SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
1




               แผนการจัดการเรียนรู้
ซึ่งได้ รับแนวคิดและแรงดลบันดาลใจจาก


  รหัสวิชา ว21101 ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ 1      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
              หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารและการจาแนก

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สถานะของสาร




                             ผู้สอน
                 ครู กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
                        ตาแหน่ ง ครู ค.ศ. 1
        กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                              ิ                       ิ
            สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2
                         ้
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                            ้
                       กระทรวงศึกษาธิการ
2




                                                      คานา

        จากการที่ขาพเจ้าได้มีโอกาสติดตามชมรายการครู มืออาชีพ ของสถานีโทรทัศน์ครู ทาให้ขาพเจ้าได้ เห็นถึง
                  ้                                                                    ้
รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ของครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ที่มีรูปแบบที่แปลกใหม่ น่าสนใจ
                                                       ่
        สาหรับตอนที่ขาพประทับใจและได้นาแนวคิดมาใช้มีอยูหลายตอนด้วยกัน แต่ในที่น้ ีจะขอกล่าวถึงจากการ
                     ้
ที่ได้รับชมซีรียการสอนของครู ต่างประเทศ ที่ครู ได้แสดงบทบาทสมมุติเป็ นแม่มดในการสอนนักเรี ยน และตอน
                ์
“ครู คนใหม่ ” ของ ครู ชาคริ ต   หะซัน รร .บ้านรถไฟ ครู ท่านหนึ่งที่เปลี่ยนตัวเองและได้เทคนิคการสอนดีๆ
มาจากการได้ดูรายการครู มืออาชีพ ที่ได้เปลี่ยนตัวเองในการสอน โดยแสดงบทบาทสมมุติเป็ นพระราชา ในการ
สอนภาษาอังกฤษ เดินไปทัวห้อง สร้างความเป็ นกันเองกับเด็ก และนาเทคนิคการใช้บตรคา การใช้สื่อของจริ งมา
                      ่                                                   ั
สอนเด็ก ช่วยให้เด็กสนุกกับการเรี ยน และจดจาสิ่งต่างๆที่ครู สอนได้เป็ นอย่างดี ทาให้ ขาพเจ้า ได้รับแนวคิด และ
                                                                                     ้
ไอเดียในการปรับการเรี ยนเปลี่ยนการสอน ในวิชาวิทยาศาสตร์ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1
                                           ่
        ในการสอนเรื่ องสถานะของสารนั้น ที่ผานมามักประสบปั ญหาว่านักเรี ยนไม่เข้าใจความแตกต่างในการ
จัดการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ วิธีสอนก็เป็ นแบบเดิมๆคือการให้นกเรี ยนศึกษาจากหนังสือเรี ยนใบ
                                                                        ั
ความรู ้ หรื อไม่ก็ทากิจกรร มตามหนังสือ คู่มือทัวๆไป ซึ่งไม่ประสบความสาเร็จในการช่วยส่งเสริ มความรู ้ความ
                                                ่
          ั
เข้าใจให้กบนักเรี ยนเท่าที่ควร จึงได้มีแนว คิดในการพั ฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ที่มีแรงบันดาลใจ
มาจากรายการครู มืออาชีพของโทรทัศน์ครู ผสมผสานกับแนวคิดที่สร้างสรร ค์ในการจัดการเรี ยนรู ้ของตนเอง
นามาซึ่ง การสอนแบบแสดงบทบาทสมมุติเป็ นพ่อมด ที่เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรม มาช่วย
                                                             ั
สร้างความสนใจและความสนุกสนานในการเรี ยน                ร่ วมกับการใช้อุปกรณ์ง่ายๆใกล้ตวอย่างบอลพลาสติก
                                                                                      ั
มาประยุกต์เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนแบบจาลองอนุภาคของสาร ที่มีความเป็ นรู ปธรรมและเข้าใจง่ายมากขึ้น
ตลอดจนได้นาเนื้อหาที่นกเรี ยนมักสับสน หรื อจาได้ยาก มาแต่งเป็ นเพลงจากทานองเพลงที่นกเรี ยนคุนหู
                      ั                                                            ั        ้
ซึ่งนอกจากจะช่วยให้นกเรี ยนมีความคงทนในการเรี ยนรู ้แล้ว ยังสร้างความสนุกสนานในการเรี ยนอีกด้วย
                    ั
        ข้าพเจ้าจึงได้จดทา แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง สถานะของสาร นี้ข้ ึน และได้นาไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้
                       ั
กับนักเรี ยนจริ ง ดังคลิปวีดิโอที่ได้อพโหลดไว้ที่ http://www.youtube.com/watch?v=cuNSD2CksZA โดยหวังว่าจะ
                                      ั
เป็ นแนวทางให้แก่ครู ที่สนใจต่อไป
        ขอขอบคุณ โทรทัศน์ครู ที่ได้ช่วยสร้างแนวคิดและแรงดลบันดาลในการสอนของครู ไทยทัวประเทศ
                                                                                    ่
เพือร่ วมกันพัฒนาเยาวชนไทยต่อไป
   ่



                                                                    กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
3




                                            แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ว21101 ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ 1                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1                                                   ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554
หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารและการจาแนก          แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 เรื่อง สถานะของสาร เวลา 2 ชั่วโมง
วิธีการสอน/รู ปแบบการสอน/เทคนิคการสอนที่ใช้ การแสดงบทบาทสมมติ


                                          สาหรับรายวิชาพืนฐาน
                                                         ้
 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
      มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู ้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู และนา
                                                                                              ้
ความรู ้ไปใช้ประโยชน์
 ตัวชี้วัด
         อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร ม.1/2 ว 3.1
          มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเ สาะหาความรู ้
                     ่
 การแก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและ
                                                ่
 ตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม
                          ้
 และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน   ั
 ตัวชี้วัด
          1. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร
              ว 3.1 ม.1/2
          2. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรื อตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรื อศึกษาค้นคว้าเรื่ อง
              ที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.1-3/1
          3. สร้างแบบจาลองหรื อรู ปแบบที่อธิบายผลหรื อแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.1-3/6
          4. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู ้ ที่ได้ ไปใช้ใน
              สถานการณ์ใหม่หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรื อชิ้นงานให้
              ผูอื่นเข้าใจ ว 8.1 ม.1-3/7
                ้
          5. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบค้นคว้าเพิมเติม จากแหล่งความรู ้ต่าง ๆ
                                                                            ่
              ให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู ้ที่คนพบเมื่อมีขอมูลและประจัก ษ์
                       ้                                                  ้          ้
              พยานใหม่เพิมขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม ว 8.1 ม.1-3/8
                            ่
          6. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงานและ /หรื ออธิ บายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
              โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ ว 8.1 ม.1-3/9
                                         ู้
4




จุดประสงค์การเรียนรู้
      ด้ านความรู้ ( Knowledge)
         1. อธิบายความแตกต่างของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้
        2. อธิบายการเปลียนแปลงของสารที่พบเห็นได้ในชีวตประจาวัน
                        ่                            ิ
    ด้ านทักษะกระบวนการ ( Process)
        1. เปรี ยบเทียบแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารและลักษณะการเปลี่ยนรู ปร่ างของสาร
 ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้
        2. จัดจาแนกสารในสถานะต่างๆได้
     ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( Attitude )
            คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                                                     ้
          รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์           ่
                                         อยูอย่างพอเพียง    ซื่อสัตย์สุจริ ต  มุ่งมันในการทางาน
                                                                                       ่
          มีวนย
               ิ ั                       รักความเป็ นไทย  ใฝ่ เรี ยนรู ้      มีจิตสาธารณะ
            คุณลักษณะของผู้เรียน ตามหลักสู ตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
          เป็ นเลิศวิชาการ              สื่อสารสองภาษา  ล้ าหน้าทางความคิด
          ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่ วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
            เอกลักษณ์ของโรงเรียนนนทรีวิทยา
          รักษ์สิ่งแวดล้อม ………………………………………………………………………………………
     ด้ านการ อ่ าน เขียน คิด วิเคราะห์
         การอ่าน       : การอ่านใบความรู ้ ใบงาน การสืบค้นข้อมูลเพิมเติม
                                                                    ่
         การคิด วิเคราะห์                                                                         ่
                               : การคิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวจารณญาณ คิดคล่อง คิดยืดหยุน
                                                                         ิ
            การวิเคราะห์การนาความรู ้ไปใช้ในชีวตประจาวัน
                                               ิ
         การเขียน : การทาแบบฝึ กหัด การสรุ ปความรู ้ที่ได้
     ด้ านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
         ความสามารถในการสื่อสาร                : การสนทนาพูดคุย แลกเปลี่ยนคิดเห็น การติดต่อสื่อสาร
         ความสามารถในการคิด                    : การใช้กระบวนการคิในการเรี ยนรู ้และการทางาน
                                                                   ด
         ความสามารถในการแก้ปัญหา               : การแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่ครู กาหนดและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
         ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต
                             ั     ิ            : การนาความรู ้ไปใช้ในชีวตอย่างเป็ นประโยชน์ เพือความปลอดภัย
                                                                         ิ                      ่
         ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี           : การสืบค้นข้ ลจากแหล่งเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                            อมู
5




