SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของไทย (Thai Model of Civic
Education)
ความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมามีหลายสาเหตุ หนึ่งในนั้น
คือ การมีระบบการปกครองที่ไม่สามารถนาพาประเทศสู่ความทันสมัย ที่มาพร้อมกับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ ประเทศไทยจาเป็นต้องมีกระบวนการทางการเมือง ที่ทั้งสามารถ
บริหารจัดการระบบเศรษฐกิจที่ซับซ้อน และบริหารจัดการสังคมพหุนิยม การลงหลักปักฐาน
ของกระบวนการทางประชาธิปไตย แบบมีส่วนร่วมของพลเมืองจากทุกภาคส่วนของสังคม
เท่านั้น ที่จะสามารถนาสู่การแก้ปัญหานี้ได้
ในแง่นี้ กระบวนการประชาธิปไตยของการเข้าสู่อานาจ การปรึกษาหารือ การตัดสินใจ และการ
ควบคุมการใช้อานาจทั้งหลายนี้ จะต้องอาศัยพลเมืองเป็นศูนย์กลางของการแสดงบทบาท
โดยเฉพาะการปรึกษาหารือ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ ที่ได้มีการถกเถียงประเด็นสาธารณะที่
สาคัญ ๆ กับทุกภาคส่วนของสังคม กระทั่งนาไปสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องร่วมกัน โดยมี
เป้าหมายที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และมีพลเมือง มีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน ด้วยเหตุดังกล่าว
บทบาทของพลเมืองจึงเป็นกุญแจอันสาคัญยิ่งของกระบวนการประชาธิปไตย
เว็บไซต์ thaiciviceducation.org นี้ ถือกาเนิดขึ้นด้วยความร่วมแรงร่วมใจของคนไทยกลุ่มหนึ่ง
ที่เชื่อว่าปัจจัยที่สาคัญที่สุดของความสาเร็จของประชาธิปไตย คือการจัดการศึกษาเพื่อสร้าง
ความเป็นพลเมือง (civic education) เพราะไม่มีใครรู้เรื่องประชาธิปไตยมาตั้งแต่เกิด
ประชาธิปไตยจะสาเร็จได้ด้วยดีก็ต้องฝึกคนให้มีความรู้ความเข้าใจ กระทั่งเกิดสานึก เห็น
คุณค่า มีเจตคติที่ถูกต้องสอดคล้องต่อแนวทางประชาธิปไตย คิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย
ปราศจากการครอบงา มีคุณลักษณะ และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมที่เห็นคุณค่าใน
ความเป็นมนุษย์อย่างมีศักดิ์ศรีเสมอกัน และรักในความยุติธรรม ทั้งนี้เพื่อสร้าง "สังคมไทยที่
พลเมืองมีความรู้เท่าทัน ใช้สิทธิเสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมทางการเมือง
และมีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย"
ดังนั้นพวกเราจึงมาทางานร่วมกันบนพื้นฐานของการศึกษาหารูปแบบการศึกษา เพื่อสร้าง
พลเมืองของไทย (Thai Model of Civic education) เพื่อให้เป็นเข็มทิศในการปฏิรูปการศึกษา
และสังคมไทย และเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้เกี่ยวข้อง สามารถนามาเป็นประเด็นสู่การถกเถียง
สาธารณะอย่างกว้างขวาง เพื่อประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม
ถึงแม้ว่าภารกิจของการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยจะเป็นภารกิจ
ที่หนักหน่วง อีกทั้งยังต้องใช้เวลายาวนานกว่าที่จะเห็นผล แต่ภารกิจการเตรียมคนสาหรับ
สังคมประชาธิปไตย เป็นภารกิจที่จาเป็น และไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แม้แต่ประเทศที่
ประชาธิปไตยพัฒนาไปอย่างดีแล้ว ก็ยังต้องสานต่อภารกิจนี้ไปตลอด โดยขณะนี้กลุ่มที่ทางาน
ด้านการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ได้รับการสนับสนุนจาก
มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท จัดทา เว็บไซต์เพื่อเป็นศูนย์รวมความรู้ ความคิด และเวทีแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ประสบการณ์ของทุกคนที่สนใจที่จะพัฒนาประชาธิปไตยของไทย ด้วยการศึกษาเพื่อ
สร้างความเป็นพลเมืองร่วมกัน
วัตถุประสงค์ร่วม
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย
“Democratic Citizenship Education”
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองคืออะไร?
ทาไมการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองจึงสาคัญ?
