่ปุ่น-ไทย-อังกฤษ Merriam-Webster Dictionary (http://www.merriam-webster.com) พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp) LEXITRON: Thai-English Electronic Dictionary (http://lexitron.nectec.or.th/2009_1/)
  • 35. 2. สารานุกรม (Encyclopedias) • ให้สารสนเทศสารพัดอย่างในรูปของบทความ • ครอบคลุมเนื้อหาสาระในสาขาวิชาต่าง ๆ และเรื่องราวที่น่าสนใจ อย่างกว้างขวางตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน • มีการจัดเรียงเนื้อหาอย่างมีระบบ ซึ่งมักเรียงตามลาดับอักษรของ หัวข้อวิชา • มีดรรชนีช่วยค้นเรื่องอย่างละเอียด • เช่น
  • 36. 2. สารานุกรม (Encyclopedias) (ต่อ) Encyclopedia.com (http://www.encyclopedia.com) Grolier Online (http://go-passport.grolier.com) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (http://th.wikipedia.org/wiki/Main_Page) สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (http://kanchanapisek.or.th/kp6/GENERAL/encyclopedia/saranugrom .htm)
  • 37. 3. หนังสือรายปี (Yearbook) * มีกาหนดออกเป็นรายปี * ให้สารสนเทศใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา * เป็นข้อเท็จจริง สถิติ ข่าวสารความเคลื่อนไหว แนวโน้ม ใน สาขาวิชา ประเทศ องค์กร/ หน่วยงาน เช่น รายงานประจาปี (Annual Report) จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงาน และรายงาน ความก้าวหน้าของการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาของหน่วยงาน ต่างๆ
  • 38. 3. หนังสือรายปี (Yearbook) (ต่อ) ตัวอย่างหนังสือรายปี รายงานประจาปีของธนาคารไทยพาณิชย์ (http://www.scb.co.th/th/getfile/14/annual) Information Please Almanac (http://www.infoplease.com/almanacs.html)
  • 39. 4. อักขรานุกรมชีวประวัติ (Bibliographic dictionaries) รวบรวมประวัติบุคคลสาคัญหลายคนไว้ในชื่อเรื่องเดียวกัน + บุคคลที่ทาคุณประโยชน์ต่อสังคมด้านต่างๆ เช่น ผู้นา ประเทศ/ทหาร/ศาสนา นักวิทยาศาสตร์ นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ + บุคคลในสังคมชั้นสูง เช่น กษัตริย์ ราชินี พระบรมวงศานุ วงศ์ ขุนนาง ฯลฯ * รายละเอียด: ปีเกิด-ปีตาย สถานที่เกิด การศึกษา สถานภาพการสมรส อาชีพ ผลงานดีเด่น หน้าที่การงาน เช่น biography.com (http://www.biography.com/)
  • 40. 5. นามานุกรม (Directories) * อาจเรียกว่า ทาเนียบนาม หรือนามสงเคราะห์ * รวบรวมรายชื่อบุคคล ชื่อสถาบัน หน่วยงาน องค์การ ห้างร้าน * ใช้ประโยชน์ในการหาชื่อหน่วยงานและสถานที่ติดต่อ * เช่น นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย 2556 (http://gphone.prd.go.th/) TOT Phonebook (http://phonebook.tot.co.th/wss/)
  • 41. 6. แหล่งสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Sources) ใช้ค้นหารายละเอียดพอสังเขปเกี่ยวกับชื่อและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ทั่ว โลก ทั้งที่เป็นสถานที่เกิดเองตามธรรมชาติ (เช่น น้าตก ภูเขา) และสถานที่ที่มนุษย์ เป็นผู้สร้าง (เช่น พิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะ) ตัวอย่างคาถาม เช่น ความยาวของแม่น้า ไนล์ หรือ หอไอเฟลอยู่ในประเทศใด สูงเท่าไหร่ มีประวัติความเป็นมาอย่างไร หรือข้อมูลต่างๆ ที่มีประโยชน์ต่อการท่องเที่ยว หรือตาแหน่งที่ตั้งของชื่อทางภูมิศาสตร์ แสดงอาณาเขตของประเทศและ เมือง ลักษณะทางกายภาพของส่วนต่าง ๆ ของโลก เป็นต้น เช่น อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) (http://www.royin.go.th/akara/home/index.php) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (http://thai.tourismthailand.org/)
  • 42. 7. หนังสือคู่มือ (Handbooks) * รวบรวมสารสนเทศและความรู้เบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือสาขาใดสาขาหนึ่ง * ให้สารสนเทศอย่างสั้นกะทัดรัด สามารถใช้ตอบคาถามได้ทันที หรือ นาความรู้เหล่านั้นไปใช้เป็นประโยชน์ในทางปฏิบัติได้ * เช่น Guinness Book of Records (http://www.guinnessworldrecords.com/) Familiar Quotations (http://www.bartleby.com/100)
  • 43. • 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) (ต่อ) 1.2 สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials) 1.2.1 วารสาร (journals/periodicals) 1.2.2 นิตยสาร (Magazines) 1.2.3 หนังสือพิมพ์ (Newspapers) 1.2.4 หนังสือรายปี (Yearbooks) 1.3 จุลสาร (Pamphlets) 1.4 กฤตภาค (Clippings) ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
  • 44. • 1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) (ต่อ) 1.5 รายงานการวิจัย (Research Reports) 1.6 วิทยานิพนธ์ (Theses or Dissertations) 1.7 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publications) 1.8 รายงานการประชุมทางวิชาการ (Conference Reports or Conference Proceedings) 1.9 สิ่งพิมพ์อื่น ๆ อาทิ หนังสือตัวเขียน สิทธิบัตร มาตรฐาน ฯลฯ ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
  • 45. 2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-Printed Resources) 2.1 โสตวัสดุ (Audio Materials) 2.2 ทัศนวัสดุ (Visual Materials) 1) วัสดุกราฟิก (Graphic Materials) 2) วัสดุ 3 มิติ (Three-Dimension Materials) 3) วัสดุโปร่งแสงและทึบแสง 4) วัสดุย่อส่วน (Microforms) 2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audiovisual Materials) ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
  • 46. 3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources) 3.1 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-books) 3.2 วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-journals/e-magazines) 3.3 หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (e-newspapers) 3.4 ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) 1. ฐานข้อมูลรายการบรรณานุกรมออนไลน์ (OPAC : Online Public Access Catalog) 2. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) 3. ฐานข้อมูลซีดีรอม (CD-ROM database) 4. อินเทอร์เน็ต (Internet) 1. ซีดีรอม 2. ฐานข้อมูล ออนไลน์ 3. สิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book e-Journal e-Newspaper) ประเภทและประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ)
  • 47. 1. มีความสะดวกในการเข้าใช้ 2. เป็นแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ ถ้าเป็นทรัพยากรสารสนเทศ ดูที่ผู้เขียน/ผู้จัดทา/ผู้ผลิต 3. เนื้อหามีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้อง ชัดเจน และทันสมัย 4. มีความสอดคล้องกับลักษณะของเนื้อหาสารสนเทศที่ต้องการ *******************
  • 48. บรรณานุกรม รติรัตน์ มหาทรัพย์. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอน เรื่องแหล่งสารสนเทศ และการเลือกใช้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัด สาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์. (2555). เอกสารคาสอนวิชาทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทอ้างอิง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัด สาเนา). อาภากร ธาตุโลหะ. (2551). ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า (พิมพ์ครั้งที่ 2). ชลบุรี: พี. เค. กราฟฟิค.