SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
โครงงานเรื่อง ปอดของฉัน
โครงงานประเภท การประดิษฐ์
ปัญหา สามารถนาวัสดุที่เหลือใช้นามาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียมได้หรือไม่
สมมติฐาน วัสดุที่เหลือใช้สามารถนามาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียมได้
ตัวแปรต้น อวัยวะปอด
ตัวแปรตาม ได้ลูกโป่งที่สามารถทางานคล้ายกับอวัยวะปอดได้
ตัวแปรควบคุม ปริมาตร ความดัน
ผู้จัดทา 1. เด็กชายอภิวัฒน์ รัตนประพันธ์
2. เด็กชายศรายุทธ สงอินทร์
3. เด็กชายพรชัย ชูประยูร
ครูที่ปรึกษา 1. นายธีรวุฒิ กางกรณ์
2. นายปัญญา วุฒิ
ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6
ปีการศึกษา 2556
โรงเรียน เทศบาล ๔ (วัดโพธาวาส) สานักการศึกษา เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
ก
บทคัดย่อ
โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง ปอดของฉัน เป็นโครงงานที่เล็งเห็นถึงความสาคัญของ
การศึกษาระบบการหายใจของคนเรา ซึ่งโดยนาวัสดุเหลือใช้ คือ ขวดน้า ก้านลูกโป่ง มาประดิษฐ์เป็นปอด
เทียม เพื่อใช้ในการศึกษาระบบการหายใจ และแสดงให้นักเรียนเห็นถึงความสาคัญของการดูแลรักษา
สุขภาพ เรื่องปอด เพราะในปัจจุบัน มีการสูบบุหรี่มากซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปอด
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง “ ปอดของฉัน ” เป็นโครงงานที่ทาขึ้นโดยมีการสนับสนุน
งบประมาณ สถานที่ และอุปกรณ์ในการทดลองจากนางเยาวภา วงศ์กองแก้ว ผู้อานวยการสถานศึกษา
นางสาวรัตนา บัวเพชร นางสุรัชฎา ชูเลขา และนางวราณี สุภาตรี รองผู้อานวยการสถานศึกษา
ขอขอบคุณคุณครูธีรวุฒิ กางกรณ์ หัวหน้ากลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ครูปัญญา วุฒิ ครูรัตน์ แก้ว
ทอง หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ครูเพียงใจ บุญประสงค์ หัวหน้างานวิชาการครูเตือนใจ เหล่า
พราหมณ์ และครูสานิตย์ โต๊ะหมอ ที่ให้คาปรึกษา และวิธีการนาเสนอโครงงานสุขศึกษาและพล
ศึกษา แนวทางในการปฏิบัติการทดลอง การศึกษาค้นคว้าเอกสารประกอบ และขอขอบคุณครูวิชา พรหม
โชติ เป็นอย่างยิ่งที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญา ตลอดจนเพื่อนนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เป็น
กาลังใจและสนับสนุนในการทาโครงงานครั้งนี้
คณะผู้จัดทาขอขอบคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงที่ให้การสนับสนุนในการจัดทาโครงงานสุขศึกษา
และพลศึกษาสาเร็จได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา
บทที่ 1
บทนา ,
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
เนื่องจากนักเรียนไม่ค่อยเข้าใจเนื้อหาเกี่ยวกับระบบหายใจ จึงปรึกษาคุณครูเกี่ยวกับการ
ทางานของปอด โดยประดิษฐ์วัสดุที่เหลือใช้มาทดลองทาเป็นปอดเทียมจากลูกโป่ง เพื่อสังเกตดูการ
หายใจเข้า อากาศจะเข้าไปในปอด ทาให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น การหายใจออกอากาศจะออกจากปอด ทาให้
ปอดแฟบลง ปอดของคนเราจึงต้องทางานหนักตลอดเวลา จึงมีปัจจัยเสี่ยงตามมา เช่น การสูบบุหรี่ที่
ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอด ซึ่งถือเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อย อาจทาให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้
สาเหตุหลักของการเกิดโรคมะเร็งปอดคือการสูบบุหรี่ รองลงมา ได้แก่ การอยู่ในสถานที่
ที่มีมลภาวะเป็นพิษ กรรมพันธุ์ และติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง
ปอดระยะแรก จะไม่ค่อยมีอาการอะไรแสดงให้เห็น จนกระทั่งมีอาการไอ เสมหะ มีเลือดปน รู้สึกแน่น
หน้าอก น้าหนักตัวลดลง เป็นไข้โดยเฉพาะคนไข้ที่มีอาการไอและรักษาประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วไม่หาย
ปัจจุบันวิวัฒนาการทางการแพทย์ก้าวหน้าไปมาก ล่าสุดได้มีเทคโนโลยีการรักษามะเร็ง
ปอดที่ล้าสมัยที่สุดในโลก คือ วิธีการรักษาโดยใช้ความเย็นสลับความร้อน ที่สามารถทาลายเนื้องอกที่ปอด
ให้ตายได้อย่างแม่นยาโดยไม่ต้องผ่าตัด และมีผลข้างเคียงน้อย โดย นายแพทย์หวู ชิง ไข่ (Wu Ging Kai)
นายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาโรคมะเร็งประจาโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว
ดังนั้นจากข้อมูลข้างต้น คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญของการทางานของปอด จึงคิด
ทาโครงงาน เรื่อง “ ปอดของฉัน ” โดยประดิษฐ์วัสดุที่เหลือใช้มาทดลองทาเป็นปอดเทียม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจะได้เข้าใจเกี่ยวกันเนื้อหาเกี่ยวกับการทางานของปอดมากขึ้น
2. เพื่อนาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียม
3. เพื่อหาคุณภาพของปริมาตร ความดัน ที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียม
4. เพื่อศึกษาการทางานของปอดเทียมที่นามาประดิษฐ์จากทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
ขอบเขตการศึกษา
1. ศึกษานาเศษวัสดุที่เหลือใช้ คือกระป๋ องใส่น้าพริก หลอดพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นปอดของฉัน
2. ศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ปอดของฉันโดยหาปริมาตรเมื่อดึงแผ่นยางลง เมื่อปล่อยแผ่นยาง
ปกติ และเมื่อดันแผ่นยางเข้าไปข้างใน
2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนสามารถนาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียมได้
2. นักเรียนสามารถหาคุณภาพของปริมาตร ความดัน ที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็น
ปอดเทียม
3. นักเรียนสามารถรู้และเข้าใจการทางานของปอดเทียมโดยใช้ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมา
ประดิษฐ์ได้
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงาน “ การประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียม ” ครั้งนี้ คณะผู้จัดทาได้
ศึกษาค้นคว้า ความรู้และเอกสารที่เกี่ยวข้องในการจัดทาโครงงาน มีดังนี้
ความรู้เกี่ยวกับงานประดิษฐ์
ความหมายของงานประดิษฐ์ หมาย ถึง งานที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์สร้างหรือ
ประดิษฐ์ขึ้นตาม วัตถุประสงค์ที่หลากหลาย หรือเพื่อความสวยงาม หรือประดับตกแต่งหรือเพื่อประโยชน์
ใช้สอย
ความรู้เกี่ยวกับปอด
ปอด เป็นอวัยวะหนึ่งในร่างกายที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ใช้ในการหายใจ
หน้าที่หลักของปอดก็คือ การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบเลือดในร่างกาย และ
แลกเปลี่ยนเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากระบบเลือดออกสู่สิ่งแวดล้อม ทางานโดยการประกอบกัน
ขึ้นของเซลล์เป็นจานวนล้านเซลล์ ซึ่งเซลล์ที่ว่านี้มีลักษณะเล็กและบางเรียงตัวประกอบกันเป็นถุงเหมือน
ลูกโป่ง ซึ่งในถุงลูกโป่งนี้เองที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซต่าง ๆ เกิดขึ้น นอกจากการทางานแลกเปลี่ยนก๊าซแล้ว
ปอดยังทาหน้าที่อื่น ๆ อีกคาว่าปอดในภาษาอังกฤษ ใช้คาว่า lung ในทางการแพทย์สิ่งที่เกี่ยวกับปอดใช้คา