สาระการเรียนรู้
          การจาแนกประเภทของสาร โดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์จาแนกได้เป็ น 3 ลักษณะ คือ ของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส
                                                      ่
              ของแข็ง อนุภาคของสารในสถานะของแข็งจะอยูชิดกันมาก าให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร
                                                              ท
ในสถานะของแข็งมีค่ามาก ดังนั้นสารในสถานะของแข็งจึงมีรูปร่ างแน่นอนและมีปริ มาตรคงที่
                                                      ่    ั
              ของเหลว อนุภาคของสารในสถานะของเหลวจะอยูใกล้กน                                                    จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค
ค่อนข้างมาก อนุภาคของสารสามารถเคลื่อนที่ได้บาง
                                            ้                                     จึงทาให้สารในสถาน ะของเหลวไหลได้ มีรูปร่ างไม่
แน่นอนขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ แต่มีปริ มาตรคงที่
              แก๊ส อนุภาคของสารในสถานะแก๊สอยูห่างกัน แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก ดังนั้นแก๊สจึง
                                              ่
มีรูปร่ างและปริ มาตรไม่คงที่




การบูรณาการ
     บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรี ยน
                       การดาเนินงานตามองค์ประกอบ งานสวนพฤกษศาสตร์
                       การดาเนินงานตามสาระการเรี ยนรูพชศึกษา : มะละกอ
                                                      ้ ื
    บูรณาการหลักสูตรโรงเรี ยนมาตรฐานสากล (Worldclass Standard School)
                       ทฤษฎีความรู ้ (Theory of Knowledge : TOK)  ความเรี ยงชั้นสูง (Extended- Essay)
                       โลกศึกษา(Global Education)                          กิจกรรมสร้างสรรค์ (CAS:Creativity, Action,Service)
     บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ (ระบุ) ................................................................................................
     บูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
     บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
     บูรณาการอื่นๆ (ระบุ) ........................................................................................................................... ....
ภาระ / ชิ้นงาน / ร่ องรอย /หลักฐานการเรียนรู้
       ใบงาน เรื่ อง สถานะของสาร
       แผนผังมโนทัศน์สรุ ปเกี่ยวกับสถานะของสาร
6




      การประเมิน
            ผู้ประเมิน
                        ครู ผสอน  นักเรี ยน
                              ู้                        เพือน
                                                            ่            ผูปกครอง
                                                                            ้
   สิ่งทีต้องประเมิน
         ่                วิธีการวัดผล       ประเด็นทีประเมิน
                                                       ่                               เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. ผลงานนักเรี ยน      แบบประเมินผลงาน    - การคิดวิเคราะห์       3 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง
   / ใบงาน                                                        เปรี ยบเทียบและสรุ ปความคิดรวบยอดได้ดี
                                                                  2 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้ แต่ขยายความหรื อ
                                                                  ยกตัวอย่างไม่ได้
                                                                  1 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้นอย ้
                                          - การเขียนสื่ อความ     3 คะแนน = เขียนสื่ อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็น
                                                                  และ เข้าใจง่าย
                                                                  2 คะแนน = เขียนสื่ อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี 2-3 แห่ ง ตรง
                                                                  ประเด็น
                                                                  1 คะแนน = เขียนสื่ อความได้นอย ไม่ตรงประเด็น
                                                                                               ้

                                          - มีความคิดสร้างสรรค์   3 คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่
                                                                                                                  ั
                                                                  กาหนด ระบายสี ได้สวยงาม
                                                                  2 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนด แต่ไม่
                                                                                                    ั
                                                                  ดึงดูดความสนใจ
                                                                  1 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก
                                                                                                ั

                                          - ประโยชน์ของการนา 3 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ใน
                                                                                                    ั
                                          ข้อมูลไปใช้        ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
                                                             2 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ในั
                                                             ชีวิตประจาวันได้บาง
                                                                              ้
                                                             1 คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้นอยมาก
                                                                                                ้

การประเมินผล คะแนน 12 -9 = ดี (3) คะแนน 8 - 5 = พอใช้ (2) คะแนน 4 - 0 = ควรปรับปรุ ง (1)
2. พฤติกรรมขณะร่ วม แบบบันทึกการ          - ความสนใจในการทา เกณฑ์ การให้ คะแนน
กิจกรรมของนักเรี ยน  สังเกตและ            กิจกรรม                 ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี
                     ประเมินผล            - การมีส่วนร่ วมในการ ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง
                     พฤติกรรมรายบุคคล แสดงความคิดเห็น             ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง
                                          - การตอบคาถาม
                                          - การยอมรับฟังความ
                                          คิดเห็นผูอื่น
                                                   ้
                                          - ทางานตามที่ได้รับ
                                          มอบหมาย
เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 15 -13 = ดี (3) คะแนน 12 - 9 = พอใช้ (2) คะแนน 8 - 5 = ควรปรับปรุ ง (1)
7




กิจกรรมการเรียนรู้
        ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ทบทวนเกี่ยวกับ สสาร สาร สมบัติของสาร และเชื่อมโยงเข้าสู่ เรื่ อง สถานะของสาร โดยครู ช้ ีแจงว่า วันนี้ครู
จะพาทุกๆคนไปเรี ยนรู ้ ในดินแดนแห่งเวทมนต์ ที่มีสารสถานะต่างๆมากมาย
2. ครู เปลี่ยนชุดเป็ นพ่อมด นานักเรี ยนเข้าสู่บรรยากาศของดินแดนเวทมนต์ โดยครู แสดงบทบาทสมมุตเิ ป็ นพ่อมด




3. ครู แสดงกล่องปริ ศนาจานวน 3 กล่อง ซึ่งมีหมายเลข 1 , 2 และ 3 โดยนากล่องมาแสดงให้นกเรี ยนดูทีละกล่อง
                                                                                   ั
จากนั้นสอบถามนักเรี ยนว่า อยากดูสิ่งของในกล่องใบใดก่อน ซึ่งครู สามารถเปิ ดกล่องใบใดก่อนก็ได้ตามที่นกเรี ยน
                                                                                                   ั
ส่วนใหญ่ตองการ
         ้




                                 ่                                                                    ่
4. ครู ในบทบาทพ่อมดแสดงสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนาแต่ละกล่อง พร้อมทั้งนานักเรี ยนอภิปรายว่า สิ่งของที่อยูใน
                                         ่
กล่องคืออะไร? มีสถานะอะไร? ซึ่งสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนาแต่ละกล่อง มีดงนี้
                                                                     ั
        กล่องที่ 1 ก้อนอิฐ                                 สถานะของแข็ง
        กล่องที่ 2 น้ าแดงบรรจุในขวด                       สถานะของเหลว
        กล่องที่ 3 กระป๋ องแก๊สบรรจุสเปรย์น้ าหอม          สถานะแก๊ส
8




