SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 114
Baixar para ler offline
LOGO
       E-learning กับ Social Media
   จะไปด้ วยกันได้ อย่ างไรเพือการพัฒนาการศึกษาไทย
                              ่
www.themegallery.com




            ทาไม     ?
ต้ องใช้ E-learning กับ Social Media
          ในการจัดการศึกษา
                                COMPANY LOGO
www.themegallery.com




เมื่อโลกไร้ พรมแดน ด้ วยการติดต่ อสื่อสารทางอินเตอร์ เน็ต
 เมื่อสังคมเกิดขึนในโลกออนไลน์ ด้วย Social Networking
                    ้
      เมื่อความรู้ใหม่ เกิดขึนทุกๆวินาทีบนโลกใบนี้
                              ้
         เมื่อการศึกษามิได้ จากัดอยู่แต่ ภายในห้ องเรียน
      เมื่อมนุษย์ใช้ ICT เป็ นส่ วนหนึ่งของชีวตประจาวัน
                                               ิ
 เมื่อลูกหลานของเราก้ าวเข้ าสู่ การใช้ ชีวตในศตวรรธที่ 21
                                            ิ


                                                 COMPANY LOGO
www.themegallery.com




แผนการศึกษาแห่ งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559)
           ได้ วิเ คราะห์ ส ภาวการณ์ แ ละแนวโน้ ม บริ บ ทสั ง คมโลกและ
สั งคมไทยที่มีผลต่ อการศึ กษา ไว้ ว่า สภาวการณ์ โลกกาลังเคลื่อนจาก
ยุคข้ อมูลข่ าวสาร ผ่ านยุคสารสนเทศเข้ าสู่ ยุคสั งคมใหม่ ในคลื่นของ
โลกาภิวัตน์ ท่ีไร้ พรมแดน คลื่นดังกล่ าวได้ พัดพามนุ ษย์ จากยุคหนึ่ ง
ไปสู่ ยุ ค หนึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิด การเรี ย นรู้ ที่ จ ะอยู่ ใ นโลกนี้ไ ด้ ท่ า มกลางการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โลกในยุคโลกาภิวัตน์ มีพลโลกที่มีวิธีปฏิบั ติ
เรี ยนรู้ วัฒนธรรมและค่ านิ ยมร่ วมกันมากขึ้น โลกกาลังจะกลายเป็ น
แบนราบด้ วยความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่ อสาร
                                                                       COMPANY LOGO
www.themegallery.com




          การรวมตัวของประชาชาติในอาเซี ยน ซึ่งไทยเป็ น 1 ใน 10
ประเทศภาคีสมาชิ ก ซึ่ งมีความร่ วมมือกันทางด้ านเศรษฐกิจ สั งคม
การเมือง การปกครอง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการสื่ อสาร เหล่ านี้
ล้ วนเป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญในยุคโลกาภิวัตน์ ท้ังสิ้ น ประเทศไทย
เป็ นสั ง คมย่ อ ยสั ง คมหนึ่ ง ในสั ง คมโลกยุ ค โลกาภิ วัต น์ ที่ย่ อ มได้ รั บ
ผลกระทบทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ประชากรในประเทศจะต้ อ ง
สามารถที่จะเรี ย นรู้ ท่ีจะอยู่ ร่วมในโลกใบนี้ได้ อย่ า งชาญฉลาด ด้ ว ย
กลไกของการศึกษา

                                                                  COMPANY LOGO
www.themegallery.com




     แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555
– 2559) ได้ กาหนดกรอบยุทธศาสตร์ การพัฒนาคนสู่ สังคมแห่ งการเรี ยนรู้
ตลอดชี วตอย่ างยั่งยืน ไว้ ประการหนึ่งว่ า การพัฒนาประเทศสู่ ความสมดุลและ
             ิ
ยังยืนจะต้ องให้ ความสาคัญกับการเสริ มสร้ างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้ เข้ มแข็ง
  ่
และมีพลังเพียงพอในการขับเคลือนกระบวนการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการ
                                       ่
พั ฒ นาคนหรื อ ทุ น มนุ ษ ย์ ใ ห้ เ ข้ ม แข็ ง พร้ อมรั บ การเปลี่ ย นแปลงโลกในยุ ค
ศตวรรษที่ 21 และ การเสริ มสร้ างปั จจัยแวดล้ อมที่เอื้อต่ อการพัฒนาคุณภาพ
ของคนทั้ง ในเชิ งสถาบัน ระบบ โครงสร้ างของสั งคม ให้ เข้ มแข็ง สามารถ
เป็ นภูมิค้ ุมกันการเปลียนแปลงต่ างๆ ทีจะเกิดขึนในอนาคต
                        ่                    ่       ้

                                                                    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         แผนแม่ บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ฉบับที่ 2
พ.ศ. 2552 – 2556 ได้ กาหนดให้ การพัฒนา ICT มีเป้ าหมายเชิงพัฒนา
สู่ สังคมแห่ งภู มิปัญญาและการเรี ยนรู้ โดยการกาหนดวิสัยทัศน์ คือ
“ประเทศไทยเป็ นสั งคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ด้ วย ICT”




                                                      COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         “สังคมอดมปัญญา” ในทีนี้หมายถึงสังคมทีมีการพัฒนาและใช้
                  ุ              ่                   ่
เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารอย่ า งชาญฉลาด โดยใช้ แ นว
ปฏิบั ติ ข องปรั ช ญาเศรษฐกิจ พอเพีย ง ประชาชนทุ ก ระดั บ มี ค วาม
เฉลียวฉลาด (Smart) และรอบร้ ู สารสนเทศ (Information Literacy)
สามารถเข้ า ถึ ง และใช้ สารสนเทศอย่ างมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม
มีวจารณญาณและร้ ู เท่ าทัน ก่ อให้ เกิดประโยชน์ แก่ ตนและสั งคม มีการ
    ิ
บริ หารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารที่มีธรรมาภิบาล
(Smart Governance) เพื่อสนั บสนุนการพัฒนาสู่ เศรษฐกิจและ
สังคมฐานความร้ ูและนวัตกรรมอย่ างยังยืนและมั่นคง”
                                        ่
                                                          COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารที่มีต่อ
การจั ด การศึ ก ษา ท าให้ ทุ ก ภาคส่ วนได้ ต ระหนั ก เป็ นวาระส าคั ญ
ดัง ในพระราชบั ญญั ติ การศึ กษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2542. แก้ ไ ขเพิ่มเติ ม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
หมวด 9 เทคโนโลยีเพือการศึกษา
                      ่
       มาตรา 65 ให้ มีก ารพัฒ นาบุ ค ลากรทั้ ง ด้ า นผู้ ผ ลิต และผู้ ใ ช้
เทคโนโลยีเพือการศึกษา เพือให้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะใน
            ่                 ่
การผลิ ต รวมทั้ ง การใช้ เทคโนโลยี ที่ เ หมาะสม มี คุ ณ ภาพ และ
ประสิ ทธิภาพ
                                                              COMPANY LOGO
www.themegallery.com




        มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้ รับการพัฒนาขีดความสามารถใน
การใช้ เทคโนโลยีเพือการศึกษาในโอกาสแรกที่ทาได้ เพือให้ มีความรู้
                      ่                                 ่
และทักษะเพียงพอที่จะใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึ กษาในการแสวงหา
ความรู้ ด้ วยตนเองได้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดชีวติ
        มาตรา 67 รั ฐต้ องส่ งเสริ มให้ มีการวิจัยและพัฒนา การผลิต
และการพั ฒ นาเทคโนโลยี เ พื่ อ การศึ ก ษา รวมทั้ ง การติ ด ตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึ กษา เพื่อให้
เกิดการใช้ ทคุ้มค่ าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ ของคนไทย
             ี่

                                                        COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         สานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์ ก ารมหาชน) (สมศ. ) ซึ่ ง เป็ นองค์ ก รที่ มี ห น้ า ที่ ใ นการรั บ รองรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ได้ กาหนด ตัวบ่ งชี้
ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) สาหรับสถานศึกษา
ขั้ น พื้ น ฐาน ในตั ว บ่ ง ชี้ ที่ 3.1 ผู้ เ รี ย นค้ น คว้ า หาความรู้ จากการอ่ า นและ
ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบ่ งชี้ ที่ 6.2 กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ของครู
ได้ กาหนดประเด็นครู สามารถจั ดการเรี ยนการสอนอย่ างมีประสิ ทธิ ภาพโดย
เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ โดยให้ มการประเมินการจัดเตรี ยมและใช้ สื่อให้ เหมาะสม
                                     ี
กับกิจกรรม นาภู มิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุ กต์ ในการ
จัดการเรียนการสอน ของครู ทุกคน
                                                                         COMPANY LOGO
www.themegallery.com




      กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ได้ จั ด ท าแผนแม่ บทเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ การศึ ก ษา กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร
พ.ศ. 2554-2556 และได้ กาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่ อสาร เพือการศึกษา ไว้ 4 ประการ คือ
                            ่
      1. สร้ างกาลังคนให้ มีศักยภาพในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสารอย่ างสร้ างสรรค์ มีธรรมาภิบาล คุณธรรม จริ ยธรรม
วิจารณญาณ และรู้ เท่ าทัน รวมทั้งเพิมขีดความสามารถในการแข่ งขัน
                                    ่
ของประเทศไทย

                                                     COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         2. สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน ด้ ว ยการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ เพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการศึ ก ษาของ
ประเทศไทย
         3. พัฒนาโครงสร้ างพืนฐานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
                             ้
สื่ อสาร เพือสนับสนุนด้ านการศึกษาของประเทศไทย
            ่
         4. ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพื่อสนับสนุนการ
บริหารจัดการและการบริการด้ านการศึกษา ซึ่งจะเอือต่ อการสร้ างธรร
                                                   ้
มาภิบาลของสั งคม

                                                       COMPANY LOGO
www.themegallery.com




           หลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศั กราช 2551
มุ่ ง ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด สมรรถนะส าคั ญ 5 ประการ โดยมี ส มรรถนะ
ทีเ่ กียวกับการใช้ เทคโนโลยี 1 สมรรถนะ คือ
       ่
           ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการ
เลือ ก และใช้ เ ทคโนโลยี ด้ า นต่ า ง ๆ และมี ทั ก ษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพื่ อ การพั ฒ นาตนเองและสั ง คม ในด้ า นการเรี ย นรู้
การสื่ อ สารการท างาน การแก้ ปั ญ หาอย่ า งสร้ างสรรค์ ถู ก ต้ อง
เหมาะสม และมีคุณธรรม

                                                       COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




       นโยบายของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ในการพั ฒ นาเยาวชน
ของชาติเข้ าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่ งเสริ มผู้เรี ยนมีคุณธรรม
รักความเป็ นไทย ให้ มทกษะการคิดวิเคราะห์ สร้ างสรรค์ มีทักษะด้ าน
                      ี ั
เทคโนโลยี สามารถทางานร่ วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ในสั งคมโลกได้ อย่ างสั นติ




                                                           COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    ทราบอย่ างนีแล้ว !
                ้
    เราในฐานะ “ครู อาจารย์ ”
 ที่ทาหน้ าที่ในการจัดการศึกษา
       เพือพัฒนาเยาวชน
          ่
จะใช้ ICT เพือพัฒนาการศึกษา
                 ่
            ได้ อย่ างไร?
                        COMPANY LOGO
www.themegallery.com




        แผนแม่ บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพือการศึกษา
                                                      ่
กระทรวงศึ กษาธิการ พ.ศ. 2554-2556         ได้ ให้ ความหมายของ
เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (Information and
Communication Technology : ICT)” ไว้ ว่า หมายถึง เทคโนโลยีที่
เกียวกับระบบคอมพิวเตอร์ ระบบซอฟต์ แวร์ ระบบข้ อมูลสารสนเทศ
   ่
ระบบเครื อ ข่ า ย ระบบโทรคมนาคม วิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น์ ที่ ใ ช้ เพื่ อ
การศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556. 2554 : 1)


                                                          COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    E-learning กับ Social Media
จึงเป็ นส่ วนหนึ่งของการใช้ เทคโนโลยีเพือการศึกษา
                                         ่
           โดยใช้ อนเตอร์ เน็ต ในยุค Web 2.0
                   ิ