ว่า Pulmonary นาหน้าสิ่งนั้น ๆ ในมนุษย์นั้นมีปอดอยู่ในทรวงอก มีสองข้าง คือขวาและซ้าย ปอดมี
ลักษณะนิ่ม ร่างกายจึงมีกระดูกซี่โครงคอยปกป้ องปอดไว้อีกชั้นหนึ่ง ปอดแต่ละข้างจะมีถุงบาง ๆ 2 ชั้น
หุ้มอยู่ เรียกว่า เยื่อหุ้มปอด เยื่อหุ้มปอดที่เป็นถุงบาง ๆ 2 ชั้นนี้เรียกว่า เยื่อหุ้มปอดชั้นในและ เยื่อหุ้มปอด
ชั้นนอก เยื่อหุ้มปอดชั้นในจะแนบติดไปกับผิวของปอด ส่วนเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกจะแนบติดไปกับช่อง
ทรวงอก ระหว่างเยื่อหุ้มปอด 2 ชั้นบางๆนี้จะมีช่องว่าง เรียกว่า ช่องเยื่อหุ้มปอด ในช่องเยื่อหุ้มปอดจะมี
ของเหลวคอยหล่อลื่นอยู่ เรียกว่า ของเหลวเยื่อหุ้มปอด ของเหลวนี้จะช่วยให้เยื่อหุ้มปอดแต่ละชั้นสไลด์
ไปมาระหว่างกันได้โดยไม่ เสียดสีกัน และของเหลวเยื่อหุ้มปอดก็ยังช่วยยึดเยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นไว้
ไม่ให้แยกจาก กันโดยง่าย ปอดข้างซ้ายนั้นมีขนาดเล็กกว่าปอดข้างขวา เพราะปอดข้างซ้ายต้องเว้นที่เอาไว้
ให้หัวใจอยู่ในทรวงอกด้วยกันด้วย
4
วิธีการทางาน
การแลกเปลี่ยนก๊าซและการใช้ออกซิเจน เมื่อเราหายใจเข้า อากาศภายนอกเข้าสู่อวัยวะ ของระบบ
หายใจไปยังถุงลมในปอดที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือดฝอยติดอยู่ ดังนั้นเมื่ออากาศผ่านเข้ามาถึงถุงลมจึงมี
โอกาสใกล้ชิดกับเม็ดเลือดแดงซึ่ง ไหลมาพร้อมกับเลือดภายในหลอดเลือดฝอยมากขึ้น จากนั้นออกชิเจน
ในอากาศซึ่งมีประมาณมากกว่าประมาณออกซิเจนในเลือด ก็จะซึมผ่านผนังถุงลมและผนังหลอดเลือด
ฝอยนี้เข้าสู่เม็ดเลือดแดง และพร้อมกันนั้น คาร์บอนไดออกไชด์ที่เหลือจากกระบวนการเมทาบอลิซึมของ
เซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย และส่งมากับเม็ดเลือดแดงก็จะออกจากเม็ดเลือดผ่านผนังออกมาสู่ถุงลม ปกติใน
อากาศมีออกชิเจนร้อยละ 20 แต่อากาศที่เราหายใจมีออกซิเจนร้อยละ 13 กาจัดของเสียทางปอด
การกาจัดของเสียทางปอด กาจัดออกมาในรูปของน้าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นผลที่ได้
จากกระบวนการหายใจ โดยน้าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แพร่ออกจากเซลล์เข้าสู่หลอดเลือดและเลือด
จะทา หน้าที่ลาเลียงไปยังปอด แล้วแพร่เข้าสู่ถุงลมที่ปอด หลังจากนั้นจึงเคลื่อนผ่านหลอดลมแล้วออกจาก
ร่างกายทางจมูก ซึ่งเรียกว่ากระบวนการ Metabolism
หน้าที่ของปอด
 หน้าที่เกี่ยวกับการหายใจ แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
 หน้าที่อื่น ๆ นอกจากการหายใจ
 การควบคุมและขับสารต่าง ๆ เช่น ยา, แอลกอฮอล์ ออกจากระบบเลือด
 การควบคุมสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในเลือด ซึ่งมีความสาคัญต่อประสิทธิภาพการทางาน
ของเอนไซม์ และอวัยวะต่าง ๆ
 กรองลิ่มเลือดเล็ก ๆ ที่ตกตะกอนออกจากเส้นเลือดดา
 ปกป้องและรับแรงกระแทกที่จะทาอันตรายต่อหัวใจซึ่งอยู่ตรงกลางช่องทรวงอก
5
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการ
วัสดุ / อุปกรณ์ในการทดลอง
1. ยางวงแหวน
2. หลอดพลาสติกรูปตัว Y
3. ลูกโป่ง
4. กรวยพลาสติก
5. ยางวง
วัสดุ / อุปกรณ์ในการนาเสนอ
1. กรรไกร
2. กระดาษสี
3. บอร์ด พีวีซี
4. กาวสองหน้า
5. ไม้บรรทัด
วิธีการดาเนินการทาโครงงาน
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการทาโครงงาน
1. ศึกษาสืบค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการทาโครงงานจากห้องสมุด และ
อินเตอร์เน็ต
2. ศึกษาหาวิธีการทางานของลูกโป่งที่คล้ายกับอวัยวะปอด
ขั้นตอนที่ 2 การประดิษฐ์ปอดของฉัน
1) นากระป๋ องน้าที่เหลือใช้มาล้างทาความสะอาดและเจาะรูที่ก้นขวดให้มี