                                                   ่
5. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไปว่า สารทั้งสามสถานะที่อยูในกล่องทั้งสามใบ มีการจัดเรี ยงตัวของอนุภาคสารเหมือน
หรื อต่างกันอย่างไร
         ขั้นสอน
6. ครู ในบทบาทพ่อมดนากล่องวิเศษมาให้นกเรี ยนแต่ละคนจับสลาก เพือแบ่งกลุ่มตามสลากสีที่ได้รับ จานวน 6
                                     ั                        ่
กลุ่ม แล้วให้ต้งชื่อกลุ่ม
               ั
7. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไปว่า สารทั้งสามสถานะ มีการจัดเรี ยงตัวของอนุภาคสารเหมือนหรื อต่างกันอย่างไร
เราจะมาศึกษาจากการทากิจกรรมเรื่ อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
8. ครู แจกใบกิจกรรม เรื่ อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ให้นกเรี ยนศึกษาและทาความเข้าใจ
                                                        ั                            สมมุตให้ เม็ดโฟม 1 เม็ด
                                                                                          ิ
โดยกาหนดเวลาประมาณ 5 นาที จากนั้นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับวัสดุอุปกรณ์              แทนอนุภาคของสาร
                                                    ้
      1. นาขวดพลาสติกขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่กนขวดเจาะรู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง        1 อนุภาค
1 มิลลิเมตร ประมาณ 10-15 รู บรรจุเม็ดโฟมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 -10 มิลลิเมตร
ลงในขวดใบนี้ประมาณ 80 ลูกบาศก์เซนติเมตร ปิ ดปากขวดด้วยจุกยางที่มีท่อนาแก๊ส 1
            ่ ั
ท่อเสียบอยูดงภาพ
         2. คว่าปากขวดลง จากนั้นเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ สังเกต
การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม บันทึกผล
         3. ค่อยๆ เป่ าลมให้แรงมากขึ้นเรื่ อยๆ จนถึงแรงที่สุด สังเกตการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม
บันทึกผลการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เป่ าลมลงในขวด

9. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มปฏิบติกิจกรรมแล้วบันทึกผล และตอบคาถามท้ายกิจกรรม จากนั้นครู สุ่มตัวแทนกลุ่มเพือ
                          ั                                                                         ่
นาเสนอ แล้วอภิปรายร่ วมกัน
10. ครู ในบทบาทพ่อมด ร่ ายคาถาเสกตัวแทนนักเรี ยนออกมาร่ วมกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนจานวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
9




11. ครู ในบทบาทพ่อมดเสกให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติเป็ นอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ดังนี้
                           ั
        กลุ่มที่ 1 ให้นกเรี ยนแต่ละคนกอดคอกันให้แน่นเป็ นวงกลม
                       ั




        กลุ่มที่ 2 ให้นกเรี ยนแต่ละคนจับมือกันให้แน่นล้อมเป็ นวงกลม
                       ั




        กลุ่มที่ 3 ให้นกเรี ยนแต่ละคนปล่อยมือเป็ นอิสระจากกัน
                       ั




12. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไป โดยครู ในบทบาทพ่อมด พยายามออกแรงกระทา ดึงตัวนักเรี ยนให้แต่ละกลุ่มให้
แยกตัวออกจากกัน และลองให้ท้งกลุมเคลื่อนที่ผานช่องแคบๆ แล้วใช้คาถามนานักเรี ยนอภิปรายเชื่อมโยงไปสู่การ
                           ั ่             ่
จัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ดังนี้
      กลุ่มที่ 1 ให้นกเรี ยนแต่ละคนกอดคอกันให้แน่นเป็ นวงกลม
                     ั
      เกาะตัวกันแน่น เรี ยงชิดติดกัน รู ปร่ างเปลี่ยนยาก ยบเหมือนการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถาน
                                                       เปรี                                      ะของแข็ง
      กลุ่มที่ 2 ให้นกเรี ยนแต่ละคนจับมือกันให้แน่นล้อมเป็ นวงกลม
                       ั
      เกาะตัวกันหลวมๆ ไม่เรี ยงชิดติดกัน รู ปร่ างเปลี่ยนง่าย เปรี ยบเหมือนการจัดเรี ยงอนุภาคของสารใน
สถานะของเหลว
      กลุ่มที่ 3 ให้นกเรี ยนแต่ละคนปล่อยมือเป็ นอิสระจากกัน
                         ั
      เป็ นอิสระจากกัน อยูห่างกันมาก รู ปร่ างไม่คงที่ เปรี ยบเหมือนการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะแก๊ส
                            ่
10




13. ครู ในบทบาทพ่อมดเสกกล่องปริ ศนา 6 กล่อง โดยแจกให้กบนักเรี ยนทั้ง 6 กลุ่มกลุ่มละ 1 กล่อง ให้แต่ละกลุ่ม
                                                      ั
                                                                     ่
เปิ ดกล่องปริ ศนาและอ่านปริ ศนาคาทายในกล่อง เพือหาคาตอบว่า สิ่งที่อยูภายในคืออะไร มีสถานะใด
                                               ่
14. ครู ในบทบาทพ่อมดเสกให้นกเรี ยนทุกคนเป็ นอนุภาคของสาร แล้วจับตัวกันเป็ นแบบจาลองอนุภาคของสาร
                           ั
ตามสถานะของสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนา ทีละกลุ่มโดยให้เพือนกลุ่มอื่นๆร่ วมกันทายว่า คือสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนา
                     ่                                ่                                       ่
คืออะไร มีสถานะใด ในลักษณะของเกม 10 คาถาม ซึ่งมีกติกาว่า ให้กลุ่มอื่นๆทายโดยใช้คาถามว่า สิ่งนั้นคือ......
ใช่หรื อไม่ ได้ไม่เกิน 10 คาถามเท่านั้น จากนั้นครู ในบทบาทพ่อมด ยืนกลางห้องเรี ยน เสกให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม
                                                                                         ั
                                                       ่
จับตัวกันเป็ นแบบจาลองอนุภาคของสารตามสถานะที่พอมดกาหนด เพือเป็ นการตรวจสอบความเข้าใจของ
                                                                   ่
นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม
15. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไป โดยครู ในบทบาทพ่อมด ใช้ลูกบอลพลาสติกสีแดง แทนอนุภาคของสารหนึ่งอนุภาค




16. จากนั้นแสดงแบบจาลองอนุภาคของสารที่แทนด้วยลูกบอลพลาสติกของแต่ละสถานะให้นกเรี ยนสังเกต
                                                                                ั
แล้วตอบว่าเป็ นแบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะใด โดยเชื่อมโยงกับสิ่งของในกล่องแล้วร่ วมกันอภิปรายสรุ ป




แบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะของแข็ง                      แบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะของเหลว




                                แบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะแก๊ส
11




        ขั้นสรุป
17. ครู ในบทบาทพ่อมด เสกกระดาษฟลิบชาร์ต แจกให้นั กเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันเขียนแผนผังมโนทัศน์
สรุ ปเกี่ยวกับสถานะของสาร โดยกาหนดเวลาประมาณ 20 นาที
18. เมื่อหมดเวลา ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มนากระดาษฟลิปชาร์ตไปติดไว้รอบๆห้องเรี ยน
                          ั
19. ครู ช้ ีแจงให้นกเรี ยนไปเดินเยียมชมผลงานของเพือนๆ แต่ละกลุ่ม โดยครู ในบทบาทพ่อมดเสกคาถา แจกดาว
                   ั               ่                   ่
ให้นกเรี ยนคนละ 1 ดวง เพือให้นาดาวไปติดบนกระดาษฟลิปชาร์ตของกลุ่มที่ตนเองชอบ ซึ่งครู ควรชี้แจงให้
     ั                        ่
นักเรี ยนพิจารณาใน 2 ประเด็นสาคัญ คือ ความถูกต้องของเนื้อหาและความสร้างสรรค์สวยงามของผลงาน
20. ครู นบดาวบนกระดาษฟลิปชาร์ตของนักเ รี ยนแต่ละกลุ่ม โดยคั ดเลือกกลุ่มที่มีจานวนดาวสูงสุด 2-3 กลุ่ม
            ั
เพือออกมานาเสนอ หน้าชั้นเรี ยน
   ่
 21. ครู นานักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ การจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ซึ่งควรสรุ ปได้วา
                                                                                                  ่
        การจาแนกประเภทของสาร โดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ จาแนกได้เป็ น 3 ลักษณะ คือ ของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส
                                                    ่
            ของแข็ง อนุภาคของสารในสถานะของแข็งจะอยูชิดกันมาก าให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร
                                                            ท
ในสถานะของแข็งมีค่ามาก ดังนั้นสารในสถานะของแข็งจึงมีรูปร่ างแน่นอนและมีปริ มาตรคงที่
                                                    ่    ั
            ของเหลว อนุภาคของสารในสถานะของเหลวจะอยูใกล้กน             จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค
ค่อนข้างมาก อนุภาคของสารสามารถเคลื่อนที่ได้บาง
                                            ้       จึงทาให้สารในสถานะของเหลวไหลได้         มีรูปร่ างไม่
แน่นอนขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ แต่มีปริ มาตรคงที่
            แก๊ส อนุภาคของสารในสถานะแก๊สอยูห่างกัน แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก ดังนั้นแก๊สจึง
                                            ่
มีรูปร่ างและปริ มาตรไม่คงที่
22. ครู ในบทบาทพ่อมด นานักเรี ยนร้องเพลง “สถานะของสาร” เพือให้นกเรี ยนเข้าใจและสามารถจดจาได้ดียงขึ้น
                                                          ่    ั                               ิ่
12