                                          COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         ปั จ จุ บั น วิ ถี ก ารใช้ Internet   ของเราเปลี่ ย นไปจากเดิ ม
ที่ผ่านมามาก จากที่เราใช้ Internet เพื่อ ส่ ง Email, คุยกับเพื่อนด้ วย
Chat Room หรือ IM, Download โปรแกรมใหม่ , Search หาข้ อมูล,
แลกเปลี่ยนความเห็นที่ Web Board, อ่ านข่ าว ฯลฯ สิ่ งเหล่ านี้คือ
Feature หลักๆที่เราใช้ งาน แต่ ลองมาคิดถึงปัจจุบันเรากลับใช้ Internet
เพื่อเขียน BLOG, แชร์ Photo, ร่ วมเขียน Wiki, Post Commment
ในข่ าว, หาแหล่ งข้ อมูลด้ วย RSS เพือ Feed มาอ่ านที่ Desktop, และ
                                             ่
Google จะเห็นได้ ว่าวิถีการใช้ ชีวิตบน Internet ของเรา เริ่ มเปลี่ยน
ไปแล้ว
                                                           COMPANY LOGO
www.themegallery.com




          เว็บ 2.0 (Web 2.0) มีความเชื่ อมโยงกับโปรแกรมประยุกต์ บนเว็บ
ซึ่งมีลกษณะส่ งเสริมให้ เกิดการแบ่ งปันข้ อมูล การพัฒนาในด้ านแนวความคิดการ
         ั
ออกแบบที่เน้ นผู้ใช้ งานเป็ นศู นย์ กลางuser-centered design และ การร่ วมสร้ าง
ข้ อมูลในโลกของอินเทอร์ เน็ตเวิลด์ ไวด์ เว็บ
           เว็ บ ไซต์ ที่ อ อกแบบโดยใช้ หลั ก การของเว็ บ 2.0 ท าให้ ก ลุ่ ม ผู้ ใ ช้ งาน
สามารถปฏิสัมพันธ์ และร่ วมมือกันในลักษณะของสื่ อสั งคมออนไลน์ โดยกลุ่ม
ผู้ใช้ งานเป็ นผู้สร้ างเนือหาขึนเอง ต่ างจาก เว็บ 1.0 ทีกลุ่มผู้ใช้ ถูกจากัดบทบาทโดย
                            ้   ้                        ่
ทาได้ แค่ เพียงการเยี่ยมชม หรื อดูเนื้อหาที่ผ้ ูใช้ สนใจ สาหรั บตัวอย่ างของเว็บ 2.0
ได้ แก่ บล็อก เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ สารานุ ก รมเสรี วิดี โอแชริ ง โปรแกรม
ประยุกต์ บนเว็บ ฯลฯ
                                                                         COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




        เว็บ 2.0 ส่ วนใหญ่ จะมีลกษณะและคุณสมบัติ ส่ วนใดส่ วนหนึ่งหรือ
                                ั
ทั้งหมดดังนี้ :
Search
Links
Authoring                                          วิกิ
        บล็อก
Tags

Extension                เว็บแอปพลิเคชัน                      อะโดบี รีดเดอร์
แฟลช ไมโครซอฟท์ ซิลเวอร์ ไลต์ แอ็กทีฟเอ็กซ์ จาวา ควิตไทม์
Signals                                                     RSS Atom

                                                                 COMPANY LOGO
www.themegallery.com




●   ผู้ชม เป็ น ผู้ผลิตเนือหา
                          ้
●   ความสั มพันธ์ 2 ทาง แทนทางเดียว
●   มือสมัครเล่น กลายเป็ น มืออาชีพ
●   ปริมาณเนือหาเพิมขึนอย่ างรวดเร็ว
             ้     ่ ้



                                           COMPANY LOGO
www.themegallery.com




●   Blog
●   Wiki
●   Video Online (YouTube)
●   Photo Sharing (Flickr, Picasa)
●   Document Sharing (Slideshare, Scribd)
●   Social Network
    ●   Social Media
                                            COMPANY LOGO
www.themegallery.com




E-learning กับ Social Media
           คืออะไร
  เหมือนหรือต่ างกันอย่ างไร ?


                              COMPANY LOGO
www.themegallery.com




คืออะไร ?



     COMPANY LOGO
www.themegallery.com




          E-Learning (Electronic learning) คือ การเรียนรู้ ผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
ความหมายของ E-learning ถูกตีความต่ างกันไปตามประสบการณ์ ของแต่ ละคน
แต่ มีส่วนทีเ่ หมือนกันคือใช้ เทคโนโลยี เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ โดยมีการพัฒนา
ตลอดเวลา ตามความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี โดยเฉพาะอิน เทอร์ เน็ ต เข้ า มา
ส่ งเสริ มการเรี ยน การสอน ให้ เกิดประสิ ทธิ ผล ที่อาจอยู่ในรู ปของการสอนทาง
เดียว หรือการสอนแบบปฎิสัมพันธ์ ได้ คาว่า E นั้นย่อมาจาก Electronic ส่ วนคาว่ า
learning มีความหมายตรงตัวว่ า การเรี ยนรู้ เมื่อนามารวมกันหมายถึงการเรี ยนรู้
โดยใช้ electronic หรื อ internet เป็ นสื่ อ ค าที่มี ค วามหมายใกล้ เคียง เช่ น
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI = Computer Assisted Instruction) หรือ การสอน
บนเว็บ (WBI = Web-based Instruction) เป็ นต้ น
                                                                    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




คืออะไร ?



     COMPANY LOGO
www.themegallery.com




มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่ อหรือเครื่องมือทีใช้ เพือการสื่ อสาร
                                                        ่ ่
โซเชียล (“Social”) หมายถึง สั งคม
ในบริ บ ทของโซเชี ย ลมีเ ดี ย โซเชี ย ลหมายถึง การแบ่ ง ปั น ในสั ง คม
ซึ่ งอาจจะเป็ นการแบ่ งปั นเนื้อหา (ไฟล์ , รสนิ ยม ความเห็น …) หรื อ
ปฏิสัมพันธ์ ในสั งคม (การรวมกับเป็ นกลุ่ม…)
โซเชี ย ลมีเ ดี ย ในที่ นี้ ห มายถึ ง สื่ อ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ท าให้ ผู้ ใ ช้ แ สดง
ความเป็ นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์ กับหรื อแบ่ งปั นข้ อมูล
กับบุคคลอืน่
                                                                        COMPANY LOGO
www.themegallery.com




โซเชี ย ลมี เ ดี ย ส่ วนใหญ่ จ ะเป็ นเว็ บ แอปพลิเ คชั น 2.0 ซึ่ ง จะมี ก าร
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างผู้ให้ และผู้รับข้ อมูล
ทีวีและหนังสื อพิมพ์ ที่เป็ นกระดาษเป็ นสื่ อ แต่ เป็ นสื่ อของการสื่ อสาร
ทางเดียว ผู้รับข้ อมูลไม่ สามารถตอบกลับผู้ให้ ข้อมูลทันทีทนใดได้  ั
แต่ โ ซเชี ย ลมีเ ดี ย จะเป็ นสื่ อที่มีก ารสื่ อสาร 2 ทาง กล่ า วคือ ผู้ รั บ ข้ อ มู ล
สามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผู้ให้ ข้อมูลได้
การให้ ข้อคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ
การพูดคุยผ่ านโปรแกรมสนทนาออนไลน์ หรือเว็บบอร์ ด
การให้ ข้อคิดเห็นและบันทึกว่ าชอบสไลด์
                                                                       COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




ตีพมพ์: บล็อก, วิกพเี ดีย, เว็บรวมทีให้ ทุกคนโพสต์ ข่าว
       ิ               ิ              ่
แบ่ งปัน: วิดีโอ, รู ปภาพ, ดนตรี, ลิงก์
การอภิปราย: การเสวนา, โปรแกรมสนทนาออนไลน์
เครือข่ ายสั งคม: เครือข่ ายสั งคมโดยทัวไปและเครือข่ ายสั งคมเฉพาะ
                                         ่
ด้ าน
การตีพมพ์แบบไมโคร: ไมโครบล็อก
          ิ
เครื่องมือทีรวมข้ อมูล จากหลายแหล่งโซเชียลมีเดียเข้ าด้ วยกัน
              ่
(Social aggregation tools)

                                                        COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




ยูทูบ: แหล่งรวมวิดีโอออนไลน์ ทใหญ่ ทสุดในโลก
                              ี่    ่ี




                                            COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




ตัวอย่ าง Augmented Reality




                              COMPANY LOGO
www.themegallery.com




 โซเชียลมีเดียเป็ นเครื่องมือออนไลน์ ททาให้ เรามีปฏิสัมพันธ์ กบผู้อน
                                           ี่                     ั ่ื
ด้ วยการแบ่ งปันข้ อมูลหรือพูดคุยกัน
 โซเชียลมีเดียมีท้งข้ อดีและข้ อเสี ย ไม่ ควรทีจะปิ ดกั้นตัวเองไม่ ใช้
                      ั                         ่
แต่ กไม่ ควรทีจะใช้ อย่ างไม่ มวนัย
     ็        ่                ีิ
 เราควรจะเรียนรู้ ทจะใช้ โซเชียลมีเดียให้ เหมาะสมและให้ เป็ น
                         ี่
ประโยชน์



                                                           COMPANY LOGO
www.themegallery.com




เราจะใช้ E-learning กับ Social Media
   เพือพัฒนาการศึกษาได้ อย่ างไร ?
      ่
                               COMPANY LOGO
www.themegallery.com




อาจกล่าวได้ ว่า Social Media เป็ นส่ วนหนึ่งของ E-learning ในการจัดการศึกษา
                                                              COMPANY LOGO
www.themegallery.com




ดังทีได้ ยกตัวอย่ างไปแล้วว่ า Social Media คือ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
        ่
ทีทาให้ ผู้ใช้ แสดงความเป็ นตัวตนของตนเองเพือทีจะมีปฏิสัมพันธ์ กน
  ่                                            ่ ่                   ั
หรือแบ่ งปันข้ อมูลกับบุคคลอืน ่
    ดังนั้นเราสามารถใช้ คุณสมบัติของ Social Media ในการส่ งเสริม
การเรียนรู้ ของผู้เรียนแบบ E-Learning ได้ เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะในด้ าน
   - การติดต่ อ สื่ อสาร กากับติดตาม ประสานงาน การส่ งงานผ่าน Social Media
และการแบ่ งปันความรู้ ระหว่ างผู้สอน-ผู้สอน ผู้สอน-ผู้เรี ยน ผู้เรี ยน-ผู้เรี ยน
   - การใช้ Social Media เป็ นสื่ อการเรี ยนรู้ ประกอบการเรี ยนการสอน
   - การใช้ Social Media เป็ นส่ วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
   - การใช้ Social Media รวบรวมแหล่ งเรียนรู้ ต่างๆในการศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเอง
                                                                COMPANY LOGO
www.themegallery.com




ลักษณะการนา E-learning และ Social Media
ไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้ เพือพัฒนาการศึกษา
                             ่




                                      COMPANY LOGO
www.themegallery.com




1. ครู ผู้สอนสอนโดยใช้ E-learning และ Social Media มาเป็ นเครื่องมือ
ประกอบการจัดการเรียนรู้
           ในกรณีนี้ครู จะ ใช้ E-learning และ Social Media ถ่ ายทอดเนื้อหา
สาระ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และเป็ นเครื่องมือประกอบการสอน ในรายวิชา
ต่ างๆ โดยให้ นักเรียนได้ ศึกษาหาความรู้ สร้ างองค์ ความรู้ และเรี ยนรู้ องค์ ความรู้
ต่ างๆ ผ่ าน E-learning และ Social Media อีกทั้ง หมายความถึงการที่ครู ได้ นา
สื่ อ ICT ที่ไ ด้ จ ากการรวบรวมสื่ อ ICT รู ป แบบต่ า งๆ มาออกแบบระบบการ
จั ดการเรี ยนรู้ ใ หม่ อย่ างเป็ นขั้นตอนแล้ วให้ นัก เรี ยนเข้ าไปศึ ก ษาหาความรู้ น้ ั น
และทาการวัดประเมินผล ในลักษณะ ระบบออนไลน์