ขนาดรูตัว Y
2) นาก้านพลาสติกมาตัดต่อให้ได้เป็นรูปตัว Y
3) นาตัว Y จากข้อ 2 และข้อ 1 มาประกอบให้เป็นรูปดังนี้.-
4) ได้ปอดของฉัน
6
ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาการทดลองใช้ปอดของฉันนาลูกโป่งมา 2 ใบ ใส่ในหลอดพลาสติกรูปตัว Y
โดยนาแผ่นยางหรือลูกโป่งขนาดใหญ่ตัดครึ่งแล้วนาไปปิดปากกระป๋ องพลาสติก ดึงแผ่นยางลงช้า ๆ
สังเกตและบันทึกผล จะเห็นว่าแผ่นยางคืนสู่สภาพเดิม สังเกตและบันทึกผล ดันแผ่นยางขึ้นช้า สังเกตและ
บันทึกผล
7
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า
ตารางที่ 1 แสดงผลการทดลอง
การทดลอง การเปลี่ยนแปลงภายในกล่อง
ผลการทดลองปริมาตร ความดัน
1. ดึงแผ่นยางลง
2. ปล่อยแผ่นยางปกติ
3. ดันแผ่นยางเข้าไปข้างใน
เพิ่มขึ้น
ลดลง
ลดลง
ลดลง
เพิ่มขึ้น
เพิ่มขึ้น
ลูกโป่งขยายพองตัวขึ้น
ไม่มีการเปลี่ยน
ลูกโป่งแฟบลง
สรุปผลการทดลองจากตารางที่ 1
- หายใจเข้า – อากาศภายนอกจึงเข้าสู่จมูก – หลอดลง – ไปยังถุงลมปอด
- กระบังลม – เลื่อนต่าลง
- กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น
- ปริมาตรช่องอกเพิ่ม
- ความดันอากาศภายในลดลง (ต่ากว่าอากาศภายนอก)
- หายใจออก – อากาศภายในถุงลมปอดเคลื่อนที่จากถุงลมปอด – สู่หลอดลม - ออกทางจมูก
- กระบังลม - เลื่อนสูง
- กระดูกซี่โครงเลื่อนต่า
- ปริมาตรช่องอกลดลง
- ความดันอากาศภายในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
8
บทที่ 5
สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการทดลอง
1. ได้ปอดของฉันที่ทาจากกระป๋ องเหลือใช้พลาสติกตัว Y ผลการทดลองเมื่อดึงแผ่นยางลง
ปริมาตรของอากาศในครอบพลาสติกเพิ่มขึ้น ทาให้ความดันภายในอากาศลดลง อากาศจึงเคลื่อนที่จากที่ที
มีความดันสูงจากภายนอกเข้าสู่ภายใน ทาให้ลูกโป่งพองออก
2. เมื่อดันแผ่นยางเข้าไปในครอบพลาสติก ปริมาตรอากาศจะลดลง ทาให้ความดันเพิ่มขึ้น อากาศ
จึงเคลื่อนที่จากลูกโป่งออกสู่ภายนอกกล่อง ทาให้ลูกโป่งแฟบลง
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. สามารถนาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ประดิษฐ์ปอดเทียมได้
2. รู้จักนาทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดตรงตามพระราชดารัสของในหลวงที่รู้จักคุณค่า
ของธรรมชาติ
3. สามารถความรู้จากวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาปรับปรุงประยุกต์ใช้ประดิษฐ์ปอดเทียมนามาใช้
เกี่ยวกับการเรียนการสอนในวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา และบูรณาการกับวิชาวิทยาศาสตร์ได้
ข้อเสนอแนะ
ศึกษาทาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ประดิษฐ์อวัยวะเทียมในร่างกายต่อไป
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
- ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1
- วัตถุประสงค์ 1
- ขอบเขตการศึกษา 1
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ 5
- วัสดุ / อุปกรณ์ในการทดลอง 5
- วัสดุ / อุปกรณ์ในการนาเสนอ 5
- วิธีการดาเนินการทาโครงงาน 5
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 7
บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 8
- สรุปผลการทดลอง 8
- ประโยชน์ที่ได้รับ 8
- ข้อเสนอแนะ 8
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
เว็บไซต์ th.wikipedia.org/wki/ปอด
เว็บไซต์ www.trueplookpanya.com/new/ems_detail/Know Ledge/1583-00
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข 2544 รายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 