                                                  เพลงสถานะของสาร
              เนื้อร้องโดย ครู กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์        ทานอง เพลง Nobody ศิลปิ นวง Wonder Girl
                       ********************************************************
         สถานะของสารมีสามสถานะ                                 สถานะของสารมีสามสถานะ
คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส                                        คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส
                                       จาไว้มีสามสถานะ มีสามสถานะ
หนึ่งคือของแข็งที่รูปร่ างนั้นคงที่           อนุภาคเรี ยงชิดกันดี              ปริ มาตรคงที่เช่นกัน
สองคือของเหลว              ที่รูปร่ างเปลี่ยนแปรผัน            อนุภาคไม่ชิดติดกัน        ปริ มาตรนั้นก็คงที่
         และสามคือแก๊สที่ฟุ้งกระจาย                            อนุภาคมากมายห่างไกลเต็มที
ทั้งรู ปร่ างปริ มาตร ไม่มีอะไรคงที่                           ทั้งสามสถานะนี้จงรู ้เอาไว้
         สถานะของสารมีสามสถานะ                                 สถานะของสารมีสามสถานะ
คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส                                        คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส
                                       จาไว้มีสามสถานะ มีสามสถานะ...

23. ครู ให้นกเรี ยนมารับใบงาน เรื่ อง สถานะของสาร เพือเป็ นการสรุ ปและประเมินความรู ้ ความเข้าใจของนักเรี ยน
            ั                                        ่




24. ครู ในบทบาทพ่อมด แปลงร่ างกลับมาเป็ นคนเหมือนเดิม แสดงบทบาทเป็ นครู ตามปกติ
13




สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. กล่องกระดาษขนาดใหญ่            1        ใบ
2. กล่องกระดาษขนาดกลาง            3        ใบ
3. กล่องกระดาษขนาดเล็ก            6        ใบ
4. ก้อนอิฐ                        1        ก้อน
5. น้ าผสมสี                 1             ขวด
6. ภาชนะใส่ของเหลวรู ปทรงต่างๆ
7. กระป๋ องสเปรย์น้ าหอม          1        กระป๋ อง
8. ลูกบอลพลาสติกเล็ก              12       ลูก
9. ถุงพลาสติกใสขนาดใหญ่           1        ใบ
10. อุปกรณ์ทดลองเรื่ อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ได้แก่
                                                 ้
       - ขวดพลาสติกขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตรที่กนขวดเจาะรู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตร
ประมาณ 10-15 รู               6      ขวด
       - เม็ดโฟมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 -10 มิลลิเมตร
       - จุกยาง               6      อัน
       - ท่อนาแก๊ส รู ปตัว L 6       อัน
11. ใบงาน เรื่ อง สถานะของสาร
12. หนังสือเรี ยนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
13. อุปกรณ์สาหรับแต่งกายเป็ นพ่อมด เช่น ผ้าสีดา หมวก ไม้ปัดขนไก่ ฯลฯ
14. แผ่นชาร์ทเพลงสถานะของสาร
15. ธงสีพร้อมฐานตั้งสาหรับแบ่งกลุ่ม        6          ชุด
14




                                                     ใบงาน เรื่อง สถานะของสาร
ชื่อ ………………………………………. ชั้น ……………… เลขที่ ……..…….. วันที่ ………………………...

         จงตอบคาถามต่ อไปนี้
                                  ่
1. ให้นกเรี ยนยกตัวอย่าง สารที่อยูในสถานะต่างๆ มาอย่างน้อยสถานะละ 5 อย่าง
       ั
         สถานะของแข็ง ได้แก่ ……………………………………………………………………………………...
         สถานะของเหลว ได้แก่ …………………………………………………………….………………………
         สถานะแก๊ส ได้แก่ …………………………………………………………………………………………..
2. สารในชีวตประจาวันที่เราพบเห็นในทั้ง 3 สถานะ คือ ………………………………………………….............
              ิ
3. ให้นกเรี ยนสังเกตสารทั้ง 3 ชนิดในภาพ แล้วตอบคาถาม
          ั
                สารแต่ละชนิดจะมีสมบัติทางกายภาพต่างกัน ขึ้นอยูกบการเรี ยงตัวของอนุภาคการมีช่องว่างระหว่าง
                                                              ่ั
อนุภาคมากจะทาให้อนุภาคแต่ละตัวเคลื่อนที่ได้มาก แต่ถาช่องว่างมีนอยการเคลื่อนที่ของอนุภาคก็จะเกิดขึ้นน้อย
                                                     ้         ้



                 สาร ก                          สาร ข                                                  สาร ค
        1. อนุภาคของสารใดจะเคลื่อนที่ได้มากที่สุด .................................................................................. ...........
        2. สารใดจะเปลี่ยนรู ปร่ างไปได้หลายแบบเมื่อถูกแรงบีบหรื ออัด ................................................. .............
        3. อนุภาคของสารใดเมื่อวางบนพื้นราบจะยังคงรู ปเดิมไม่แบนราบไปกับพื้น ...........................................
        4. สารใดมีความหนาแน่นมากที่สุด ................................................................................................. ..........
4. สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารคือสิ่งใด ………………………………………………..
5. จงวาดภาพ และเขียนอธิบายการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้

            สถานะ                       ภาพแสดงการ                                        อธิบายการจัดเรียงอนุภาค
                                        จัดเรียงอนุภาค
                                                                      ………………………………………………….……….
                                                                      ………………………………………………….……….
          ของแข็ง
                                                                      ………………………………………………….……….
                                                                      ………………………………………………….……….
                                                                      ………………………………………………….……….
         ของเหลว
                                                                      ………………………………………………….……….
                                                                      ………………………………………………….……….
                                                                      ………………………………………………….……….
             แก๊ส
                                                                      ………………………………………………….………..
15
                                                                             ชื่อ........................................................ ชั้น ม. ............ เลขที่..........
                                                                             0.
                                                  กิจกรรม เรื่อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส                                                             สมมุตให้ เม็ดโฟม 1 เม็ด
                                                                                                                                                          ิ
 วิธีทดลอง                                                                                                                                            แทนอนุภาคของสาร
                                                       ้
 1. นาขวดพลาสติกขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่กนขวดเจาะรู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง                                                                             1 อนุภาค
 1 มิลลิเมตร ประมาณ 10-15 รู บรรจุเม็ดโฟมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 -10 มิลลิเมตร
 ลงในขวดใบนี้ประมาณ 80 ลูกบาศก์เซนติเมตร ปิ ดปากขวดด้วยจุกยางที่มีท่อนาแก๊ส 1
              ่ ั
 ท่อเสียบอยูดงภาพ
 2. คว่าปากขวดลง จากนั้นเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ สังเกตการเคลื่อนตัว
 ของเม็ดโฟม บันทึกผล
 3. ค่อยๆ เป่ าลมให้แรงมากขึ้นเรื่ อยๆ จนถึงแรงที่สุด สังเกตการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม
 บันทึกผลการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เป่ าลมลงในขวด
 ตารางบันทึกผล

               การทดลอง                                                           การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน / การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม
                                                                                                         ้
เป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ
 เป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สแรงขึ้นเรื่ อยๆ
 เป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างแรงที่สุด

 คาถามท้ ายกิจกรรม

 1. การเป่ าลมใส่ในขวดพลาสติกด้วยกาลังลมที่แรงแตกต่างกัน ทาให้เม็ดโฟมเคลื่อนที่แตกต่างกันอย่างไร
 ........................................................................................................... ...............................................................
 2. จากการทดลอง สรุ ปได้วา                   ่
               2.1 การเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมเปรี ยบได้กบสถานะใด                                                      ั
 ...................................เพราะ....................................... .......................................................................................
               2.2 การเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สแรงขึ้นเรื่ อยๆ การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมเปรี ยบได้กบสถานะใด                                                 ั
 ...................................เพราะ......................................... .....................................................................................
               2.3 การเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างแรงที่สุด การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมเปรี ยบได้กบสถานะใด                                                    ั
 ...................................เพราะ........................................... ...................................................................................
 3. เมื่อเปรี ยบเทียบลักษณะการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมกับสถานะของสาร สารในสถานะใดมีพลังงานในตัวเองมาก
 ที่สุด ......................................................................
                                                                            ............................................................