                                                                         COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         1.1 สอนโดยนา E-learning และ Social Media มาถ่ ายทอด แบ่ งปั น
องค์ ค วามรู้ แ ละสาระเนื้ อ หาวิ ช า เพื่ อ ใช้ ประกอบการสอนในแต่ ล ะรายวิ ช า
ในลั ก ษณะ ต่ างๆ เช่ น การน าเสนอเนื้ อ หาผ่ านโปรแกรมน าเสนอ
(Presentation), สื่ อ วีดิทัศ น์ (VDO), สื่ อ Electronic อื่นๆ ได้ แ ก่ E–book,
LO (Learning Objects), บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI), Courseware
รวมทั้ งสื่ ออิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ รู ปแบบใหม่ อื่ น ๆ แล้ วแต่ จะเรี ยก เป็ นต้ น
ลักษณะสื่ อ ICT ในปั จจุ บัน ควรมีลักษณะ ที่มีขนาดของแฟมข้ อมูล (file) ที่มี
                                                               ้
ขนาดเล็ก ซึ่งสามารถออนไลน์ ผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตโดยใช้ Social Media และ
สามารถเข้ าถึงสื่ อได้ อย่างรวดเร็ว

                                                                  COMPANY LOGO
www.themegallery.com




สอนโดยนา E-learning และ Social Media มาถ่ ายทอด แบ่ งปันองค์ ความรู้ และ
  สาระเนือหาวิชา เพือใช้ ประกอบการสอนในแต่ ละรายวิชาในลักษณะ ต่ างๆ
         ้          ่
                                                          COMPANY LOGO
www.themegallery.com




             1.2 นาสื่ อ หรื อ แหล่ ง เรี ยนรู้ ต่ า งๆ ที่ไ ด้ จ ากการผลิต การสื บ ค้ น หรื อ
สื่ อ อิเล็ก ทรอนิ ก ส์ อื่นๆ มาออกแบบการจั ด การเรี ยนรู้ ใ นรู ป แบบ E-Learning
Courseware ด้ วยระบบการจัดการ LMS (Learning Management System)
ผ่ านเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ ต ในลักษณะนี้ ผู้สอนอาจออกแบบให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้
ด้ วยตนเอง มีการวัดและประเมินผล การเรี ยนรู้ ในเนื้อหาวิชานั้นๆ ได้ โดยไม่ ได้
พบปะกับครู ผ้ ูสอนหรืออาจมาพบปะเป็ นครั้งคราวก็ได้ หากนักเรี ยนเกิดมีปัญหา
ในการเรี ยนรู้ อ าจใช้ กระดานข่ าว (web board) หรื อ Social Media เช่ น
Twitter, Hi5, Face book, E-mail ในการติดต่ อเพื่อสอบถามและแก้ ไขปัญหา
กับครู ผ้ ูสอน

                                                                            COMPANY LOGO
www.themegallery.com




          นาสื่ อหรือแหล่ งเรียนรู้ ต่างๆ ทีได้ จากการผลิต การสื บค้ น หรือ
                                            ่
สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆ มาออกแบบการจัดการเรียนรู้ ในรู ปแบบ E-Learning
                                                             COMPANY LOGO
www.themegallery.com




2. ครู ผู้สอนสอนให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้ การใช้ E-learning และการ
ติดต่ อสื่ อสารด้ วย Social Media โดยตรง
        2.1 ครู ผ้ ูสอน สอนให้ นักเรี ยนสามารถใช้ เครื่องมือในการติดต่ อสื่ อสาร
ผ่าน Social Media ในระบบอินเทอร์ เน็ต แล้ วครู นามาใช้ เป็ นเครื่องมือในการ
จัดการเรียนรู้ และติดต่ อกับผู้เรียน ได้ แก่ การสื บค้ นข้ อมูล Search Engine,
E-mail, Twitter, Hi5, Facebook, Twitter เป็ นต้ น




                                                                   COMPANY LOGO
www.themegallery.com




          2.2        สอนโดยการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ต ามปกติ แ ต่ มี ก ารและ
ประเมินผลงาน โดยใช้ Social Media ซึ่งนักเรียนมีความสามารถในการใช้ งาน
สื่ อ ICT โดยได้ เรียนรู้ การใช้ งานโปรแกรมต่ างๆ มาแล้ วในวิชาคอมพิวเตอร์ เช่ น
การจัดกิจกรรมรายวิชาวิทยาศาสตร์ ให้ นักเรี ยนค้ นหาประวัตินักวิทยาศาสตร์
จากอินเทอร์ เน็ตและทาการประเมินผลด้ วยการให้ นักเรี ยนจัดทารายงานด้ วย
โปรแกรมจั ด ท าเอกสารส านั ก งานต่ า งๆ น าเสนอเนื้ อ หาผ่ า นโปรแกรม
Presentation ต่ างๆ แล้ วส่ งครู ผ่าน E-mail , Facebook , Slideshare อาจจัดทา
เป็ น WebPages หรือถ่ ายเป็ นวีดิโออัพโหลดผ่ าน Youtube แล้ วส่ ง Link มาให้
ครู แล้ วครู ก็ประเมินผลการดาเนิ นงานตามสาระ เนื้อหาและข้ อมู ลที่นักเรี ยน
ได้ นาเสนอ เป็ นต้ น
                                                                   COMPANY LOGO
www.themegallery.com




สอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามปกติแต่ มีการและประเมินผลงาน
                    โดยใช้ Social Media
                                                    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




       การประยกต์ ใช้
               ุ
E-learning และ Social Media
  ประกอบการจัดการเรียนรู้


                          COMPANY LOGO
www.themegallery.com




        ใช้ นาเข้ าสู่ บทเรียน
          ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรี ยน ครู ผ้ สอนอาจนาภาพ ดิจิทล (Digital) จาก Google
                                         ู                ั
, Flickr , Picasa หรือ VDO จาก Youtube หรือสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ใดๆ ทีเ่ กียวกับ
                                                                             ่
เรื่องทีจะสอนมาให้ นักเรียนดูและสนทนาเกี่ยวกับเรื่องทีได้ รับชมเพือกระตุ้น
        ่                                                     ่        ่
ความสนใจให้ กบผู้เรียนโดยไม่ จาเป็ นต้ องให้ นักเรี ยนดูท้งหมดของเรื่องทีนามา
                 ั                                          ั              ่
เสนอ สร้ าง เร้ าความสนใจในบทเรียนของนักเรียน สามารถตอบสนองความ
ต้ องการในการเรียนรู้ ของนักเรียนได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ



                                                                  COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         ใช้ ประกอบการจัดการเรียนรู้
          ครู ผ้ ูสอนอาจออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยอาศัยการจัดการในระบบ
LMS โดยอาศัย Software ให้ นักเรี ยนเลือกศึ กษาความรู้ จากการออกแบบของ
ครู ผ้ ูสอนให้ นักเรี ยนได้ เลือกเรี ยนรู้ ได้ ตลอดเวลา โดยอาศั ยสื่ ออื่นประกอบ เช่ น
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) E-Book, LOs, Courseware, VDO
ผู้สอนจะต้ องออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ ไว้ ล่วงหน้ า และพิจารณาเนื้อหาที่สอน
มาให้ นักเรี ยนศึ กษา เรี ยนรู้ ด้วยตนเอง หรื อให้ เลือกสื่ อให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้ จากสื่ อ
โดยตรง


                                                                           COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         ใช้ ขยายความรู้ การปฏิบัติกจกรรมการเรียนรู้
                                    ิ
         ในขั้นตอนนีครู ผ้ ูสอนต้ องพิจารณาความรู้ ความสามารถความพร้ อมใน
                      ้
การใช้ E-learning และ Social Media ของผู้เรี ยนมาเป็ นแนวทางในการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และให้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ ในการเรียนรู้ เช่ น
         - ค้ นหาความรู้ จากอินเทอร์ เน็ต โดยใช้ Search Engine เช่ น ค้ นหา
ข้ อมูลเนื้อหา รู ปภาพ แผนที่จาก Google ค้ นเรื่องราวข้ อเท็จจริงที่เกี่ยวข้ องจาก
youtube ในลักษณะรายการโทรทัศน์
         - นาความรู้ ที่ได้ มาศึกษาวิเคราะห์ สั งเคราะห์ ให้ เป็ นความรู้ ของตนเอง
และจัดทาเป็ นเอกสารด้ วย MS Word ส่ ง E-mail ให้ ครู หรื อ แชร์ ในกลุ่ม
Facebook
                                                                   COMPANY LOGO
www.themegallery.com




- สร้ าง เป็ น E-Book, Webpage หรือรายการโทรทัศน์ แล้ วอัพโหลดผ่านทาง
Facebook
- ให้ นักเรียนทา ปฏิทิน คานวณหาคาตอบทางคณิตศาสตร์ ด้วย MS Excel
- ทาบัตรอวยพร บัตรเชิ ญ หรือ แผ่ นภาพสรุ ปความรู้ ด้ วย MS Power point
แล้ว Save เป็ น .jpg แล้ วอัพโหลดส่ งครู ผ่าน Facebook
- เปิ ดกระดานสนทนา (Web board) ให้ นักเรี ยนแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ซ่ึงกันและกัน
- สร้ างเป็ นกลุ่มสนใจ เช่ น Web Blog, Social Network ขยายความรู้ ในกลุ่ม
ด้ วย hi5, Face book, twitter


                                                               COMPANY LOGO
www.themegallery.com




ใช้ สรุปเนือหา
           ้
            ในการสรุ ปเนื้อหาซึ่ งเป็ นอีกขั้นตอนหนึ่งที่ครู จะใช้ ในขั้นตอนสุ ดท้ าย
ของการจัดการเรี ยนการสอนในแต่ ละครั้ ง หรื อแต่ ละชั่ วโมงครู อาจออกแบบนา
Social Media มาให้ นักเรียนทาการสรุ ปในลักษณะต่ างๆ เช่ น
- ให้ นั ก เรี ย นสรุ ป องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ จ ากการเรี ย นรู้ มาน าเสนอและจั ด ท าด้ ว ย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ นาเสนอในรู ปแบบต่ าง ๆ ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โดยเชื่ อมโยงกับการใช้ Social Media เช่ น การใช้ Mindmeister ทา Mind map
ออนไลน์ แล้ วแบ่ งปันเพือแลกเปลียนเรียนรู้ กน เป็ นต้ น
                             ่            ่           ั
- นาสื่ อ LO เกม หรื อ เพลงที่ได้ จากการสื บค้ นข้ อมู ลจากอินเทอร์ เน็ ตมาให้
นักเรียนทากิจกรรมเพือทบทวนความรู้ และสรุ ปความรู้ จากการเรียนรู้
                          ่
- นา VDO จาก Youtube มาให้ นักเรียนสรุ ปความรู้ และประยุกต์ ใช้ ในชีวตประจาวัน
                                                                     ิ
                                                                          COMPANY LOGO
www.themegallery.com




แนวทางการใช้ Social Media
   ในการจัดการเรียนร้ ู
กรณีตวอย่ าง:ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
     ั

                                COMPANY LOGO
www.themegallery.com




          แนวคิดในการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ ของผม คือ
การสร้ า งบล็อ ก http://teacherkobwit2010.wordpress.com เพื่อ เป็ น
ศูนย์ กลางสาหรับการจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ โดยรวบรวมแหล่ งเรียนรู้
ต่ างๆ แบบ E-Learning มาเป็ น Link ไว้ ในบล็อก ตลอดจนให้ นักเรียนเข้ า
มาแนะน าตนเอง ตอบค าถาม แสดงความคิดเห็ น ผ่ า นการ Comment
ตลอดจนมี เ อกสารประกอบการเรี ย น Powerpoint ประกอบการสอน
คลิ ป วี ดิ โ อ และบทความ ให้ นั ก เรี ย นได้ เ ข้ ามาศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย
นอกจากจากนี้ยัง ได้ ใ ช้ Facebook และ Twitterในการติด ต่ อ สื่ อ สาร
แจ้ งข้ อมู ลข่ าวสารและให้ คาปรึ กษานักเรี ย น อีกด้ วย ทั้งนี้ได้ ดาเนินการ
ตามขั้นตอนดังนี้
                                                                COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