Mais procurados (20)

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 

Semelhante a โครงงานสุขศึกษา

โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)kookoon11
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54sciencefaiiz011132
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด Krupol Phato
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...Suda Yung
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกBally Achimar
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 

Semelhante a โครงงานสุขศึกษา (20)

โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 

Mais de Tatsawan Khejonrak (17)

ภาษาพาทีใบงาน
ภาษาพาทีใบงานภาษาพาทีใบงาน
ภาษาพาทีใบงาน
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
บทที่ ๕
บทที่ ๕บทที่ ๕
บทที่ ๕
 
บทที่ ๔
บทที่ ๔บทที่ ๔
บทที่ ๔
 
บทที่ ๓
บทที่ ๓บทที่ ๓
บทที่ ๓
 
บทที่ ๒
บทที่ ๒บทที่ ๒
บทที่ ๒
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
สระ1
สระ1สระ1
สระ1
 
สระ1
สระ1สระ1
สระ1
 
สระ
สระสระ
สระ
 
สระ
สระสระ
สระ
 
สะกดคำ
สะกดคำสะกดคำ
สะกดคำ
 
Saraare
SaraareSaraare
Saraare
 
Ja.pdf
Ja.pdfJa.pdf
Ja.pdf
 
Ja.pdf
Ja.pdfJa.pdf
Ja.pdf
 
Ja.pdf
Ja.pdfJa.pdf
Ja.pdf
 
นิทานพื้นบ้าน
นิทานพื้นบ้านนิทานพื้นบ้าน
นิทานพื้นบ้าน
 

โครงงานสุขศึกษา

  • 1. โครงงานเรื่อง ปอดของฉัน โครงงานประเภท การประดิษฐ์ ปัญหา สามารถนาวัสดุที่เหลือใช้นามาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียมได้หรือไม่ สมมติฐาน วัสดุที่เหลือใช้สามารถนามาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียมได้ ตัวแปรต้น อวัยวะปอด ตัวแปรตาม ได้ลูกโป่งที่สามารถทางานคล้ายกับอวัยวะปอดได้ ตัวแปรควบคุม ปริมาตร ความดัน ผู้จัดทา 1. เด็กชายอภิวัฒน์ รัตนประพันธ์ 2. เด็กชายศรายุทธ สงอินทร์ 3. เด็กชายพรชัย ชูประยูร ครูที่ปรึกษา 1. นายธีรวุฒิ กางกรณ์ 2. นายปัญญา วุฒิ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียน เทศบาล ๔ (วัดโพธาวาส) สานักการศึกษา เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
  • 2. ก บทคัดย่อ โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง ปอดของฉัน เป็นโครงงานที่เล็งเห็นถึงความสาคัญของ การศึกษาระบบการหายใจของคนเรา ซึ่งโดยนาวัสดุเหลือใช้ คือ ขวดน้า ก้านลูกโป่ง มาประดิษฐ์เป็นปอด เทียม เพื่อใช้ในการศึกษาระบบการหายใจ และแสดงให้นักเรียนเห็นถึงความสาคัญของการดูแลรักษา สุขภาพ เรื่องปอด เพราะในปัจจุบัน มีการสูบบุหรี่มากซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปอด
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง “ ปอดของฉัน ” เป็นโครงงานที่ทาขึ้นโดยมีการสนับสนุน งบประมาณ สถานที่ และอุปกรณ์ในการทดลองจากนางเยาวภา วงศ์กองแก้ว ผู้อานวยการสถานศึกษา นางสาวรัตนา บัวเพชร นางสุรัชฎา ชูเลขา และนางวราณี สุภาตรี รองผู้อานวยการสถานศึกษา ขอขอบคุณคุณครูธีรวุฒิ กางกรณ์ หัวหน้ากลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ครูปัญญา วุฒิ ครูรัตน์ แก้ว ทอง หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ครูเพียงใจ บุญประสงค์ หัวหน้างานวิชาการครูเตือนใจ เหล่า พราหมณ์ และครูสานิตย์ โต๊ะหมอ ที่ให้คาปรึกษา และวิธีการนาเสนอโครงงานสุขศึกษาและพล ศึกษา แนวทางในการปฏิบัติการทดลอง การศึกษาค้นคว้าเอกสารประกอบ และขอขอบคุณครูวิชา พรหม โชติ เป็นอย่างยิ่งที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญา ตลอดจนเพื่อนนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เป็น กาลังใจและสนับสนุนในการทาโครงงานครั้งนี้ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงที่ให้การสนับสนุนในการจัดทาโครงงานสุขศึกษา