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
krupornpana55
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 

Mais procurados (20)

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 

Destaque

เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
dnavaroj
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิ
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
Kobwit Piriyawat
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 

Destaque (20)

เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
 
ความแข็ง
ความแข็งความแข็ง
ความแข็ง
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิ
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบวิทย์ พิริยะ

ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
Pamkritsaya3147
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
Vachii Ra
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Arm Watcharin
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
She's Kukkik Kanokporn
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Piyatida Prayoonprom
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
teacherhistory
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
นภสร ยั่งยืน
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบวิทย์ พิริยะ (20)

08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 

Mais de Kobwit Piriyawat

P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
Kobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
Kobwit Piriyawat
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 

Mais de Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบวิทย์ พิริยะ

  • 1. 1 แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งได้ รับแนวคิดและแรงดลบันดาลใจจาก รหัสวิชา ว21101 ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารและการจาแนก แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สถานะของสาร ผู้สอน ครู กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ตาแหน่ ง ครู ค.ศ. 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2 คานา จากการที่ขาพเจ้าได้มีโอกาสติดตามชมรายการครู มืออาชีพ ของสถานีโทรทัศน์ครู ทาให้ขาพเจ้าได้ เห็นถึง ้ ้ รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ของครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ที่มีรูปแบบที่แปลกใหม่ น่าสนใจ ่ สาหรับตอนที่ขาพประทับใจและได้นาแนวคิดมาใช้มีอยูหลายตอนด้วยกัน แต่ในที่น้ ีจะขอกล่าวถึงจากการ ้ ที่ได้รับชมซีรียการสอนของครู ต่างประเทศ ที่ครู ได้แสดงบทบาทสมมุติเป็ นแม่มดในการสอนนักเรี ยน และตอน ์ “ครู คนใหม่ ” ของ ครู ชาคริ ต หะซัน รร .บ้านรถไฟ ครู ท่านหนึ่งที่เปลี่ยนตัวเองและได้เทคนิคการสอนดีๆ มาจากการได้ดูรายการครู มืออาชีพ ที่ได้เปลี่ยนตัวเองในการสอน โดยแสดงบทบาทสมมุติเป็ นพระราชา ในการ สอนภาษาอังกฤษ เดินไปทัวห้อง สร้างความเป็ นกันเองกับเด็ก และนาเทคนิคการใช้บตรคา การใช้สื่อของจริ งมา ่ ั สอนเด็ก ช่วยให้เด็กสนุกกับการเรี ยน และจดจาสิ่งต่างๆที่ครู สอนได้เป็ นอย่างดี ทาให้ ขาพเจ้า ได้รับแนวคิด และ ้ ไอเดียในการปรับการเรี ยนเปลี่ยนการสอน ในวิชาวิทยาศาสตร์ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ่ ในการสอนเรื่ องสถานะของสารนั้น ที่ผานมามักประสบปั ญหาว่านักเรี ยนไม่เข้าใจความแตกต่างในการ จัดการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ วิธีสอนก็เป็ นแบบเดิมๆคือการให้นกเรี ยนศึกษาจากหนังสือเรี ยนใบ ั ความรู ้ หรื อไม่ก็ทากิจกรร มตามหนังสือ คู่มือทัวๆไป ซึ่งไม่ประสบความสาเร็จในการช่วยส่งเสริ มความรู ้ความ ่ ั เข้าใจให้กบนักเรี ยนเท่าที่ควร จึงได้มีแนว คิดในการพั ฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ที่มีแรงบันดาลใจ มาจากรายการครู มืออาชีพของโทรทัศน์ครู ผสมผสานกับแนวคิดที่สร้างสรร ค์ในการจัดการเรี ยนรู ้ของตนเอง นามาซึ่ง การสอนแบบแสดงบทบาทสมมุติเป็ นพ่อมด ที่เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรม มาช่วย ั สร้างความสนใจและความสนุกสนานในการเรี ยน ร่ วมกับการใช้อุปกรณ์ง่ายๆใกล้ตวอย่างบอลพลาสติก ั มาประยุกต์เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนแบบจาลองอนุภาคของสาร ที่มีความเป็ นรู ปธรรมและเข้าใจง่ายมากขึ้น ตลอดจนได้นาเนื้อหาที่นกเรี ยนมักสับสน หรื อจาได้ยาก มาแต่งเป็ นเพลงจากทานองเพลงที่นกเรี ยนคุนหู ั ั ้ ซึ่งนอกจากจะช่วยให้นกเรี ยนมีความคงทนในการเรี ยนรู ้แล้ว ยังสร้างความสนุกสนานในการเรี ยนอีกด้วย ั ข้าพเจ้าจึงได้จดทา แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง สถานะของสาร นี้ข้ ึน และได้นาไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ ั กับนักเรี ยนจริ ง ดังคลิปวีดิโอที่ได้อพโหลดไว้ที่ http://www.youtube.com/watch?v=cuNSD2CksZA โดยหวังว่าจะ ั เป็ นแนวทางให้แก่ครู ที่สนใจต่อไป ขอขอบคุณ โทรทัศน์ครู ที่ได้ช่วยสร้างแนวคิดและแรงดลบันดาลในการสอนของครู ไทยทัวประเทศ ่ เพือร่ วมกันพัฒนาเยาวชนไทยต่อไป ่ กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 3. 3 แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ว21101 ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554 หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารและการจาแนก แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 เรื่อง สถานะของสาร เวลา 2 ชั่วโมง วิธีการสอน/รู ปแบบการสอน/เทคนิคการสอนที่ใช้ การแสดงบทบาทสมมติ สาหรับรายวิชาพืนฐาน ้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู ้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู และนา ้ ความรู ้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร ม.1/2 ว 3.1 มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเ สาะหาความรู ้ ่ การแก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและ ่ ตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม ้ และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ั ตัวชี้วัด 1. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร ว 3.1 ม.1/2 2. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรื อตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรื อศึกษาค้นคว้าเรื่ อง ที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.1-3/1 3. สร้างแบบจาลองหรื อรู ปแบบที่อธิบายผลหรื อแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.1-3/6 4. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู ้ ที่ได้ ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรื อชิ้นงานให้ ผูอื่นเข้าใจ ว 8.1 ม.1-3/7 ้ 5. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบค้นคว้าเพิมเติม จากแหล่งความรู ้ต่าง ๆ ่ ให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู ้ที่คนพบเมื่อมีขอมูลและประจัก ษ์ ้ ้ ้ พยานใหม่เพิมขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม ว 8.1 ม.1-3/8 ่ 6. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงานและ /หรื ออธิ บายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ ว 8.1 ม.1-3/9 ู้