       1. จัดทาเค้ าโครงการสอน (Crouse Syllabus) โดยบูรณาการ
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ เพือเป็ นการวางแผนการ
                                               ่
จัดการเรี ย นรู้ อย่ างคร่ าวๆ ตลอดจนชี้ แจงรายละเอีย ดการเรี ยนการ
สอน ข้ อตกลงในการเรียน และภาระงานให้ นักเรียนรับทราบ




                                                        COMPANY LOGO
www.themegallery.com




         2. ออกแบบหน่ วยการเรี ยนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้
ที่บูรณาการการใช้ Social Media ในการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่ งแต่ ละ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ท่ีมีการบูรณาการ Social Media นั้นจะเน้ น
การทีครู กาหนดประเด็นทีน่าสนใจ ซึ่งอาจเป็ นภาพข่ าว ข้ อความ หรือ
      ่                       ่
คลิป วิ ดี โ อ โดยใช้ การตั้ ง ค าถามกระตุ้ น ความคิ ด ที่ มี ก ารน าเสนอ
ในบล็อกของครู และให้ นักเรียนสื บค้ นข้ อมูลในประเด็นทีเ่ กียวข้ องแล้ ว
                                                                    ่
มาตอบคาถามในเชิ งการแสดงความคิดเห็น เพื่อ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
แนวคิ ด ซึ่ ง กั น และกั น ที่ มี ค รู เ ป็ นผู้ ค อยส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น และ
ตรวจสอบความรู้ ของนักเรียนให้ มความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
                                           ี
                                                                  COMPANY LOGO
www.themegallery.com




            ทั้ง นี้ใ นการเข้ า สอนครั้ ง แรกได้ ใ ห้ นั ก เรี ย นท า “แบบส ารวจ
ผู้ เ รี ย น ด้ า นการใช้ เ ทคโนโลยี เพื่อ สร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ Social
Media” เพื่อนาผลจากการแบบสารวจผู้เรี ยน ด้ านการใช้ เทคโนโลยี
เพื่อสร้ างเครื อข่ ายการเรี ยนรู้ Social Media ของผู้เรี ยนมาวิเคราะห์
และประเมิ น ผล เพื่อ ปรั บ ปรุ ง การออกแบบการจั ด การเรี ย นรู้ และ
การมอบหมายภาระงานให้ เหมาะสมกับศักยภาพผู้เรียนต่ อไป



                                                                    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




          การนากิจกรรมที่มีการใช้ E-Learning และ Social Media แทรกไปใน
แผนการจั ดการเรี ยนรู้ จะวิเคราะห์ ตั วแผนทั้งหมด และปรั บแก้ หรื อเพิ่มเติ ม
อย่ างน้ อยใน 2 ประเด็นหลัก คือ เรื่อง “สื่ อ แหล่ งการเรี ยนรู้ และวัสดุอุปกรณ์”
และให้ ค วามสาคัญใน เรื่ อง “กิจ กรรมการเรี ยนรู้ ” ซึ่ งมีการจัดองค์ ประกอบ
แตกต่ างกันหลายรู ปแบบ เช่ น การจั ด กิจกรรมที่นิยมใช้ จะเป็ น กิจกรรมการ
เรียนรู้ แบบ 4 ขั้น มีลาดับขั้นตอน ดังนี้
          ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ใช้ การเกริ่นนา และทาแบบทดสอบก่อนเรียน
          ขั้นกิจกรรม เป็ นการให้ ความรู้ ค้ นหาความรู้ อภิปรายและรายงานผล
          ขั้นสรุ ป ส่ งรายงาน สรุ ปประเด็นต่ างๆ และสรุ ปความสาคัญของหน่ วย
          ขั้นนาไปใช้ ทาการทดสอบหลังเรียน หรือนาไปใช้ ในชีวตประจาวัน
                                                                   ิ
                                                                   COMPANY LOGO
www.themegallery.com




        ตั ว อย่ า งของ เว็ บ ไซต์ E-Learning  จากหนั ง สื อ
“การเรียนรู้ ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล : Digital
Literacy World-Class Standard School” ซึ่ งจะช่ วยให้
ครู ผู้สอนมีความรู้ ความเข้ าใจ และมีทัก ษะการใช้ เทคโนโลยี
ในการจัดการเรียนการสอน มีวสัยทัศน์ ก้าวไกล ส่ งเสริมผู้เรียน
                                   ิ
ให้ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และสร้ างสรรค์ ด้วยทรัพยากร
ทางการเรียนรู้เทคโนโลยีอย่ างกว้างขวางต่ อไป

                                                  COMPANY LOGO
www.themegallery.com




           3. จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ท่วางแผน
                                                         ี
และออกแบบไว้ โดยบูรณาการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้
3 ลักษณะ คือ
1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น
- การนาคลิปวิดีโอจาก Youtube มาสร้ างความสนใจในการนาเข้ าสู่ บทเรี ยน
และประกอบการอธิบ าย ซึ่ งอาจใช้ ผ่า นเว็บไซต์ โดยตรงแบบ ออนไลน์ หรื อ
ดาวน์ โหลดเป็ นไฟล์ ไว้ นอกจากนี้ยังสามารถนามารวบรวมไว้ ใน Wordpress
ส าหรั บ ให้ นั ก เรี ย นเข้ า มาศึ ก ษาเพิ่ม เติ ม ด้ ว ยตนเอง หรื อ มอบหมายงานให้
นักเรี ยนอภิปรายความรู้ จากคลิปวิดีโอ เป็ นต้ น นอกจากนี้ยังได้ อัพโหลดไฟล์
วิดีโอขึนไว้ใน Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress อีกด้ วย
        ้
                                                                    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น
- อัพโหลดไฟล์วดีโอขึนไว้ใน Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress
              ิ ้




                                                        COMPANY LOGO
www.themegallery.com




1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น
- การนาภาพต่ างๆ เช่ น ภาพภู เขาไฟ ภาพโลก ภาพหิน มาจาก Flickr และ
Google




                                                      COMPANY LOGO
www.themegallery.com




1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น
- การอัพ โหลดเอกสารประกอบการสอน Presentation ใบงาน ขึ้นไว้ ใน
Slideshare และ Scribd ตลอดจนการน าเอกสารต่ างๆที่ เ กี่ ย วข้ อง ใน
Slideshare และ Scribd มาใช้ ประกอบการสอน




                                                        COMPANY LOGO
www.themegallery.com




1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น
- การนาเสนอข้ อ มู ล เนื้อ หา แหล่ งเรี ยนรู้ อ อนไลน์ รายละเอียดที่น่า สนใจ
ผ่ านทาง Wordpress ให้ นักเรี ยนเข้ ามาศึกษาเรี ยนรู้ ด้วยตนเองตามอัธยาศั ย
และมีปฏิสัมพันธ์ ในการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลียนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน
                                                       ่




                                                               COMPANY LOGO
www.themegallery.com




2) ใช้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งผู้ ส อนกั บ ผู้ เ รี ย น ผู้ เ รี ย นกั บ ผู้ เ รี ย น
ตลอดจนผู้ทสนใจ เช่ น การใช้ Facebook Twitter Wordpress ในการ
               ี่
แจ้ งข่ าวสาร แจ้ งภาระงาน ตลอดจนการเชิ ญชวนและประชาสั มพันธ์
เข้ าไปศึกษาเยียมชมในบล็อกของครู
                  ่




                                                                           COMPANY LOGO
www.themegallery.com




3) ใช้ ในการมอบหมายงาน แสดงความคิ ด เห็ น แบ่ งปั น และ
แลกเปลียนเรียนรู้ ระหว่ างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ตลอดจน
        ่
ผู้ทสนใจ ผ่ านการ Comment ในบทความ
    ่ี




                                                          COMPANY LOGO
www.themegallery.com




           ทั้งนี้ในการมอบหมายงาน ครู จะดาเนินการสร้ างบทความที่มีการนา
เนื้อหาข่ าว รู ปภาพ หรื อคลิปวิดีโอ มานาเสนอ พร้ อมกับการตั้งคาถามที่เน้ น
การกระตุ้ น ให้ นั ก เรี ย นน าความรู้ จากที่ เ รี ย นมาในห้ อ งเรี ย น มาคิ ด เพื่ อ
ตอบคาถาม ในเชิ งวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น เพราะฉะนั้นนักเรี ยนจะมี
คาตอบทีไม่ ซ้ากันและไม่ สามารถลอกกันได้ ซึ่งบางครั้งอาจกาหนดให้ มีการทา
           ่
โพลล์ เพื่อ ส ารวจความคิ ด เห็นของนั ก เรี ยนด้ ว ย พร้ อ มกันนี้ไ ด้ จั ด หาแหล่ ง
เรี ยนรู้ แหล่ งข้ อ มู ล และแสวงหาสื่ อ การเรี ยนการสอนเพื่อใช้ ในการส่ ง เสริ ม
การจัดการเรียนการสอนอยู่เสมอ
           นอกจากการเรี ยนการสอนแล้ ว ยังได้ ใช้ Wordpress ในการเผยแพร่
และประชาสั มพันธ์ ผลงาน กิจกรรม ตลอดจนสาระน่ ารู้ ท่จะเป็ นประโยชน์ ต่อ
                                                             ี
นักเรียน ครู และผู้ทสนใจอีกด้ วย
                         ี่
                                                                      COMPANY LOGO
www.themegallery.com




4. ขั้นประเมินผล
        หลังจากทีได้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ ว จะต้ องมีการวัด
                  ่
และประเมิ น ผล ตรวจงานและประเมิ น ผลจากการตอบค าถาม
แสดงความคิ ด เห็ น ของนั ก เรี ย นต่ อ สถานการณ์ ท่ี ค รู ก าหนดเป็ น
บทความผ่ านทาง http://teacherkobwit2010.wordpress.com และ
การทางานภายในห้ องเรียนอย่ างต่ อเนื่อง ทั้งนีครู อาจใช้ Social Media
                                              ้
ที่หลากหลายในการประเมิน เช่ น Google Doc, Springnote หรือการ
ทาโพลล์ เป็ นต้ น ซึ่งในการประเมินครู ควรกาหนดเป็ น RuBric Score
ทีชัดเจน
  ่
                                                         COMPANY LOGO
www.themegallery.com




ตัวอย่ างการประเมินผลโดยการทาโพลล์




                                         COMPANY LOGO
www.themegallery.com




             สรุปแนวทางการใช้
       E-learning กับ Social Media
            เพือพัฒนาการศึกษา
               ่
        โดย ครู กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
http://teacherkobwit2010.wordpress.com
                                  COMPANY LOGO
LOGO                         เพือการนาเสนอ
                                    ่                                                 เพือการติดต่ อ สื่ อสาร
                                                                                          ่
 เพือเป็ นสื่ อการเรียนการ
    ่                                                      เพือการสื บค้ นข้ อมูล
                                                              ่
                              เนือหาสาระ ข้ อมูล
                                  ้                                                      แบ่ งปันข้ อมูล แจ้ ง
 สอน ช่ วยส่ งเสริมความรู้                                 ออนไลน์ ผ่าน Search
                              ต่ างๆ และรวบรวม                                                 ข่ าวสาร
ความเข้ าใจ เช่ น Youtube,
                             แหล่งเรียนรู้ ต่างๆโดย          engine ต่ างๆ เช่ น    เช่ น Facebook , Twitter
  Scribd Slideshare                                               google
                                      ใช้ Blog                                                 , Skype

 เพือเป็ นส่ วนหนึ่งใน
    ่                                                                               เพือสร้ างเครือข่ ายสังคม
                                                                                        ่
  การจัดกิจกรรมการ                                                                         ออนไลน์ ในการ
                                          การนา Social media
   เรียนรู้ เช่ น Blog                                                                    แลกเปลียนเรียนรู้
                                                                                                  ่
                                   ไปใช้ ในการจัดการสอนวิชาต่ างๆ
      Mindmeister ,                                                                 เช่ น Facebook , Twitter
       googledoc                                                                               , Blog