และพลศึกษาสาเร็จได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 4. บทที่ 1 บทนา , ที่มาและความสาคัญของปัญหา เนื่องจากนักเรียนไม่ค่อยเข้าใจเนื้อหาเกี่ยวกับระบบหายใจ จึงปรึกษาคุณครูเกี่ยวกับการ ทางานของปอด โดยประดิษฐ์วัสดุที่เหลือใช้มาทดลองทาเป็นปอดเทียมจากลูกโป่ง เพื่อสังเกตดูการ หายใจเข้า อากาศจะเข้าไปในปอด ทาให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น การหายใจออกอากาศจะออกจากปอด ทาให้ ปอดแฟบลง ปอดของคนเราจึงต้องทางานหนักตลอดเวลา จึงมีปัจจัยเสี่ยงตามมา เช่น การสูบบุหรี่ที่ ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอด ซึ่งถือเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อย อาจทาให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้ สาเหตุหลักของการเกิดโรคมะเร็งปอดคือการสูบบุหรี่ รองลงมา ได้แก่ การอยู่ในสถานที่ ที่มีมลภาวะเป็นพิษ กรรมพันธุ์ และติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง ปอดระยะแรก จะไม่ค่อยมีอาการอะไรแสดงให้เห็น จนกระทั่งมีอาการไอ เสมหะ มีเลือดปน รู้สึกแน่น หน้าอก น้าหนักตัวลดลง เป็นไข้โดยเฉพาะคนไข้ที่มีอาการไอและรักษาประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วไม่หาย ปัจจุบันวิวัฒนาการทางการแพทย์ก้าวหน้าไปมาก ล่าสุดได้มีเทคโนโลยีการรักษามะเร็ง ปอดที่ล้าสมัยที่สุดในโลก คือ วิธีการรักษาโดยใช้ความเย็นสลับความร้อน ที่สามารถทาลายเนื้องอกที่ปอด ให้ตายได้อย่างแม่นยาโดยไม่ต้องผ่าตัด และมีผลข้างเคียงน้อย โดย นายแพทย์หวู ชิง ไข่ (Wu Ging Kai) นายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาโรคมะเร็งประจาโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว ดังนั้นจากข้อมูลข้างต้น คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญของการทางานของปอด จึงคิด ทาโครงงาน เรื่อง “ ปอดของฉัน ” โดยประดิษฐ์วัสดุที่เหลือใช้มาทดลองทาเป็นปอดเทียม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจะได้เข้าใจเกี่ยวกันเนื้อหาเกี่ยวกับการทางานของปอดมากขึ้น 2. เพื่อนาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียม 3. เพื่อหาคุณภาพของปริมาตร ความดัน ที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียม 4. เพื่อศึกษาการทางานของปอดเทียมที่นามาประดิษฐ์จากทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น ขอบเขตการศึกษา 1. ศึกษานาเศษวัสดุที่เหลือใช้ คือกระป๋ องใส่น้าพริก หลอดพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นปอดของฉัน 2. ศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ปอดของฉันโดยหาปริมาตรเมื่อดึงแผ่นยางลง เมื่อปล่อยแผ่นยาง ปกติ และเมื่อดันแผ่นยางเข้าไปข้างใน
  • 5. 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนสามารถนาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียมได้ 2. นักเรียนสามารถหาคุณภาพของปริมาตร ความดัน ที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ทดลองทาเป็น ปอดเทียม 3. นักเรียนสามารถรู้และเข้าใจการทางานของปอดเทียมโดยใช้ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมา ประดิษฐ์ได้
  • 6. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงาน “ การประดิษฐ์ทดลองทาเป็นปอดเทียม ” ครั้งนี้ คณะผู้จัดทาได้ ศึกษาค้นคว้า ความรู้และเอกสารที่เกี่ยวข้องในการจัดทาโครงงาน มีดังนี้ ความรู้เกี่ยวกับงานประดิษฐ์ ความหมายของงานประดิษฐ์ หมาย ถึง งานที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์สร้างหรือ ประดิษฐ์ขึ้นตาม วัตถุประสงค์ที่หลากหลาย หรือเพื่อความสวยงาม หรือประดับตกแต่งหรือเพื่อประโยชน์ ใช้สอย ความรู้เกี่ยวกับปอด ปอด เป็นอวัยวะหนึ่งในร่างกายที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ใช้ในการหายใจ หน้าที่หลักของปอดก็คือ การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบเลือดในร่างกาย และ แลกเปลี่ยนเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากระบบเลือดออกสู่สิ่งแวดล้อม ทางานโดยการประกอบกัน ขึ้นของเซลล์เป็นจานวนล้านเซลล์ ซึ่งเซลล์ที่ว่านี้มีลักษณะเล็กและบางเรียงตัวประกอบกันเป็นถุงเหมือน ลูกโป่ง ซึ่งในถุงลูกโป่งนี้เองที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซต่าง ๆ เกิดขึ้น นอกจากการทางานแลกเปลี่ยนก๊าซแล้ว ปอดยังทาหน้าที่อื่น ๆ อีกคาว่าปอดในภาษาอังกฤษ ใช้คาว่า lung ในทางการแพทย์สิ่งที่เกี่ยวกับปอดใช้คา ว่า Pulmonary นาหน้าสิ่งนั้น ๆ ในมนุษย์นั้นมีปอดอยู่ในทรวงอก มีสองข้าง คือขวาและซ้าย ปอดมี ลักษณะนิ่ม ร่างกายจึงมีกระดูกซี่โครงคอยปกป้ องปอดไว้อีกชั้นหนึ่ง ปอดแต่ละข้างจะมีถุงบาง ๆ 2 ชั้น หุ้มอยู่ เรียกว่า เยื่อหุ้มปอด เยื่อหุ้มปอดที่เป็นถุงบาง ๆ 2 ชั้นนี้เรียกว่า เยื่อหุ้มปอดชั้นในและ เยื่อหุ้มปอด ชั้นนอก เยื่อหุ้มปอดชั้นในจะแนบติดไปกับผิวของปอด ส่วนเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกจะแนบติดไปกับช่อง ทรวงอก ระหว่างเยื่อหุ้มปอด 2 ชั้นบางๆนี้จะมีช่องว่าง เรียกว่า ช่องเยื่อหุ้มปอด ในช่องเยื่อหุ้มปอดจะมี ของเหลวคอยหล่อลื่นอยู่ เรียกว่า ของเหลวเยื่อหุ้มปอด ของเหลวนี้จะช่วยให้เยื่อหุ้มปอดแต่ละชั้นสไลด์ ไปมาระหว่างกันได้โดยไม่ เสียดสีกัน และของเหลวเยื่อหุ้มปอดก็ยังช่วยยึดเยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นไว้ ไม่ให้แยกจาก กันโดยง่าย ปอดข้างซ้ายนั้นมีขนาดเล็กกว่าปอดข้างขวา เพราะปอดข้างซ้ายต้องเว้นที่เอาไว้ ให้หัวใจอยู่ในทรวงอกด้วยกันด้วย
  • 7. 4 วิธีการทางาน การแลกเปลี่ยนก๊าซและการใช้ออกซิเจน เมื่อเราหายใจเข้า อากาศภายนอกเข้าสู่อวัยวะ ของระบบ หายใจไปยังถุงลมในปอดที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือดฝอยติดอยู่ ดังนั้นเมื่ออากาศผ่านเข้ามาถึงถุงลมจึงมี โอกาสใกล้ชิดกับเม็ดเลือดแดงซึ่ง ไหลมาพร้อมกับเลือดภายในหลอดเลือดฝอยมากขึ้น จากนั้นออกชิเจน ในอากาศซึ่งมีประมาณมากกว่าประมาณออกซิเจนในเลือด ก็จะซึมผ่านผนังถุงลมและผนังหลอดเลือด ฝอยนี้เข้าสู่เม็ดเลือดแดง และพร้อมกันนั้น คาร์บอนไดออกไชด์ที่เหลือจากกระบวนการเมทาบอลิซึมของ เซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย และส่งมากับเม็ดเลือดแดงก็จะออกจากเม็ดเลือดผ่านผนังออกมาสู่ถุงลม ปกติใน อากาศมีออกชิเจนร้อยละ 20 แต่อากาศที่เราหายใจมีออกซิเจนร้อยละ 13 กาจัดของเสียทางปอด การกาจัดของเสียทางปอด กาจัดออกมาในรูปของน้าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นผลที่ได้ จากกระบวนการหายใจ โดยน้าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แพร่ออกจากเซลล์เข้าสู่หลอดเลือดและเลือด จะทา หน้าที่ลาเลียงไปยังปอด แล้วแพร่เข้าสู่ถุงลมที่ปอด หลังจากนั้นจึงเคลื่อนผ่านหลอดลมแล้วออกจาก ร่างกายทางจมูก ซึ่งเรียกว่ากระบวนการ Metabolism หน้าที่ของปอด  หน้าที่เกี่ยวกับการหายใจ แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์  หน้าที่อื่น ๆ นอกจากการหายใจ  การควบคุมและขับสารต่าง ๆ เช่น ยา, แอลกอฮอล์ ออกจากระบบเลือด  การควบคุมสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในเลือด ซึ่งมีความสาคัญต่อประสิทธิภาพการทางาน ของเอนไซม์ และอวัยวะต่าง ๆ  กรองลิ่มเลือดเล็ก ๆ ที่ตกตะกอนออกจากเส้นเลือดดา  ปกป้องและรับแรงกระแทกที่จะทาอันตรายต่อหัวใจซึ่งอยู่ตรงกลางช่องทรวงอก