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง (citizenship education) หมายถึง การพัฒนาศักยภาพ
ประชาชนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ มีความรู้ดี มีความรับผิดชอบ ตระหนักในบทบาทหน้าที่
มีคุณลักษณะ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติในฐานะที่เป็นพลเมืองใน
ระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีประชาชนเป็นเจ้าของอานาจสูงสุดในการปกครอประเทศ ในแง่นี้
พลเมือง (citizen)จึงเป็นกุญแจอันสาคัญยิ่งของกระบวนการประชาธิปไตยเพราะว่าพลเมือง
เป็นศูนย์กลาง ของการแสดงบทบาทโดยเฉพาะการปรึกษาหารือถกเถียงประเด็นสาธารณะที่
สาคัญๆกับทุกภาคส่วนของสังคมกระทั่งนาไปสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องร่วมกันโดยมีเป้าหมายที่
เป็นประโยชน์ต่อสังคมและมีพลเมืองมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน ดังนั้นปัจจัยที่สาคัญที่สุดของ
ความสาเร็จของประชาธิปไตยคือการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองเพราะ ไม่มีใครรู้
เรื่องประชาธิปไตยมาตั้งแต่เกิดประชาธิปไตยจะสาเร็จได้ด้วยดีก็ต้องฝึกคนให้มีความรู้ความ
เข้าใจกระทั่งเกิดสานึกเห็นคุณค่ามีเจตคติที่ถูกต้องสอดคล้องต่อแนวทางประชาธิปไตยทั้งนี้
เพื่อสร้าง“สังคมไทยที่พลเมือง มีความรู้เท่าทัน ใช้สิทธิเสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม มี
ส่วนร่วมทางการเมือง และมีวัฒนธรรมและ วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย”
Democratic Citizenship Education เริ่มตั้งแต่เด็ก และดาเนินต่อไปไม่สิ้นสุดจนกระทั่งถึง
ระดับอุดมศึกษา และเข้าสู่วัยทางาน
Democratic Citizenship Education ส่งเสริมเสรีภาพและทักษะการคิด และการแสดงออก
มากกว่าการทาตาในแบบการศึกษาระบบเดิม
Democratic Citizenship Education ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน คือ การเคารพคุณค่าของความ
เป็นมนุษย์เสมอกันเคารพความแตกต่าง และความยุติธรรม
Democratic Citizenship Education ส่งเสริมการเรียนรู้ทางการเมือง (Political Education)
เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมืองมากกว่าการเรียนรู้จากการรับรู้ แต่ขาดประสบการณ์
และเพื่อไม่ให้การใช้อานาจทางการเมือง ถูกผูกขาดอยู่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ
นักการเมืองและข้าราชการ
Democratic Citizenship Education ต้องการสื่อที่มีพลัง มีอิสระในการขับเคลื่อนการสร้าง
พลเมืองใหม่ของประเทศ
Democratic Citizenship Education ต้องได้รับการสนับสนุนทั้งระบบของสังคม จึงจะเปลี่ยน
ประชาชน (Subject) ให้เป็นพลเมือง (Citizen) ที่รับผิดชอบประเทศได้ คือ มีพลังประชาชนที่
เห็นอนาคตร่วมกันต่อทิศทางการสร้างพลเมืองใหม่ มีพลังความรู้ มีผู้มีความรู้ คิดค้นวิธีการ
และหลักสูตรในการจัดการเรียนรู้ใหม่ที่ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาพลเมือง และมีพลังทาง
การเมือง หรือเจตจานงทางการเมือง (Political will) ของรัฐบาล ของสถาบัน องค์กรที่
เกี่ยวข้องกับ อานาจรัฐที่แสดงความมุ่งมั่นเรื่องการสร้างพลเมืองใหม่ของประเทศ
หลักการร่วมในด้านคุณลักษณะของพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างความความเป็นพลเมืองควรจะสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ให้มีลักษณะที่สาคัญๆ ดังต่อไปนี้
รักความเป็นธรรมและความเสมอภาค (Adhere to equality and justice)
ยึดถือความยุติธรรม ให้ความสาคัญกับความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันทางการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคม ในฐานะที่เป็นมนุษย์ด้วยกัน โดยไม่มีการกีดกัน เนื่องจากความแตกต่าง
ในเรื่องถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ
ทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง
ใช้เสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Use freedom based on social responsibility)
บุคคลในระบอบประชาธิปไตยย่อมมีเสรีภาพได้มากตราบเท่าที่ไม่ละเมิดผู้อื่น นั่นหมายความ