                             เพือการดูแลช่ วยเหลือ
                                ่                         เพือการอัพโหลดและ
                                                             ่
  เพือการวัดและ
     ่                                                      แชร์ รูปภาพ/คลิป          เพือการเผยแพร่ และ
                                                                                         ่
ประเมินผลการเรียนรู้          ติดตาม พฤติกรรม
                                                                   วีดโอ
                                                                      ิ              ประชาสัมพันธ์ ผลงาน
 ของนักเรียน เช่ น             ของนักเรียน เช่ น            เช่ น Facebook ,        ของครูและนักเรียน เช่ น
Googledoc, Monkey             Facebook , Twitter            Picasa, youtube
       survey,                                                                       Facebook , Twitter ,
                                        จัดทาโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์                     Blog
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




    COMPANY LOGO
www.themegallery.com




“ครูไทย หัวใจแบ่ งปัน”
                             COMPANY LOGO
LOGO

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school suraponSurapon Boonlue
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 

Mais procurados (18)

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Semelhante a E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 

Semelhante a E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย (20)

Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Thaismedu
ThaismeduThaismedu
Thaismedu
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Mais de Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2Kobwit Piriyawat
 

Mais de Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 

E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย

  • 1. LOGO E-learning กับ Social Media จะไปด้ วยกันได้ อย่ างไรเพือการพัฒนาการศึกษาไทย ่
  • 2. www.themegallery.com ทาไม ? ต้ องใช้ E-learning กับ Social Media ในการจัดการศึกษา COMPANY LOGO
  • 3. www.themegallery.com เมื่อโลกไร้ พรมแดน ด้ วยการติดต่ อสื่อสารทางอินเตอร์ เน็ต เมื่อสังคมเกิดขึนในโลกออนไลน์ ด้วย Social Networking ้ เมื่อความรู้ใหม่ เกิดขึนทุกๆวินาทีบนโลกใบนี้ ้ เมื่อการศึกษามิได้ จากัดอยู่แต่ ภายในห้ องเรียน เมื่อมนุษย์ใช้ ICT เป็ นส่ วนหนึ่งของชีวตประจาวัน ิ เมื่อลูกหลานของเราก้ าวเข้ าสู่ การใช้ ชีวตในศตวรรธที่ 21 ิ COMPANY LOGO
  • 4. www.themegallery.com แผนการศึกษาแห่ งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) ได้ วิเ คราะห์ ส ภาวการณ์ แ ละแนวโน้ ม บริ บ ทสั ง คมโลกและ สั งคมไทยที่มีผลต่ อการศึ กษา ไว้ ว่า สภาวการณ์ โลกกาลังเคลื่อนจาก ยุคข้ อมูลข่ าวสาร ผ่ านยุคสารสนเทศเข้ าสู่ ยุคสั งคมใหม่ ในคลื่นของ โลกาภิวัตน์ ท่ีไร้ พรมแดน คลื่นดังกล่ าวได้ พัดพามนุ ษย์ จากยุคหนึ่ ง ไปสู่ ยุ ค หนึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิด การเรี ย นรู้ ที่ จ ะอยู่ ใ นโลกนี้ไ ด้ ท่ า มกลางการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โลกในยุคโลกาภิวัตน์ มีพลโลกที่มีวิธีปฏิบั ติ เรี ยนรู้ วัฒนธรรมและค่ านิ ยมร่ วมกันมากขึ้น โลกกาลังจะกลายเป็ น แบนราบด้ วยความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่ อสาร COMPANY LOGO
  • 5. www.themegallery.com การรวมตัวของประชาชาติในอาเซี ยน ซึ่งไทยเป็ น 1 ใน 10 ประเทศภาคีสมาชิ ก ซึ่ งมีความร่ วมมือกันทางด้ านเศรษฐกิจ สั งคม การเมือง การปกครอง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการสื่ อสาร เหล่ านี้ ล้ วนเป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญในยุคโลกาภิวัตน์ ท้ังสิ้ น ประเทศไทย เป็ นสั ง คมย่ อ ยสั ง คมหนึ่ ง ในสั ง คมโลกยุ ค โลกาภิ วัต น์ ที่ย่ อ มได้ รั บ ผลกระทบทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ประชากรในประเทศจะต้ อ ง สามารถที่จะเรี ย นรู้ ท่ีจะอยู่ ร่วมในโลกใบนี้ได้ อย่ า งชาญฉลาด ด้ ว ย กลไกของการศึกษา COMPANY LOGO
  • 6. www.themegallery.com แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) ได้ กาหนดกรอบยุทธศาสตร์ การพัฒนาคนสู่ สังคมแห่ งการเรี ยนรู้ ตลอดชี วตอย่ างยั่งยืน ไว้ ประการหนึ่งว่ า การพัฒนาประเทศสู่ ความสมดุลและ ิ ยังยืนจะต้ องให้ ความสาคัญกับการเสริ มสร้ างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้ เข้ มแข็ง ่ และมีพลังเพียงพอในการขับเคลือนกระบวนการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการ ่ พั ฒ นาคนหรื อ ทุ น มนุ ษ ย์ ใ ห้ เ ข้ ม แข็ ง พร้ อมรั บ การเปลี่ ย นแปลงโลกในยุ ค ศตวรรษที่ 21 และ การเสริ มสร้ างปั จจัยแวดล้ อมที่เอื้อต่ อการพัฒนาคุณภาพ ของคนทั้ง ในเชิ งสถาบัน ระบบ โครงสร้ างของสั งคม ให้ เข้ มแข็ง สามารถ เป็ นภูมิค้ ุมกันการเปลียนแปลงต่ างๆ ทีจะเกิดขึนในอนาคต ่ ่ ้ COMPANY LOGO
  • 7. www.themegallery.com แผนแม่ บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 – 2556 ได้ กาหนดให้ การพัฒนา ICT มีเป้ าหมายเชิงพัฒนา สู่ สังคมแห่ งภู มิปัญญาและการเรี ยนรู้ โดยการกาหนดวิสัยทัศน์ คือ “ประเทศไทยเป็ นสั งคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ด้ วย ICT” COMPANY LOGO
  • 8. www.themegallery.com “สังคมอดมปัญญา” ในทีนี้หมายถึงสังคมทีมีการพัฒนาและใช้ ุ ่ ่ เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารอย่ า งชาญฉลาด โดยใช้ แ นว ปฏิบั ติ ข องปรั ช ญาเศรษฐกิจ พอเพีย ง ประชาชนทุ ก ระดั บ มี ค วาม เฉลียวฉลาด (Smart) และรอบร้ ู สารสนเทศ (Information Literacy) สามารถเข้ า ถึ ง และใช้ สารสนเทศอย่ างมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มีวจารณญาณและร้ ู เท่ าทัน ก่ อให้ เกิดประโยชน์ แก่ ตนและสั งคม มีการ ิ บริ หารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพื่อสนั บสนุนการพัฒนาสู่ เศรษฐกิจและ สังคมฐานความร้ ูและนวัตกรรมอย่ างยังยืนและมั่นคง” ่ COMPANY LOGO
  • 9. www.themegallery.com ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารที่มีต่อ การจั ด การศึ ก ษา ท าให้ ทุ ก ภาคส่ วนได้ ต ระหนั ก เป็ นวาระส าคั ญ ดัง ในพระราชบั ญญั ติ การศึ กษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2542. แก้ ไ ขเพิ่มเติ ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 9 เทคโนโลยีเพือการศึกษา ่ มาตรา 65 ให้ มีก ารพัฒ นาบุ ค ลากรทั้ ง ด้ า นผู้ ผ ลิต และผู้ ใ ช้ เทคโนโลยีเพือการศึกษา เพือให้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะใน ่ ่ การผลิ ต รวมทั้ ง การใช้ เทคโนโลยี ที่ เ หมาะสม มี คุ ณ ภาพ และ ประสิ ทธิภาพ COMPANY LOGO
  • 10. www.themegallery.com มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้ รับการพัฒนาขีดความสามารถใน การใช้ เทคโนโลยีเพือการศึกษาในโอกาสแรกที่ทาได้ เพือให้ มีความรู้ ่ ่ และทักษะเพียงพอที่จะใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึ กษาในการแสวงหา ความรู้ ด้ วยตนเองได้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดชีวติ มาตรา 67 รั ฐต้ องส่ งเสริ มให้ มีการวิจัยและพัฒนา การผลิต และการพั ฒ นาเทคโนโลยี เ พื่ อ การศึ ก ษา รวมทั้ ง การติ ด ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึ กษา เพื่อให้ เกิดการใช้ ทคุ้มค่ าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ ของคนไทย ี่ COMPANY LOGO
  • 11. www.themegallery.com สานักงานรับรองรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์ ก ารมหาชน) (สมศ. ) ซึ่ ง เป็ นองค์ ก รที่ มี ห น้ า ที่ ใ นการรั บ รองรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ได้ กาหนด ตัวบ่ งชี้ ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) สาหรับสถานศึกษา ขั้ น พื้ น ฐาน ในตั ว บ่ ง ชี้ ที่ 3.1 ผู้ เ รี ย นค้ น คว้ า หาความรู้ จากการอ่ า นและ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบ่ งชี้ ที่ 6.2 กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ของครู ได้ กาหนดประเด็นครู สามารถจั ดการเรี ยนการสอนอย่ างมีประสิ ทธิ ภาพโดย เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ โดยให้ มการประเมินการจัดเตรี ยมและใช้ สื่อให้ เหมาะสม ี กับกิจกรรม นาภู มิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุ กต์ ในการ จัดการเรียนการสอน ของครู ทุกคน COMPANY LOGO
  • 12. www.themegallery.com กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ได้ จั ด ท าแผนแม่ บทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ การศึ ก ษา กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ. 2554-2556 และได้ กาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร เพือการศึกษา ไว้ 4 ประการ คือ ่ 1. สร้ างกาลังคนให้ มีศักยภาพในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารอย่ างสร้ างสรรค์ มีธรรมาภิบาล คุณธรรม จริ ยธรรม วิจารณญาณ และรู้ เท่ าทัน รวมทั้งเพิมขีดความสามารถในการแข่ งขัน ่ ของประเทศไทย COMPANY LOGO
  • 13. www.themegallery.com 2. สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน ด้ ว ยการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ เพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการศึ ก ษาของ ประเทศไทย 3. พัฒนาโครงสร้ างพืนฐานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ้ สื่ อสาร เพือสนับสนุนด้ านการศึกษาของประเทศไทย ่ 4. ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการบริการด้ านการศึกษา ซึ่งจะเอือต่ อการสร้ างธรร ้ มาภิบาลของสั งคม COMPANY LOGO
  • 14. www.themegallery.com หลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศั กราช 2551 มุ่ ง ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด สมรรถนะส าคั ญ 5 ประการ โดยมี ส มรรถนะ ทีเ่ กียวกับการใช้ เทคโนโลยี 1 สมรรถนะ คือ ่ ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการ เลือ ก และใช้ เ ทคโนโลยี ด้ า นต่ า ง ๆ และมี ทั ก ษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่ อ การพั ฒ นาตนเองและสั ง คม ในด้ า นการเรี ย นรู้ การสื่ อ สารการท างาน การแก้ ปั ญ หาอย่ า งสร้ างสรรค์ ถู ก ต้ อง เหมาะสม และมีคุณธรรม COMPANY LOGO
  • 15. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 16. www.themegallery.com นโยบายของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ในการพั ฒ นาเยาวชน ของชาติเข้ าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่ งเสริ มผู้เรี ยนมีคุณธรรม รักความเป็ นไทย ให้ มทกษะการคิดวิเคราะห์ สร้ างสรรค์ มีทักษะด้ าน ี ั เทคโนโลยี สามารถทางานร่ วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ในสั งคมโลกได้ อย่ างสั นติ COMPANY LOGO
  • 17. www.themegallery.com ทราบอย่ างนีแล้ว ! ้ เราในฐานะ “ครู อาจารย์ ” ที่ทาหน้ าที่ในการจัดการศึกษา เพือพัฒนาเยาวชน ่ จะใช้ ICT เพือพัฒนาการศึกษา ่ ได้ อย่ างไร? COMPANY LOGO
  • 18. www.themegallery.com แผนแม่ บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพือการศึกษา ่ กระทรวงศึ กษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 ได้ ให้ ความหมายของ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (Information and Communication Technology : ICT)” ไว้ ว่า หมายถึง เทคโนโลยีที่ เกียวกับระบบคอมพิวเตอร์ ระบบซอฟต์ แวร์ ระบบข้ อมูลสารสนเทศ ่ ระบบเครื อ ข่ า ย ระบบโทรคมนาคม วิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น์ ที่ ใ ช้ เพื่ อ การศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556. 2554 : 1) COMPANY LOGO
  • 19. www.themegallery.com E-learning กับ Social Media จึงเป็ นส่ วนหนึ่งของการใช้ เทคโนโลยีเพือการศึกษา ่ โดยใช้ อนเตอร์ เน็ต ในยุค Web 2.0 ิ COMPANY LOGO
  • 20. www.themegallery.com ปั จ จุ บั น วิ ถี ก ารใช้ Internet ของเราเปลี่ ย นไปจากเดิ ม ที่ผ่านมามาก จากที่เราใช้ Internet เพื่อ ส่ ง Email, คุยกับเพื่อนด้ วย Chat Room หรือ IM, Download โปรแกรมใหม่ , Search หาข้ อมูล, แลกเปลี่ยนความเห็นที่ Web Board, อ่ านข่ าว ฯลฯ สิ่ งเหล่ านี้คือ Feature หลักๆที่เราใช้ งาน แต่ ลองมาคิดถึงปัจจุบันเรากลับใช้ Internet เพื่อเขียน BLOG, แชร์ Photo, ร่ วมเขียน Wiki, Post Commment ในข่ าว, หาแหล่ งข้ อมูลด้ วย RSS เพือ Feed มาอ่ านที่ Desktop, และ ่ Google จะเห็นได้ ว่าวิถีการใช้ ชีวิตบน Internet ของเรา เริ่ มเปลี่ยน ไปแล้ว COMPANY LOGO
  • 21. www.themegallery.com เว็บ 2.0 (Web 2.0) มีความเชื่ อมโยงกับโปรแกรมประยุกต์ บนเว็บ ซึ่งมีลกษณะส่ งเสริมให้ เกิดการแบ่ งปันข้ อมูล การพัฒนาในด้ านแนวความคิดการ ั ออกแบบที่เน้ นผู้ใช้ งานเป็ นศู นย์ กลางuser-centered design และ การร่ วมสร้ าง ข้ อมูลในโลกของอินเทอร์ เน็ตเวิลด์ ไวด์ เว็บ เว็ บ ไซต์ ที่ อ อกแบบโดยใช้ หลั ก การของเว็ บ 2.0 ท าให้ ก ลุ่ ม ผู้ ใ ช้ งาน สามารถปฏิสัมพันธ์ และร่ วมมือกันในลักษณะของสื่ อสั งคมออนไลน์ โดยกลุ่ม ผู้ใช้ งานเป็ นผู้สร้ างเนือหาขึนเอง ต่ างจาก เว็บ 1.0 ทีกลุ่มผู้ใช้ ถูกจากัดบทบาทโดย ้ ้ ่ ทาได้ แค่ เพียงการเยี่ยมชม หรื อดูเนื้อหาที่ผ้ ูใช้ สนใจ สาหรั บตัวอย่ างของเว็บ 2.0 ได้ แก่ บล็อก เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ สารานุ ก รมเสรี วิดี โอแชริ ง โปรแกรม ประยุกต์ บนเว็บ ฯลฯ COMPANY LOGO
  • 22. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 23. www.themegallery.com เว็บ 2.0 ส่ วนใหญ่ จะมีลกษณะและคุณสมบัติ ส่ วนใดส่ วนหนึ่งหรือ ั ทั้งหมดดังนี้ : Search Links Authoring วิกิ บล็อก Tags Extension เว็บแอปพลิเคชัน อะโดบี รีดเดอร์ แฟลช ไมโครซอฟท์ ซิลเวอร์ ไลต์ แอ็กทีฟเอ็กซ์ จาวา ควิตไทม์ Signals RSS Atom COMPANY LOGO
  • 24. www.themegallery.com ● ผู้ชม เป็ น ผู้ผลิตเนือหา ้ ● ความสั มพันธ์ 2 ทาง แทนทางเดียว ● มือสมัครเล่น กลายเป็ น มืออาชีพ ● ปริมาณเนือหาเพิมขึนอย่ างรวดเร็ว ้ ่ ้ COMPANY LOGO
  • 25. www.themegallery.com ● Blog ● Wiki ● Video Online (YouTube) ● Photo Sharing (Flickr, Picasa) ● Document Sharing (Slideshare, Scribd) ● Social Network ● Social Media COMPANY LOGO
  • 26. www.themegallery.com E-learning กับ Social Media คืออะไร เหมือนหรือต่ างกันอย่ างไร ? COMPANY LOGO
  • 28. www.themegallery.com E-Learning (Electronic learning) คือ การเรียนรู้ ผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ความหมายของ E-learning ถูกตีความต่ างกันไปตามประสบการณ์ ของแต่ ละคน แต่ มีส่วนทีเ่ หมือนกันคือใช้ เทคโนโลยี เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ โดยมีการพัฒนา ตลอดเวลา ตามความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี โดยเฉพาะอิน เทอร์ เน็ ต เข้ า มา ส่ งเสริ มการเรี ยน การสอน ให้ เกิดประสิ ทธิ ผล ที่อาจอยู่ในรู ปของการสอนทาง เดียว หรือการสอนแบบปฎิสัมพันธ์ ได้ คาว่า E นั้นย่อมาจาก Electronic ส่ วนคาว่ า learning มีความหมายตรงตัวว่ า การเรี ยนรู้ เมื่อนามารวมกันหมายถึงการเรี ยนรู้ โดยใช้ electronic หรื อ internet เป็ นสื่ อ ค าที่มี ค วามหมายใกล้ เคียง เช่ น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI = Computer Assisted Instruction) หรือ การสอน บนเว็บ (WBI = Web-based Instruction) เป็ นต้ น COMPANY LOGO
  • 30. www.themegallery.com มีเดีย (“Media”) หมายถึง สื่ อหรือเครื่องมือทีใช้ เพือการสื่ อสาร ่ ่ โซเชียล (“Social”) หมายถึง สั งคม ในบริ บ ทของโซเชี ย ลมีเ ดี ย โซเชี ย ลหมายถึง การแบ่ ง ปั น ในสั ง คม ซึ่ งอาจจะเป็ นการแบ่ งปั นเนื้อหา (ไฟล์ , รสนิ ยม ความเห็น …) หรื อ ปฏิสัมพันธ์ ในสั งคม (การรวมกับเป็ นกลุ่ม…) โซเชี ย ลมีเ ดี ย ในที่ นี้ ห มายถึ ง สื่ อ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ท าให้ ผู้ ใ ช้ แ สดง ความเป็ นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์ กับหรื อแบ่ งปั นข้ อมูล กับบุคคลอืน่ COMPANY LOGO
  • 31. www.themegallery.com โซเชี ย ลมี เ ดี ย ส่ วนใหญ่ จ ะเป็ นเว็ บ แอปพลิเ คชั น 2.0 ซึ่ ง จะมี ก าร ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างผู้ให้ และผู้รับข้ อมูล ทีวีและหนังสื อพิมพ์ ที่เป็ นกระดาษเป็ นสื่ อ แต่ เป็ นสื่ อของการสื่ อสาร ทางเดียว ผู้รับข้ อมูลไม่ สามารถตอบกลับผู้ให้ ข้อมูลทันทีทนใดได้ ั แต่ โ ซเชี ย ลมีเ ดี ย จะเป็ นสื่ อที่มีก ารสื่ อสาร 2 ทาง กล่ า วคือ ผู้ รั บ ข้ อ มู ล สามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผู้ให้ ข้อมูลได้ การให้ ข้อคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ การพูดคุยผ่ านโปรแกรมสนทนาออนไลน์ หรือเว็บบอร์ ด การให้ ข้อคิดเห็นและบันทึกว่ าชอบสไลด์ COMPANY LOGO
  • 32. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 33. www.themegallery.com ตีพมพ์: บล็อก, วิกพเี ดีย, เว็บรวมทีให้ ทุกคนโพสต์ ข่าว ิ ิ ่ แบ่ งปัน: วิดีโอ, รู ปภาพ, ดนตรี, ลิงก์ การอภิปราย: การเสวนา, โปรแกรมสนทนาออนไลน์ เครือข่ ายสั งคม: เครือข่ ายสั งคมโดยทัวไปและเครือข่ ายสั งคมเฉพาะ ่ ด้ าน การตีพมพ์แบบไมโคร: ไมโครบล็อก ิ เครื่องมือทีรวมข้ อมูล จากหลายแหล่งโซเชียลมีเดียเข้ าด้ วยกัน ่ (Social aggregation tools) COMPANY LOGO
  • 34. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 35. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 36. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 37. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 38. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 40. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 41. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 42. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 43. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 44. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 45. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 46. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 47. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 48. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 49. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 50. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 51. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 52. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 53. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 54. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 55. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 56. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 57. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 58. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 60. www.themegallery.com  โซเชียลมีเดียเป็ นเครื่องมือออนไลน์ ททาให้ เรามีปฏิสัมพันธ์ กบผู้อน ี่ ั ่ื ด้ วยการแบ่ งปันข้ อมูลหรือพูดคุยกัน  โซเชียลมีเดียมีท้งข้ อดีและข้ อเสี ย ไม่ ควรทีจะปิ ดกั้นตัวเองไม่ ใช้ ั ่ แต่ กไม่ ควรทีจะใช้ อย่ างไม่ มวนัย ็ ่ ีิ  เราควรจะเรียนรู้ ทจะใช้ โซเชียลมีเดียให้ เหมาะสมและให้ เป็ น ี่ ประโยชน์ COMPANY LOGO
  • 61. www.themegallery.com เราจะใช้ E-learning กับ Social Media เพือพัฒนาการศึกษาได้ อย่ างไร ? ่ COMPANY LOGO
  • 62. www.themegallery.com อาจกล่าวได้ ว่า Social Media เป็ นส่ วนหนึ่งของ E-learning ในการจัดการศึกษา COMPANY LOGO