  • 4. 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้ านความรู้ ( Knowledge) 1. อธิบายความแตกต่างของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้ 2. อธิบายการเปลียนแปลงของสารที่พบเห็นได้ในชีวตประจาวัน ่ ิ ด้ านทักษะกระบวนการ ( Process) 1. เปรี ยบเทียบแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารและลักษณะการเปลี่ยนรู ปร่ างของสาร ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้ 2. จัดจาแนกสารในสถานะต่างๆได้ ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( Attitude ) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้  รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ่  อยูอย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริ ต  มุ่งมันในการทางาน ่  มีวนย ิ ั  รักความเป็ นไทย  ใฝ่ เรี ยนรู ้  มีจิตสาธารณะ คุณลักษณะของผู้เรียน ตามหลักสู ตรโรงเรียนมาตรฐานสากล  เป็ นเลิศวิชาการ  สื่อสารสองภาษา  ล้ าหน้าทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่ วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก เอกลักษณ์ของโรงเรียนนนทรีวิทยา  รักษ์สิ่งแวดล้อม ……………………………………………………………………………………… ด้ านการ อ่ าน เขียน คิด วิเคราะห์  การอ่าน : การอ่านใบความรู ้ ใบงาน การสืบค้นข้อมูลเพิมเติม ่  การคิด วิเคราะห์ ่ : การคิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวจารณญาณ คิดคล่อง คิดยืดหยุน ิ การวิเคราะห์การนาความรู ้ไปใช้ในชีวตประจาวัน ิ  การเขียน : การทาแบบฝึ กหัด การสรุ ปความรู ้ที่ได้ ด้ านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร : การสนทนาพูดคุย แลกเปลี่ยนคิดเห็น การติดต่อสื่อสาร  ความสามารถในการคิด : การใช้กระบวนการคิในการเรี ยนรู ้และการทางาน ด  ความสามารถในการแก้ปัญหา : การแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่ครู กาหนดและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า  ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ : การนาความรู ้ไปใช้ในชีวตอย่างเป็ นประโยชน์ เพือความปลอดภัย ิ ่  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : การสืบค้นข้ ลจากแหล่งเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อมู
  • 5. 5 สาระการเรียนรู้ การจาแนกประเภทของสาร โดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์จาแนกได้เป็ น 3 ลักษณะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ่  ของแข็ง อนุภาคของสารในสถานะของแข็งจะอยูชิดกันมาก าให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร ท ในสถานะของแข็งมีค่ามาก ดังนั้นสารในสถานะของแข็งจึงมีรูปร่ างแน่นอนและมีปริ มาตรคงที่ ่ ั  ของเหลว อนุภาคของสารในสถานะของเหลวจะอยูใกล้กน จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค ค่อนข้างมาก อนุภาคของสารสามารถเคลื่อนที่ได้บาง ้ จึงทาให้สารในสถาน ะของเหลวไหลได้ มีรูปร่ างไม่ แน่นอนขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ แต่มีปริ มาตรคงที่  แก๊ส อนุภาคของสารในสถานะแก๊สอยูห่างกัน แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก ดังนั้นแก๊สจึง ่ มีรูปร่ างและปริ มาตรไม่คงที่ การบูรณาการ  บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรี ยน  การดาเนินงานตามองค์ประกอบ งานสวนพฤกษศาสตร์  การดาเนินงานตามสาระการเรี ยนรูพชศึกษา : มะละกอ ้ ื  บูรณาการหลักสูตรโรงเรี ยนมาตรฐานสากล (Worldclass Standard School)  ทฤษฎีความรู ้ (Theory of Knowledge : TOK)  ความเรี ยงชั้นสูง (Extended- Essay)  โลกศึกษา(Global Education)  กิจกรรมสร้างสรรค์ (CAS:Creativity, Action,Service)  บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ (ระบุ) ................................................................................................  บูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  บูรณาการกับประชาคมอาเซียน  บูรณาการอื่นๆ (ระบุ) ........................................................................................................................... .... ภาระ / ชิ้นงาน / ร่ องรอย /หลักฐานการเรียนรู้ ใบงาน เรื่ อง สถานะของสาร แผนผังมโนทัศน์สรุ ปเกี่ยวกับสถานะของสาร
  • 6. 6 การประเมิน ผู้ประเมิน  ครู ผสอน  นักเรี ยน ู้  เพือน ่  ผูปกครอง ้ สิ่งทีต้องประเมิน ่ วิธีการวัดผล ประเด็นทีประเมิน ่ เกณฑ์ การให้ คะแนน 1. ผลงานนักเรี ยน แบบประเมินผลงาน - การคิดวิเคราะห์ 3 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง / ใบงาน เปรี ยบเทียบและสรุ ปความคิดรวบยอดได้ดี 2 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้ แต่ขยายความหรื อ ยกตัวอย่างไม่ได้ 1 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้นอย ้ - การเขียนสื่ อความ 3 คะแนน = เขียนสื่ อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็น และ เข้าใจง่าย 2 คะแนน = เขียนสื่ อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี 2-3 แห่ ง ตรง ประเด็น 1 คะแนน = เขียนสื่ อความได้นอย ไม่ตรงประเด็น ้ - มีความคิดสร้างสรรค์ 3 คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่ ั กาหนด ระบายสี ได้สวยงาม 2 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนด แต่ไม่ ั ดึงดูดความสนใจ 1 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก ั - ประโยชน์ของการนา 3 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ใน ั ข้อมูลไปใช้ ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม 2 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ในั ชีวิตประจาวันได้บาง ้ 1 คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้นอยมาก ้ การประเมินผล คะแนน 12 -9 = ดี (3) คะแนน 8 - 5 = พอใช้ (2) คะแนน 4 - 0 = ควรปรับปรุ ง (1) 2. พฤติกรรมขณะร่ วม แบบบันทึกการ - ความสนใจในการทา เกณฑ์ การให้ คะแนน กิจกรรมของนักเรี ยน สังเกตและ กิจกรรม ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี ประเมินผล - การมีส่วนร่ วมในการ ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง พฤติกรรมรายบุคคล แสดงความคิดเห็น ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง - การตอบคาถาม - การยอมรับฟังความ คิดเห็นผูอื่น ้ - ทางานตามที่ได้รับ มอบหมาย เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 15 -13 = ดี (3) คะแนน 12 - 9 = พอใช้ (2) คะแนน 8 - 5 = ควรปรับปรุ ง (1)
  • 7. 7 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ทบทวนเกี่ยวกับ สสาร สาร สมบัติของสาร และเชื่อมโยงเข้าสู่ เรื่ อง สถานะของสาร โดยครู ช้ ีแจงว่า วันนี้ครู จะพาทุกๆคนไปเรี ยนรู ้ ในดินแดนแห่งเวทมนต์ ที่มีสารสถานะต่างๆมากมาย 2. ครู เปลี่ยนชุดเป็ นพ่อมด นานักเรี ยนเข้าสู่บรรยากาศของดินแดนเวทมนต์ โดยครู แสดงบทบาทสมมุตเิ ป็ นพ่อมด 3. ครู แสดงกล่องปริ ศนาจานวน 3 กล่อง ซึ่งมีหมายเลข 1 , 2 และ 3 โดยนากล่องมาแสดงให้นกเรี ยนดูทีละกล่อง ั จากนั้นสอบถามนักเรี ยนว่า อยากดูสิ่งของในกล่องใบใดก่อน ซึ่งครู สามารถเปิ ดกล่องใบใดก่อนก็ได้ตามที่นกเรี ยน ั ส่วนใหญ่ตองการ ้ ่ ่ 4. ครู ในบทบาทพ่อมดแสดงสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนาแต่ละกล่อง พร้อมทั้งนานักเรี ยนอภิปรายว่า สิ่งของที่อยูใน ่ กล่องคืออะไร? มีสถานะอะไร? ซึ่งสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนาแต่ละกล่อง มีดงนี้ ั กล่องที่ 1 ก้อนอิฐ สถานะของแข็ง กล่องที่ 2 น้ าแดงบรรจุในขวด สถานะของเหลว กล่องที่ 3 กระป๋ องแก๊สบรรจุสเปรย์น้ าหอม สถานะแก๊ส