ว่าบุคคลพึงใช้เสรีภาพด้วยความยินดีที่จะให้ผู้อื่นมีเสรีภาพได้เช่นเดียวกับตน กล่าวคือบุคคล
ย่อมใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบโดยที่เสรีภาพนั้นต้องไม่ก่อให้เกิดผลเสียแก่ผู้อื่น ระบอบ
ประชาธิปไตยไม่สามารถให้บุคคลใช้เสรีภาพโดยไม่ต้องรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวมได้
เคารพกฎหมายและกฎกติกา (Respect law and rule)
ทุกสังคมต้องมีกฎหมายและกฎกติกา บุคคลในระบอบประชาธิปไตยจึงต้องเคารพกฎหมาย
และกฎกติกาเพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข โดยที่บุคคลในระบอบประชาธิปไตยทุกคน
จะต้องสนใจและช่วยกันผลักดันให้กฎหมายและกฎกตกาต่างๆของสังคมมีความเป็นธรรม
สาหรับทุกคนด้วย
ใช้สิทธิแต่ไม่ละทิ้งหน้าที่ (Use right without neglecting duty)
ระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการเมืองการปกครองที่บุคคลได้รับการรับรองสิทธิต่างๆ
มากมายในฐานะมนุษย์และในฐานะอื่นๆ นอกจากนั้นบุคคลในระบอบประชาธิปไตยก็ย่อมมี
สิทธิที่จะให้ด้วย สิทธิที่จะให้นี้ก็คือหน้าที่นั่นเอง เช่น หน้าที่ในการเลือกตั้ง หน้าที่ในการเสีย
ภาษี หน้าที่ในการศึกษาเล่าเรียน เป็นต้น บุคคลในระบอบประชาธิปไตยจะมีสิทธิต่างๆได้ก็
ต้องทาหน้าที่ด้วย เป็นต้าว่า บุคคลมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากรัฐบุคคลก็ย่อมต้องมีหน้าที่ต้อง
เสียภาษีด้วย บุคคลมีสิทธิที่จะได้รับประโยชน์จากนโยบายที่ดีของรัฐบาลบุคคลก็ย่อมต้องมี
หน้าที่ในการใช้สิทธิเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณที่ดีด้วย ระบอบประชาธิปไตยไม่สามารถดารง
อยู่ได้ด้วยดีหากบุคคลเรียกร้องสิทธิโดยไม่ต้องทาหน้าที่
มีภราดรภาพ และเคารพความแตกต่าง (Adhere to fraternity and respect for differences)
การที่บุคคลในระบอบประชาธิปไตยมีความเสมอภาคกันอาจทาให้บุคคลในสังคมขัดแย้ง
แตกแยกกัน เพราะบุคคลในระบอบประชาธิปไตยย่อมมีความแตกต่างกันในทางความคิดเห็น
หรืออื่นๆได้ แต่ความแตกต่างเหล่านี้ต้องไม่เป็นเหตุให้บุคคลโกรธ เกลียด ทะเลาะ ขัดแย้ง ทา
ร้าย หรือสังหารบุคคลอื่นได้ บุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องมีขันติธรรม (tolerance)
กล่าวคือบุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องอดทนต่อความแตกต่างของกันและกันได้ ความ
แตกต่างของบุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องไม่ทาให้สังคมแตกแยก
เห็นความสาคัญของประโยชน์ส่วนรวม (Consider public interests)
เนื่องจากบุคคลไม่สามารถอยู่คนเดียวในโลกได้ จึงต้องอยู่ร่วมกันในสังคม บุคคลจึงต้องถือ
ประโยชน์ส่วนรวมเป็นสาคัญด้วย เพราะหากทุกคนเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนสาคัญกว่า
ประโยชน์ส่วนรวม สังคมก็ไม่อาจดารงอยู่ได้ และในกรณีที่มีความขัดกันในผลประโยชน์
(conflict of interests) บุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องสามารถแยกประโยชน์ส่วนรวมกับ
ประโยชน์ส่วนตนได้ ทั้งยังพึงเล็งเห็นให้ได้ว่า แท้ที่จริงประโยชน์ของส่วนรวมก็เป็นประโยชน์
ของบุคคลนั้นเองด้วย
มีส่วนร่วมทางการเมือง (Participate in politics)
ระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการเมืองการปกครองที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง
ด้วยเพราะการเมืองเป็นเรื่องของประชาชนทุกคน ดังนั้นบุคคลในระบอบประชาธิปไตยจึง
จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจทางการเมืองที่เพียงพอต่อการเป็นพลเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตยด้วย เป็นต้นว่า บุคคลในระบอบประชาธิปไตยพึงรู้และเข้าใจว่าการเมืองมี
ความสาคัญต่อชีวิตของตนและคนอื่นๆในสังคมอย่างไรรู้และเข้าใจโครงสร้างพื้นฐานของระบบ
การเมืองการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศ รู้และเข้าใจขอบเขตภารกิจ
และอานาจหน้าที่ของตัวแทนที่เลือกเข้าไป รู้นโยบายของพรรคการเมือง รวมถึงพฤติกรรมและ
กลไกการควบคุมตรวจสอบบุคลากรทางการเมืองด้วยนอกจากนี้พลเมืองใน ระบอบ
ประชาธิปไตยยังสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองได้หลายทาง เช่น
การเลือกตั้งส.ส. ส.ว.