  • 63. www.themegallery.com ดังทีได้ ยกตัวอย่ างไปแล้วว่ า Social Media คือ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ่ ทีทาให้ ผู้ใช้ แสดงความเป็ นตัวตนของตนเองเพือทีจะมีปฏิสัมพันธ์ กน ่ ่ ่ ั หรือแบ่ งปันข้ อมูลกับบุคคลอืน ่ ดังนั้นเราสามารถใช้ คุณสมบัติของ Social Media ในการส่ งเสริม การเรียนรู้ ของผู้เรียนแบบ E-Learning ได้ เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะในด้ าน - การติดต่ อ สื่ อสาร กากับติดตาม ประสานงาน การส่ งงานผ่าน Social Media และการแบ่ งปันความรู้ ระหว่ างผู้สอน-ผู้สอน ผู้สอน-ผู้เรี ยน ผู้เรี ยน-ผู้เรี ยน - การใช้ Social Media เป็ นสื่ อการเรี ยนรู้ ประกอบการเรี ยนการสอน - การใช้ Social Media เป็ นส่ วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - การใช้ Social Media รวบรวมแหล่ งเรียนรู้ ต่างๆในการศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเอง COMPANY LOGO
  • 64. www.themegallery.com ลักษณะการนา E-learning และ Social Media ไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้ เพือพัฒนาการศึกษา ่ COMPANY LOGO
  • 65. www.themegallery.com 1. ครู ผู้สอนสอนโดยใช้ E-learning และ Social Media มาเป็ นเครื่องมือ ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในกรณีนี้ครู จะ ใช้ E-learning และ Social Media ถ่ ายทอดเนื้อหา สาระ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และเป็ นเครื่องมือประกอบการสอน ในรายวิชา ต่ างๆ โดยให้ นักเรียนได้ ศึกษาหาความรู้ สร้ างองค์ ความรู้ และเรี ยนรู้ องค์ ความรู้ ต่ างๆ ผ่ าน E-learning และ Social Media อีกทั้ง หมายความถึงการที่ครู ได้ นา สื่ อ ICT ที่ไ ด้ จ ากการรวบรวมสื่ อ ICT รู ป แบบต่ า งๆ มาออกแบบระบบการ จั ดการเรี ยนรู้ ใ หม่ อย่ างเป็ นขั้นตอนแล้ วให้ นัก เรี ยนเข้ าไปศึ ก ษาหาความรู้ น้ ั น และทาการวัดประเมินผล ในลักษณะ ระบบออนไลน์ COMPANY LOGO
  • 66. www.themegallery.com 1.1 สอนโดยนา E-learning และ Social Media มาถ่ ายทอด แบ่ งปั น องค์ ค วามรู้ แ ละสาระเนื้ อ หาวิ ช า เพื่ อ ใช้ ประกอบการสอนในแต่ ล ะรายวิ ช า ในลั ก ษณะ ต่ างๆ เช่ น การน าเสนอเนื้ อ หาผ่ านโปรแกรมน าเสนอ (Presentation), สื่ อ วีดิทัศ น์ (VDO), สื่ อ Electronic อื่นๆ ได้ แ ก่ E–book, LO (Learning Objects), บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI), Courseware รวมทั้ งสื่ ออิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ รู ปแบบใหม่ อื่ น ๆ แล้ วแต่ จะเรี ยก เป็ นต้ น ลักษณะสื่ อ ICT ในปั จจุ บัน ควรมีลักษณะ ที่มีขนาดของแฟมข้ อมูล (file) ที่มี ้ ขนาดเล็ก ซึ่งสามารถออนไลน์ ผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตโดยใช้ Social Media และ สามารถเข้ าถึงสื่ อได้ อย่างรวดเร็ว COMPANY LOGO
  • 67. www.themegallery.com สอนโดยนา E-learning และ Social Media มาถ่ ายทอด แบ่ งปันองค์ ความรู้ และ สาระเนือหาวิชา เพือใช้ ประกอบการสอนในแต่ ละรายวิชาในลักษณะ ต่ างๆ ้ ่ COMPANY LOGO
  • 68. www.themegallery.com 1.2 นาสื่ อ หรื อ แหล่ ง เรี ยนรู้ ต่ า งๆ ที่ไ ด้ จ ากการผลิต การสื บ ค้ น หรื อ สื่ อ อิเล็ก ทรอนิ ก ส์ อื่นๆ มาออกแบบการจั ด การเรี ยนรู้ ใ นรู ป แบบ E-Learning Courseware ด้ วยระบบการจัดการ LMS (Learning Management System) ผ่ านเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ ต ในลักษณะนี้ ผู้สอนอาจออกแบบให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้ ด้ วยตนเอง มีการวัดและประเมินผล การเรี ยนรู้ ในเนื้อหาวิชานั้นๆ ได้ โดยไม่ ได้ พบปะกับครู ผ้ ูสอนหรืออาจมาพบปะเป็ นครั้งคราวก็ได้ หากนักเรี ยนเกิดมีปัญหา ในการเรี ยนรู้ อ าจใช้ กระดานข่ าว (web board) หรื อ Social Media เช่ น Twitter, Hi5, Face book, E-mail ในการติดต่ อเพื่อสอบถามและแก้ ไขปัญหา กับครู ผ้ ูสอน COMPANY LOGO
  • 69. www.themegallery.com นาสื่ อหรือแหล่ งเรียนรู้ ต่างๆ ทีได้ จากการผลิต การสื บค้ น หรือ ่ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆ มาออกแบบการจัดการเรียนรู้ ในรู ปแบบ E-Learning COMPANY LOGO
  • 70. www.themegallery.com 2. ครู ผู้สอนสอนให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้ การใช้ E-learning และการ ติดต่ อสื่ อสารด้ วย Social Media โดยตรง 2.1 ครู ผ้ ูสอน สอนให้ นักเรี ยนสามารถใช้ เครื่องมือในการติดต่ อสื่ อสาร ผ่าน Social Media ในระบบอินเทอร์ เน็ต แล้ วครู นามาใช้ เป็ นเครื่องมือในการ จัดการเรียนรู้ และติดต่ อกับผู้เรียน ได้ แก่ การสื บค้ นข้ อมูล Search Engine, E-mail, Twitter, Hi5, Facebook, Twitter เป็ นต้ น COMPANY LOGO
  • 71. www.themegallery.com 2.2 สอนโดยการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ต ามปกติ แ ต่ มี ก ารและ ประเมินผลงาน โดยใช้ Social Media ซึ่งนักเรียนมีความสามารถในการใช้ งาน สื่ อ ICT โดยได้ เรียนรู้ การใช้ งานโปรแกรมต่ างๆ มาแล้ วในวิชาคอมพิวเตอร์ เช่ น การจัดกิจกรรมรายวิชาวิทยาศาสตร์ ให้ นักเรี ยนค้ นหาประวัตินักวิทยาศาสตร์ จากอินเทอร์ เน็ตและทาการประเมินผลด้ วยการให้ นักเรี ยนจัดทารายงานด้ วย โปรแกรมจั ด ท าเอกสารส านั ก งานต่ า งๆ น าเสนอเนื้ อ หาผ่ า นโปรแกรม Presentation ต่ างๆ แล้ วส่ งครู ผ่าน E-mail , Facebook , Slideshare อาจจัดทา เป็ น WebPages หรือถ่ ายเป็ นวีดิโออัพโหลดผ่ าน Youtube แล้ วส่ ง Link มาให้ ครู แล้ วครู ก็ประเมินผลการดาเนิ นงานตามสาระ เนื้อหาและข้ อมู ลที่นักเรี ยน ได้ นาเสนอ เป็ นต้ น COMPANY LOGO
  • 73. www.themegallery.com การประยกต์ ใช้ ุ E-learning และ Social Media ประกอบการจัดการเรียนรู้ COMPANY LOGO
  • 74. www.themegallery.com ใช้ นาเข้ าสู่ บทเรียน ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรี ยน ครู ผ้ สอนอาจนาภาพ ดิจิทล (Digital) จาก Google ู ั , Flickr , Picasa หรือ VDO จาก Youtube หรือสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ใดๆ ทีเ่ กียวกับ ่ เรื่องทีจะสอนมาให้ นักเรียนดูและสนทนาเกี่ยวกับเรื่องทีได้ รับชมเพือกระตุ้น ่ ่ ่ ความสนใจให้ กบผู้เรียนโดยไม่ จาเป็ นต้ องให้ นักเรี ยนดูท้งหมดของเรื่องทีนามา ั ั ่ เสนอ สร้ าง เร้ าความสนใจในบทเรียนของนักเรียน สามารถตอบสนองความ ต้ องการในการเรียนรู้ ของนักเรียนได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ COMPANY LOGO
  • 75. www.themegallery.com ใช้ ประกอบการจัดการเรียนรู้ ครู ผ้ ูสอนอาจออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยอาศัยการจัดการในระบบ LMS โดยอาศัย Software ให้ นักเรี ยนเลือกศึ กษาความรู้ จากการออกแบบของ ครู ผ้ ูสอนให้ นักเรี ยนได้ เลือกเรี ยนรู้ ได้ ตลอดเวลา โดยอาศั ยสื่ ออื่นประกอบ เช่ น บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) E-Book, LOs, Courseware, VDO ผู้สอนจะต้ องออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ ไว้ ล่วงหน้ า และพิจารณาเนื้อหาที่สอน มาให้ นักเรี ยนศึ กษา เรี ยนรู้ ด้วยตนเอง หรื อให้ เลือกสื่ อให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้ จากสื่ อ โดยตรง COMPANY LOGO
  • 76. www.themegallery.com ใช้ ขยายความรู้ การปฏิบัติกจกรรมการเรียนรู้ ิ ในขั้นตอนนีครู ผ้ ูสอนต้ องพิจารณาความรู้ ความสามารถความพร้ อมใน ้ การใช้ E-learning และ Social Media ของผู้เรี ยนมาเป็ นแนวทางในการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และให้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ ในการเรียนรู้ เช่ น - ค้ นหาความรู้ จากอินเทอร์ เน็ต โดยใช้ Search Engine เช่ น ค้ นหา ข้ อมูลเนื้อหา รู ปภาพ แผนที่จาก Google ค้ นเรื่องราวข้ อเท็จจริงที่เกี่ยวข้ องจาก youtube ในลักษณะรายการโทรทัศน์ - นาความรู้ ที่ได้ มาศึกษาวิเคราะห์ สั งเคราะห์ ให้ เป็ นความรู้ ของตนเอง และจัดทาเป็ นเอกสารด้ วย MS Word ส่ ง E-mail ให้ ครู หรื อ แชร์ ในกลุ่ม Facebook COMPANY LOGO
  • 77. www.themegallery.com - สร้ าง เป็ น E-Book, Webpage หรือรายการโทรทัศน์ แล้ วอัพโหลดผ่านทาง Facebook - ให้ นักเรียนทา ปฏิทิน คานวณหาคาตอบทางคณิตศาสตร์ ด้วย MS Excel - ทาบัตรอวยพร บัตรเชิ ญ หรือ แผ่ นภาพสรุ ปความรู้ ด้ วย MS Power point แล้ว Save เป็ น .jpg แล้ วอัพโหลดส่ งครู ผ่าน Facebook - เปิ ดกระดานสนทนา (Web board) ให้ นักเรี ยนแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ซ่ึงกันและกัน - สร้ างเป็ นกลุ่มสนใจ เช่ น Web Blog, Social Network ขยายความรู้ ในกลุ่ม ด้ วย hi5, Face book, twitter COMPANY LOGO
  • 78. www.themegallery.com ใช้ สรุปเนือหา ้ ในการสรุ ปเนื้อหาซึ่ งเป็ นอีกขั้นตอนหนึ่งที่ครู จะใช้ ในขั้นตอนสุ ดท้ าย ของการจัดการเรี ยนการสอนในแต่ ละครั้ ง หรื อแต่ ละชั่ วโมงครู อาจออกแบบนา Social Media มาให้ นักเรียนทาการสรุ ปในลักษณะต่ างๆ เช่ น - ให้ นั ก เรี ย นสรุ ป องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ จ ากการเรี ย นรู้ มาน าเสนอและจั ด ท าด้ ว ย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ นาเสนอในรู ปแบบต่ าง ๆ ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเชื่ อมโยงกับการใช้ Social Media เช่ น การใช้ Mindmeister ทา Mind map ออนไลน์ แล้ วแบ่ งปันเพือแลกเปลียนเรียนรู้ กน เป็ นต้ น ่ ่ ั - นาสื่ อ LO เกม หรื อ เพลงที่ได้ จากการสื บค้ นข้ อมู ลจากอินเทอร์ เน็ ตมาให้ นักเรียนทากิจกรรมเพือทบทวนความรู้ และสรุ ปความรู้ จากการเรียนรู้ ่ - นา VDO จาก Youtube มาให้ นักเรียนสรุ ปความรู้ และประยุกต์ ใช้ ในชีวตประจาวัน ิ COMPANY LOGO
  • 79. www.themegallery.com แนวทางการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนร้ ู กรณีตวอย่ าง:ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ั COMPANY LOGO
  • 80. www.themegallery.com แนวคิดในการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ ของผม คือ การสร้ า งบล็อ ก http://teacherkobwit2010.wordpress.com เพื่อ เป็ น ศูนย์ กลางสาหรับการจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ โดยรวบรวมแหล่ งเรียนรู้ ต่ างๆ แบบ E-Learning มาเป็ น Link ไว้ ในบล็อก ตลอดจนให้ นักเรียนเข้ า มาแนะน าตนเอง ตอบค าถาม แสดงความคิดเห็ น ผ่ า นการ Comment ตลอดจนมี เ อกสารประกอบการเรี ย น Powerpoint ประกอบการสอน คลิ ป วี ดิ โ อ และบทความ ให้ นั ก เรี ย นได้ เ ข้ ามาศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย นอกจากจากนี้ยัง ได้ ใ ช้ Facebook และ Twitterในการติด ต่ อ สื่ อ สาร แจ้ งข้ อมู ลข่ าวสารและให้ คาปรึ กษานักเรี ย น อีกด้ วย ทั้งนี้ได้ ดาเนินการ ตามขั้นตอนดังนี้ COMPANY LOGO
  • 81. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 82. www.themegallery.com 1. จัดทาเค้ าโครงการสอน (Crouse Syllabus) โดยบูรณาการ การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ เพือเป็ นการวางแผนการ ่ จัดการเรี ย นรู้ อย่ างคร่ าวๆ ตลอดจนชี้ แจงรายละเอีย ดการเรี ยนการ สอน ข้ อตกลงในการเรียน และภาระงานให้ นักเรียนรับทราบ COMPANY LOGO
  • 83. www.themegallery.com 2. ออกแบบหน่ วยการเรี ยนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่บูรณาการการใช้ Social Media ในการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่ งแต่ ละ แผนการจัดการเรี ยนรู้ ท่ีมีการบูรณาการ Social Media นั้นจะเน้ น การทีครู กาหนดประเด็นทีน่าสนใจ ซึ่งอาจเป็ นภาพข่ าว ข้ อความ หรือ ่ ่ คลิป วิ ดี โ อ โดยใช้ การตั้ ง ค าถามกระตุ้ น ความคิ ด ที่ มี ก ารน าเสนอ ในบล็อกของครู และให้ นักเรียนสื บค้ นข้ อมูลในประเด็นทีเ่ กียวข้ องแล้ ว ่ มาตอบคาถามในเชิ งการแสดงความคิดเห็น เพื่อ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ แนวคิ ด ซึ่ ง กั น และกั น ที่ มี ค รู เ ป็ นผู้ ค อยส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น และ ตรวจสอบความรู้ ของนักเรียนให้ มความถูกต้ องตามหลักวิชาการ ี COMPANY LOGO
  • 84. www.themegallery.com ทั้ง นี้ใ นการเข้ า สอนครั้ ง แรกได้ ใ ห้ นั ก เรี ย นท า “แบบส ารวจ ผู้ เ รี ย น ด้ า นการใช้ เ ทคโนโลยี เพื่อ สร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ Social Media” เพื่อนาผลจากการแบบสารวจผู้เรี ยน ด้ านการใช้ เทคโนโลยี เพื่อสร้ างเครื อข่ ายการเรี ยนรู้ Social Media ของผู้เรี ยนมาวิเคราะห์ และประเมิ น ผล เพื่อ ปรั บ ปรุ ง การออกแบบการจั ด การเรี ย นรู้ และ การมอบหมายภาระงานให้ เหมาะสมกับศักยภาพผู้เรียนต่ อไป COMPANY LOGO
  • 85. www.themegallery.com การนากิจกรรมที่มีการใช้ E-Learning และ Social Media แทรกไปใน แผนการจั ดการเรี ยนรู้ จะวิเคราะห์ ตั วแผนทั้งหมด และปรั บแก้ หรื อเพิ่มเติ ม อย่ างน้ อยใน 2 ประเด็นหลัก คือ เรื่อง “สื่ อ แหล่ งการเรี ยนรู้ และวัสดุอุปกรณ์” และให้ ค วามสาคัญใน เรื่ อง “กิจ กรรมการเรี ยนรู้ ” ซึ่ งมีการจัดองค์ ประกอบ แตกต่ างกันหลายรู ปแบบ เช่ น การจั ด กิจกรรมที่นิยมใช้ จะเป็ น กิจกรรมการ เรียนรู้ แบบ 4 ขั้น มีลาดับขั้นตอน ดังนี้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ใช้ การเกริ่นนา และทาแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นกิจกรรม เป็ นการให้ ความรู้ ค้ นหาความรู้ อภิปรายและรายงานผล ขั้นสรุ ป ส่ งรายงาน สรุ ปประเด็นต่ างๆ และสรุ ปความสาคัญของหน่ วย ขั้นนาไปใช้ ทาการทดสอบหลังเรียน หรือนาไปใช้ ในชีวตประจาวัน ิ COMPANY LOGO
  • 86. www.themegallery.com ตั ว อย่ า งของ เว็ บ ไซต์ E-Learning จากหนั ง สื อ “การเรียนรู้ ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล : Digital Literacy World-Class Standard School” ซึ่ งจะช่ วยให้ ครู ผู้สอนมีความรู้ ความเข้ าใจ และมีทัก ษะการใช้ เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอน มีวสัยทัศน์ ก้าวไกล ส่ งเสริมผู้เรียน ิ ให้ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และสร้ างสรรค์ ด้วยทรัพยากร ทางการเรียนรู้เทคโนโลยีอย่ างกว้างขวางต่ อไป COMPANY LOGO
  • 87. www.themegallery.com 3. จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ท่วางแผน ี และออกแบบไว้ โดยบูรณาการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ 3 ลักษณะ คือ 1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น - การนาคลิปวิดีโอจาก Youtube มาสร้ างความสนใจในการนาเข้ าสู่ บทเรี ยน และประกอบการอธิบ าย ซึ่ งอาจใช้ ผ่า นเว็บไซต์ โดยตรงแบบ ออนไลน์ หรื อ ดาวน์ โหลดเป็ นไฟล์ ไว้ นอกจากนี้ยังสามารถนามารวบรวมไว้ ใน Wordpress ส าหรั บ ให้ นั ก เรี ย นเข้ า มาศึ ก ษาเพิ่ม เติ ม ด้ ว ยตนเอง หรื อ มอบหมายงานให้ นักเรี ยนอภิปรายความรู้ จากคลิปวิดีโอ เป็ นต้ น นอกจากนี้ยังได้ อัพโหลดไฟล์ วิดีโอขึนไว้ใน Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress อีกด้ วย ้ COMPANY LOGO
  • 88. www.themegallery.com 1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น - อัพโหลดไฟล์วดีโอขึนไว้ใน Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress ิ ้ COMPANY LOGO
  • 89. www.themegallery.com 1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น - การนาภาพต่ างๆ เช่ น ภาพภู เขาไฟ ภาพโลก ภาพหิน มาจาก Flickr และ Google COMPANY LOGO
  • 90. www.themegallery.com 1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น - การอัพ โหลดเอกสารประกอบการสอน Presentation ใบงาน ขึ้นไว้ ใน Slideshare และ Scribd ตลอดจนการน าเอกสารต่ างๆที่ เ กี่ ย วข้ อง ใน Slideshare และ Scribd มาใช้ ประกอบการสอน COMPANY LOGO
  • 91. www.themegallery.com 1) ใช้ เป็ นสื่ อการเรียนการสอน เช่ น - การนาเสนอข้ อ มู ล เนื้อ หา แหล่ งเรี ยนรู้ อ อนไลน์ รายละเอียดที่น่า สนใจ ผ่ านทาง Wordpress ให้ นักเรี ยนเข้ ามาศึกษาเรี ยนรู้ ด้วยตนเองตามอัธยาศั ย และมีปฏิสัมพันธ์ ในการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลียนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน ่ COMPANY LOGO
  • 92. www.themegallery.com 2) ใช้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งผู้ ส อนกั บ ผู้ เ รี ย น ผู้ เ รี ย นกั บ ผู้ เ รี ย น ตลอดจนผู้ทสนใจ เช่ น การใช้ Facebook Twitter Wordpress ในการ ี่ แจ้ งข่ าวสาร แจ้ งภาระงาน ตลอดจนการเชิ ญชวนและประชาสั มพันธ์ เข้ าไปศึกษาเยียมชมในบล็อกของครู ่ COMPANY LOGO
  • 93. www.themegallery.com 3) ใช้ ในการมอบหมายงาน แสดงความคิ ด เห็ น แบ่ งปั น และ แลกเปลียนเรียนรู้ ระหว่ างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ตลอดจน ่ ผู้ทสนใจ ผ่ านการ Comment ในบทความ ่ี COMPANY LOGO
  • 94. www.themegallery.com ทั้งนี้ในการมอบหมายงาน ครู จะดาเนินการสร้ างบทความที่มีการนา เนื้อหาข่ าว รู ปภาพ หรื อคลิปวิดีโอ มานาเสนอ พร้ อมกับการตั้งคาถามที่เน้ น การกระตุ้ น ให้ นั ก เรี ย นน าความรู้ จากที่ เ รี ย นมาในห้ อ งเรี ย น มาคิ ด เพื่ อ ตอบคาถาม ในเชิ งวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น เพราะฉะนั้นนักเรี ยนจะมี คาตอบทีไม่ ซ้ากันและไม่ สามารถลอกกันได้ ซึ่งบางครั้งอาจกาหนดให้ มีการทา ่ โพลล์ เพื่อ ส ารวจความคิ ด เห็นของนั ก เรี ยนด้ ว ย พร้ อ มกันนี้ไ ด้ จั ด หาแหล่ ง เรี ยนรู้ แหล่ งข้ อ มู ล และแสวงหาสื่ อ การเรี ยนการสอนเพื่อใช้ ในการส่ ง เสริ ม การจัดการเรียนการสอนอยู่เสมอ นอกจากการเรี ยนการสอนแล้ ว ยังได้ ใช้ Wordpress ในการเผยแพร่ และประชาสั มพันธ์ ผลงาน กิจกรรม ตลอดจนสาระน่ ารู้ ท่จะเป็ นประโยชน์ ต่อ ี นักเรียน ครู และผู้ทสนใจอีกด้ วย ี่ COMPANY LOGO
  • 95. www.themegallery.com 4. ขั้นประเมินผล หลังจากทีได้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ ว จะต้ องมีการวัด ่ และประเมิ น ผล ตรวจงานและประเมิ น ผลจากการตอบค าถาม แสดงความคิ ด เห็ น ของนั ก เรี ย นต่ อ สถานการณ์ ท่ี ค รู ก าหนดเป็ น บทความผ่ านทาง http://teacherkobwit2010.wordpress.com และ การทางานภายในห้ องเรียนอย่ างต่ อเนื่อง ทั้งนีครู อาจใช้ Social Media ้ ที่หลากหลายในการประเมิน เช่ น Google Doc, Springnote หรือการ ทาโพลล์ เป็ นต้ น ซึ่งในการประเมินครู ควรกาหนดเป็ น RuBric Score ทีชัดเจน ่ COMPANY LOGO
  • 97. www.themegallery.com สรุปแนวทางการใช้ E-learning กับ Social Media เพือพัฒนาการศึกษา ่ โดย ครู กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ http://teacherkobwit2010.wordpress.com COMPANY LOGO
  • 98. LOGO เพือการนาเสนอ ่ เพือการติดต่ อ สื่ อสาร ่ เพือเป็ นสื่ อการเรียนการ ่ เพือการสื บค้ นข้ อมูล ่ เนือหาสาระ ข้ อมูล ้ แบ่ งปันข้ อมูล แจ้ ง สอน ช่ วยส่ งเสริมความรู้ ออนไลน์ ผ่าน Search ต่ างๆ และรวบรวม ข่ าวสาร ความเข้ าใจ เช่ น Youtube, แหล่งเรียนรู้ ต่างๆโดย engine ต่ างๆ เช่ น เช่ น Facebook , Twitter Scribd Slideshare google ใช้ Blog , Skype เพือเป็ นส่ วนหนึ่งใน ่ เพือสร้ างเครือข่ ายสังคม ่ การจัดกิจกรรมการ ออนไลน์ ในการ การนา Social media เรียนรู้ เช่ น Blog แลกเปลียนเรียนรู้ ่ ไปใช้ ในการจัดการสอนวิชาต่ างๆ Mindmeister , เช่ น Facebook , Twitter googledoc , Blog เพือการดูแลช่ วยเหลือ ่ เพือการอัพโหลดและ ่ เพือการวัดและ ่ แชร์ รูปภาพ/คลิป เพือการเผยแพร่ และ ่ ประเมินผลการเรียนรู้ ติดตาม พฤติกรรม วีดโอ ิ ประชาสัมพันธ์ ผลงาน ของนักเรียน เช่ น ของนักเรียน เช่ น เช่ น Facebook , ของครูและนักเรียน เช่ น Googledoc, Monkey Facebook , Twitter Picasa, youtube survey, Facebook , Twitter , จัดทาโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ Blog
  • 99. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 100. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 101. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 102. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 103. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 104. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 105. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 106. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 107. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 108. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 109. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 110. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 111. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 112. www.themegallery.com COMPANY LOGO
  • 114. LOGO