  • 8. 8 ่ 5. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไปว่า สารทั้งสามสถานะที่อยูในกล่องทั้งสามใบ มีการจัดเรี ยงตัวของอนุภาคสารเหมือน หรื อต่างกันอย่างไร ขั้นสอน 6. ครู ในบทบาทพ่อมดนากล่องวิเศษมาให้นกเรี ยนแต่ละคนจับสลาก เพือแบ่งกลุ่มตามสลากสีที่ได้รับ จานวน 6 ั ่ กลุ่ม แล้วให้ต้งชื่อกลุ่ม ั 7. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไปว่า สารทั้งสามสถานะ มีการจัดเรี ยงตัวของอนุภาคสารเหมือนหรื อต่างกันอย่างไร เราจะมาศึกษาจากการทากิจกรรมเรื่ อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 8. ครู แจกใบกิจกรรม เรื่ อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ให้นกเรี ยนศึกษาและทาความเข้าใจ ั สมมุตให้ เม็ดโฟม 1 เม็ด ิ โดยกาหนดเวลาประมาณ 5 นาที จากนั้นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับวัสดุอุปกรณ์ แทนอนุภาคของสาร ้ 1. นาขวดพลาสติกขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่กนขวดเจาะรู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 อนุภาค 1 มิลลิเมตร ประมาณ 10-15 รู บรรจุเม็ดโฟมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 -10 มิลลิเมตร ลงในขวดใบนี้ประมาณ 80 ลูกบาศก์เซนติเมตร ปิ ดปากขวดด้วยจุกยางที่มีท่อนาแก๊ส 1 ่ ั ท่อเสียบอยูดงภาพ 2. คว่าปากขวดลง จากนั้นเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ สังเกต การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม บันทึกผล 3. ค่อยๆ เป่ าลมให้แรงมากขึ้นเรื่ อยๆ จนถึงแรงที่สุด สังเกตการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม บันทึกผลการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เป่ าลมลงในขวด 9. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มปฏิบติกิจกรรมแล้วบันทึกผล และตอบคาถามท้ายกิจกรรม จากนั้นครู สุ่มตัวแทนกลุ่มเพือ ั ่ นาเสนอ แล้วอภิปรายร่ วมกัน 10. ครู ในบทบาทพ่อมด ร่ ายคาถาเสกตัวแทนนักเรี ยนออกมาร่ วมกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนจานวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
  • 9. 9 11. ครู ในบทบาทพ่อมดเสกให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติเป็ นอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ดังนี้ ั กลุ่มที่ 1 ให้นกเรี ยนแต่ละคนกอดคอกันให้แน่นเป็ นวงกลม ั กลุ่มที่ 2 ให้นกเรี ยนแต่ละคนจับมือกันให้แน่นล้อมเป็ นวงกลม ั กลุ่มที่ 3 ให้นกเรี ยนแต่ละคนปล่อยมือเป็ นอิสระจากกัน ั 12. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไป โดยครู ในบทบาทพ่อมด พยายามออกแรงกระทา ดึงตัวนักเรี ยนให้แต่ละกลุ่มให้ แยกตัวออกจากกัน และลองให้ท้งกลุมเคลื่อนที่ผานช่องแคบๆ แล้วใช้คาถามนานักเรี ยนอภิปรายเชื่อมโยงไปสู่การ ั ่ ่ จัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ให้นกเรี ยนแต่ละคนกอดคอกันให้แน่นเป็ นวงกลม ั เกาะตัวกันแน่น เรี ยงชิดติดกัน รู ปร่ างเปลี่ยนยาก ยบเหมือนการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถาน เปรี ะของแข็ง กลุ่มที่ 2 ให้นกเรี ยนแต่ละคนจับมือกันให้แน่นล้อมเป็ นวงกลม ั เกาะตัวกันหลวมๆ ไม่เรี ยงชิดติดกัน รู ปร่ างเปลี่ยนง่าย เปรี ยบเหมือนการจัดเรี ยงอนุภาคของสารใน สถานะของเหลว กลุ่มที่ 3 ให้นกเรี ยนแต่ละคนปล่อยมือเป็ นอิสระจากกัน ั เป็ นอิสระจากกัน อยูห่างกันมาก รู ปร่ างไม่คงที่ เปรี ยบเหมือนการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะแก๊ส ่
  • 10. 10 13. ครู ในบทบาทพ่อมดเสกกล่องปริ ศนา 6 กล่อง โดยแจกให้กบนักเรี ยนทั้ง 6 กลุ่มกลุ่มละ 1 กล่อง ให้แต่ละกลุ่ม ั ่ เปิ ดกล่องปริ ศนาและอ่านปริ ศนาคาทายในกล่อง เพือหาคาตอบว่า สิ่งที่อยูภายในคืออะไร มีสถานะใด ่ 14. ครู ในบทบาทพ่อมดเสกให้นกเรี ยนทุกคนเป็ นอนุภาคของสาร แล้วจับตัวกันเป็ นแบบจาลองอนุภาคของสาร ั ตามสถานะของสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนา ทีละกลุ่มโดยให้เพือนกลุ่มอื่นๆร่ วมกันทายว่า คือสิ่งที่อยูในกล่องปริ ศนา ่ ่ ่ คืออะไร มีสถานะใด ในลักษณะของเกม 10 คาถาม ซึ่งมีกติกาว่า ให้กลุ่มอื่นๆทายโดยใช้คาถามว่า สิ่งนั้นคือ...... ใช่หรื อไม่ ได้ไม่เกิน 10 คาถามเท่านั้น จากนั้นครู ในบทบาทพ่อมด ยืนกลางห้องเรี ยน เสกให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม ั ่ จับตัวกันเป็ นแบบจาลองอนุภาคของสารตามสถานะที่พอมดกาหนด เพือเป็ นการตรวจสอบความเข้าใจของ ่ นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม 15. นานักเรี ยนอภิปรายต่อไป โดยครู ในบทบาทพ่อมด ใช้ลูกบอลพลาสติกสีแดง แทนอนุภาคของสารหนึ่งอนุภาค 16. จากนั้นแสดงแบบจาลองอนุภาคของสารที่แทนด้วยลูกบอลพลาสติกของแต่ละสถานะให้นกเรี ยนสังเกต ั แล้วตอบว่าเป็ นแบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะใด โดยเชื่อมโยงกับสิ่งของในกล่องแล้วร่ วมกันอภิปรายสรุ ป แบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะของแข็ง แบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะของเหลว แบบจาลองของอนุภาคสาร ในสถานะแก๊ส
  • 11. 11 ขั้นสรุป 17. ครู ในบทบาทพ่อมด เสกกระดาษฟลิบชาร์ต แจกให้นั กเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันเขียนแผนผังมโนทัศน์ สรุ ปเกี่ยวกับสถานะของสาร โดยกาหนดเวลาประมาณ 20 นาที 18. เมื่อหมดเวลา ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มนากระดาษฟลิปชาร์ตไปติดไว้รอบๆห้องเรี ยน ั 19. ครู ช้ ีแจงให้นกเรี ยนไปเดินเยียมชมผลงานของเพือนๆ แต่ละกลุ่ม โดยครู ในบทบาทพ่อมดเสกคาถา แจกดาว ั ่ ่ ให้นกเรี ยนคนละ 1 ดวง เพือให้นาดาวไปติดบนกระดาษฟลิปชาร์ตของกลุ่มที่ตนเองชอบ ซึ่งครู ควรชี้แจงให้ ั ่ นักเรี ยนพิจารณาใน 2 ประเด็นสาคัญ คือ ความถูกต้องของเนื้อหาและความสร้างสรรค์สวยงามของผลงาน 20. ครู นบดาวบนกระดาษฟลิปชาร์ตของนักเ รี ยนแต่ละกลุ่ม โดยคั ดเลือกกลุ่มที่มีจานวนดาวสูงสุด 2-3 กลุ่ม ั เพือออกมานาเสนอ หน้าชั้นเรี ยน ่ 21. ครู นานักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ การจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ซึ่งควรสรุ ปได้วา ่ การจาแนกประเภทของสาร โดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ จาแนกได้เป็ น 3 ลักษณะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ่  ของแข็ง อนุภาคของสารในสถานะของแข็งจะอยูชิดกันมาก าให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร ท ในสถานะของแข็งมีค่ามาก ดังนั้นสารในสถานะของแข็งจึงมีรูปร่ างแน่นอนและมีปริ มาตรคงที่ ่ ั  ของเหลว อนุภาคของสารในสถานะของเหลวจะอยูใกล้กน จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค ค่อนข้างมาก อนุภาคของสารสามารถเคลื่อนที่ได้บาง ้ จึงทาให้สารในสถานะของเหลวไหลได้ มีรูปร่ างไม่ แน่นอนขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ แต่มีปริ มาตรคงที่  แก๊ส อนุภาคของสารในสถานะแก๊สอยูห่างกัน แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก ดังนั้นแก๊สจึง ่ มีรูปร่ างและปริ มาตรไม่คงที่ 22. ครู ในบทบาทพ่อมด นานักเรี ยนร้องเพลง “สถานะของสาร” เพือให้นกเรี ยนเข้าใจและสามารถจดจาได้ดียงขึ้น ่ ั ิ่