  • 8. 5 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ วัสดุ / อุปกรณ์ในการทดลอง 1. ยางวงแหวน 2. หลอดพลาสติกรูปตัว Y 3. ลูกโป่ง 4. กรวยพลาสติก 5. ยางวง วัสดุ / อุปกรณ์ในการนาเสนอ 1. กรรไกร 2. กระดาษสี 3. บอร์ด พีวีซี 4. กาวสองหน้า 5. ไม้บรรทัด วิธีการดาเนินการทาโครงงาน ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการทาโครงงาน 1. ศึกษาสืบค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการทาโครงงานจากห้องสมุด และ อินเตอร์เน็ต 2. ศึกษาหาวิธีการทางานของลูกโป่งที่คล้ายกับอวัยวะปอด ขั้นตอนที่ 2 การประดิษฐ์ปอดของฉัน 1) นากระป๋ องน้าที่เหลือใช้มาล้างทาความสะอาดและเจาะรูที่ก้นขวดให้มี ขนาดรูตัว Y 2) นาก้านพลาสติกมาตัดต่อให้ได้เป็นรูปตัว Y 3) นาตัว Y จากข้อ 2 และข้อ 1 มาประกอบให้เป็นรูปดังนี้.- 4) ได้ปอดของฉัน
  • 9. 6 ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาการทดลองใช้ปอดของฉันนาลูกโป่งมา 2 ใบ ใส่ในหลอดพลาสติกรูปตัว Y โดยนาแผ่นยางหรือลูกโป่งขนาดใหญ่ตัดครึ่งแล้วนาไปปิดปากกระป๋ องพลาสติก ดึงแผ่นยางลงช้า ๆ สังเกตและบันทึกผล จะเห็นว่าแผ่นยางคืนสู่สภาพเดิม สังเกตและบันทึกผล ดันแผ่นยางขึ้นช้า สังเกตและ บันทึกผล
  • 10. 7 บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า ตารางที่ 1 แสดงผลการทดลอง การทดลอง การเปลี่ยนแปลงภายในกล่อง ผลการทดลองปริมาตร ความดัน 1. ดึงแผ่นยางลง 2. ปล่อยแผ่นยางปกติ 3. ดันแผ่นยางเข้าไปข้างใน เพิ่มขึ้น ลดลง ลดลง ลดลง เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น ลูกโป่งขยายพองตัวขึ้น ไม่มีการเปลี่ยน ลูกโป่งแฟบลง สรุปผลการทดลองจากตารางที่ 1 - หายใจเข้า – อากาศภายนอกจึงเข้าสู่จมูก – หลอดลง – ไปยังถุงลมปอด - กระบังลม – เลื่อนต่าลง - กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น - ปริมาตรช่องอกเพิ่ม - ความดันอากาศภายในลดลง (ต่ากว่าอากาศภายนอก) - หายใจออก – อากาศภายในถุงลมปอดเคลื่อนที่จากถุงลมปอด – สู่หลอดลม - ออกทางจมูก - กระบังลม - เลื่อนสูง - กระดูกซี่โครงเลื่อนต่า - ปริมาตรช่องอกลดลง - ความดันอากาศภายในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
  • 11. 8 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง 1. ได้ปอดของฉันที่ทาจากกระป๋ องเหลือใช้พลาสติกตัว Y ผลการทดลองเมื่อดึงแผ่นยางลง ปริมาตรของอากาศในครอบพลาสติกเพิ่มขึ้น ทาให้ความดันภายในอากาศลดลง อากาศจึงเคลื่อนที่จากที่ที มีความดันสูงจากภายนอกเข้าสู่ภายใน ทาให้ลูกโป่งพองออก 2. เมื่อดันแผ่นยางเข้าไปในครอบพลาสติก ปริมาตรอากาศจะลดลง ทาให้ความดันเพิ่มขึ้น อากาศ จึงเคลื่อนที่จากลูกโป่งออกสู่ภายนอกกล่อง ทาให้ลูกโป่งแฟบลง ประโยชน์ที่ได้รับ 1. สามารถนาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ประดิษฐ์ปอดเทียมได้ 2. รู้จักนาทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดตรงตามพระราชดารัสของในหลวงที่รู้จักคุณค่า ของธรรมชาติ 3. สามารถความรู้จากวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาปรับปรุงประยุกต์ใช้ประดิษฐ์ปอดเทียมนามาใช้ เกี่ยวกับการเรียนการสอนในวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา และบูรณาการกับวิชาวิทยาศาสตร์ได้ ข้อเสนอแนะ ศึกษาทาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ประดิษฐ์อวัยวะเทียมในร่างกายต่อไป
  • 12. ค สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 - ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1 - วัตถุประสงค์ 1 - ขอบเขตการศึกษา 1 - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ 5 - วัสดุ / อุปกรณ์ในการทดลอง 5 - วัสดุ / อุปกรณ์ในการนาเสนอ 5 - วิธีการดาเนินการทาโครงงาน 5 บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 7 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 8 - สรุปผลการทดลอง 8 - ประโยชน์ที่ได้รับ 8 - ข้อเสนอแนะ 8 บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 13. บรรณานุกรม เว็บไซต์ th.wikipedia.org/wki/ปอด เว็บไซต์ www.trueplookpanya.com/new/ems_detail/Know Ledge/1583-00 หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข 2544 รายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551