  • 12. 12 เพลงสถานะของสาร เนื้อร้องโดย ครู กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ทานอง เพลง Nobody ศิลปิ นวง Wonder Girl ******************************************************** สถานะของสารมีสามสถานะ สถานะของสารมีสามสถานะ คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส จาไว้มีสามสถานะ มีสามสถานะ หนึ่งคือของแข็งที่รูปร่ างนั้นคงที่ อนุภาคเรี ยงชิดกันดี ปริ มาตรคงที่เช่นกัน สองคือของเหลว ที่รูปร่ างเปลี่ยนแปรผัน อนุภาคไม่ชิดติดกัน ปริ มาตรนั้นก็คงที่ และสามคือแก๊สที่ฟุ้งกระจาย อนุภาคมากมายห่างไกลเต็มที ทั้งรู ปร่ างปริ มาตร ไม่มีอะไรคงที่ ทั้งสามสถานะนี้จงรู ้เอาไว้ สถานะของสารมีสามสถานะ สถานะของสารมีสามสถานะ คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส จาไว้มีสามสถานะ มีสามสถานะ... 23. ครู ให้นกเรี ยนมารับใบงาน เรื่ อง สถานะของสาร เพือเป็ นการสรุ ปและประเมินความรู ้ ความเข้าใจของนักเรี ยน ั ่ 24. ครู ในบทบาทพ่อมด แปลงร่ างกลับมาเป็ นคนเหมือนเดิม แสดงบทบาทเป็ นครู ตามปกติ
  • 13. 13 สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ 1. กล่องกระดาษขนาดใหญ่ 1 ใบ 2. กล่องกระดาษขนาดกลาง 3 ใบ 3. กล่องกระดาษขนาดเล็ก 6 ใบ 4. ก้อนอิฐ 1 ก้อน 5. น้ าผสมสี 1 ขวด 6. ภาชนะใส่ของเหลวรู ปทรงต่างๆ 7. กระป๋ องสเปรย์น้ าหอม 1 กระป๋ อง 8. ลูกบอลพลาสติกเล็ก 12 ลูก 9. ถุงพลาสติกใสขนาดใหญ่ 1 ใบ 10. อุปกรณ์ทดลองเรื่ อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ได้แก่ ้ - ขวดพลาสติกขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตรที่กนขวดเจาะรู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตร ประมาณ 10-15 รู 6 ขวด - เม็ดโฟมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 -10 มิลลิเมตร - จุกยาง 6 อัน - ท่อนาแก๊ส รู ปตัว L 6 อัน 11. ใบงาน เรื่ อง สถานะของสาร 12. หนังสือเรี ยนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 13. อุปกรณ์สาหรับแต่งกายเป็ นพ่อมด เช่น ผ้าสีดา หมวก ไม้ปัดขนไก่ ฯลฯ 14. แผ่นชาร์ทเพลงสถานะของสาร 15. ธงสีพร้อมฐานตั้งสาหรับแบ่งกลุ่ม 6 ชุด
  • 14. 14 ใบงาน เรื่อง สถานะของสาร ชื่อ ………………………………………. ชั้น ……………… เลขที่ ……..…….. วันที่ ………………………... จงตอบคาถามต่ อไปนี้ ่ 1. ให้นกเรี ยนยกตัวอย่าง สารที่อยูในสถานะต่างๆ มาอย่างน้อยสถานะละ 5 อย่าง ั สถานะของแข็ง ได้แก่ ……………………………………………………………………………………... สถานะของเหลว ได้แก่ …………………………………………………………….……………………… สถานะแก๊ส ได้แก่ ………………………………………………………………………………………….. 2. สารในชีวตประจาวันที่เราพบเห็นในทั้ง 3 สถานะ คือ …………………………………………………............. ิ 3. ให้นกเรี ยนสังเกตสารทั้ง 3 ชนิดในภาพ แล้วตอบคาถาม ั สารแต่ละชนิดจะมีสมบัติทางกายภาพต่างกัน ขึ้นอยูกบการเรี ยงตัวของอนุภาคการมีช่องว่างระหว่าง ่ั อนุภาคมากจะทาให้อนุภาคแต่ละตัวเคลื่อนที่ได้มาก แต่ถาช่องว่างมีนอยการเคลื่อนที่ของอนุภาคก็จะเกิดขึ้นน้อย ้ ้ สาร ก สาร ข สาร ค 1. อนุภาคของสารใดจะเคลื่อนที่ได้มากที่สุด .................................................................................. ........... 2. สารใดจะเปลี่ยนรู ปร่ างไปได้หลายแบบเมื่อถูกแรงบีบหรื ออัด ................................................. ............. 3. อนุภาคของสารใดเมื่อวางบนพื้นราบจะยังคงรู ปเดิมไม่แบนราบไปกับพื้น ........................................... 4. สารใดมีความหนาแน่นมากที่สุด ................................................................................................. .......... 4. สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารคือสิ่งใด ……………………………………………….. 5. จงวาดภาพ และเขียนอธิบายการจัดเรี ยงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้ สถานะ ภาพแสดงการ อธิบายการจัดเรียงอนุภาค จัดเรียงอนุภาค ………………………………………………….………. ………………………………………………….………. ของแข็ง ………………………………………………….………. ………………………………………………….………. ………………………………………………….………. ของเหลว ………………………………………………….………. ………………………………………………….………. ………………………………………………….………. แก๊ส ………………………………………………….………..
  • 15. 15 ชื่อ........................................................ ชั้น ม. ............ เลขที่.......... 0. กิจกรรม เรื่อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สมมุตให้ เม็ดโฟม 1 เม็ด ิ วิธีทดลอง แทนอนุภาคของสาร ้ 1. นาขวดพลาสติกขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่กนขวดเจาะรู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 อนุภาค 1 มิลลิเมตร ประมาณ 10-15 รู บรรจุเม็ดโฟมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 -10 มิลลิเมตร ลงในขวดใบนี้ประมาณ 80 ลูกบาศก์เซนติเมตร ปิ ดปากขวดด้วยจุกยางที่มีท่อนาแก๊ส 1 ่ ั ท่อเสียบอยูดงภาพ 2. คว่าปากขวดลง จากนั้นเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ สังเกตการเคลื่อนตัว ของเม็ดโฟม บันทึกผล 3. ค่อยๆ เป่ าลมให้แรงมากขึ้นเรื่ อยๆ จนถึงแรงที่สุด สังเกตการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม บันทึกผลการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เป่ าลมลงในขวด ตารางบันทึกผล การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน / การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม ้ เป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ เป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สแรงขึ้นเรื่ อยๆ เป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างแรงที่สุด คาถามท้ ายกิจกรรม 1. การเป่ าลมใส่ในขวดพลาสติกด้วยกาลังลมที่แรงแตกต่างกัน ทาให้เม็ดโฟมเคลื่อนที่แตกต่างกันอย่างไร ........................................................................................................... ............................................................... 2. จากการทดลอง สรุ ปได้วา ่ 2.1 การเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างช้าๆ เบาๆ การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมเปรี ยบได้กบสถานะใด ั ...................................เพราะ....................................... ....................................................................................... 2.2 การเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สแรงขึ้นเรื่ อยๆ การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมเปรี ยบได้กบสถานะใด ั ...................................เพราะ......................................... ..................................................................................... 2.3 การเป่ าลมเข้าไปในท่อนาแก๊สอย่างแรงที่สุด การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมเปรี ยบได้กบสถานะใด ั ...................................เพราะ........................................... ................................................................................... 3. เมื่อเปรี ยบเทียบลักษณะการเคลื่อนตัวของเม็ดโฟมกับสถานะของสาร สารในสถานะใดมีพลังงานในตัวเองมาก ที่สุด ...................................................................... ............................................................