การเลือกตั้งท้องถิ่น นายกอบต. สมาชิกสภาอบตนายกเทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาลนายก
อบจ.สมาชิกสภาอบจ.
การออกเสียงประชามติ
ร่วมทาประชาคมให้ความเห็นชอบเรื่องต่างๆ
เสนอแนะแนวทางการทางานและการแก้ไขปัญหา
การเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติ
การเข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ติดตามตรวจสอบการทางานของผู้ดารงตาแหน่งทาการเมือง
ร่วมทาประชาพิจารณ์
ช่วยผู้สมัครรับเลือกตั้งและพรรคการเมืองหาเสียง
เป็นสมาชิกพรรคการเมือง
บริจาคเงินให้ผู้สมัครและพรรคการเมือง
การรวมกลุ่มกันปกป้องสิทธิต่างๆ
การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธเพื่อประท้วงหรือเรียกร้องเรื่องต่างๆ
ช่วยเหลือภารกิจของส่วนรวม
สมัครรับเลือกตั้ง
การถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่น
คิดอย่างมีวิจารณญาณ (Think critically)
บุคคลในระบอบประชาธิปไตยจะต้องได้รับข้อมูลที่เพียงพอเพื่อคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี มี
ทักษะในการตรวจสอบ การตีความ การสะท้อนความคิด อันนาไปสู่การสร้างความคิดเห็นของ
ตนเอง เรียนรู้ที่จะแสดงออกซึ่งความคิดเห็นของตน และพร้อมที่จะทบทวนแก้ไขความคิดเห็น
ของตน ตลอดจนรู้จักตัดสินใจเลือกบุคคล หรือตัดสินประเด็นทางการเมืองได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
การศึกษาในระบบ
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองสาหรับการศึกษาในระบบ หมายถึง การจัดการศึกษา
เพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย สาหรับการศึกษาในระบบโรงเรียนตาม
หลักสูตร และการกากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการจากส่วนกลางและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา ทั้งสายสามัญศึกษา
อาชีวศึกษา รวมถึงการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) และโรงเรียนเอกชนด้วย ทั้งนี้ เนื่องจาก
ประเทศไทยในปัจจุบันนี้เยาวชนเกือบทุกคน ต้องเข้ารับการศึกษาตามระบบ การศึกษาใน
ระบบจึงมีบทบาทโดยตรง และมีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาคนในทุกด้าน ซึ่งรวมถึง
การพัฒนาคนสาหรับประชาธิปไตยด้วย ทั้งนี้มิได้หมายถึงเฉพาะการจัดการศึกษาในกลุ่มสาระ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการจัดการศึกษาในกลุ่มสาระอื่นๆด้วย
ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมอื่นๆของสถานศึกษาด้วย
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองสาหรับการศึกษานอกระบบหมายถึง การจัดการศึกษา
เพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยสาหรับการศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ไม่ได้
อยู่ภายใต้หลักสูตรและการกากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แต่หากเป็นไปโดยการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ขององค์กรภาครัฐและภาคเอกชน เช่น
สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง สถาบันพระปกเกล้า สานักงานสภาพัฒนาการเมือง
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สถาบันนโยบายศึกษา โครงการศึกษาเฝ้า
ระวังสื่อและพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม เป็นต้น รวมถึง ครอบครัว ชุมชน
และสังคมด้วย
สื่อมวลชน
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองสาหรับสื่อมวลชน หมายถึง การจัดการศึกษา เพื่อสร้าง
ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย สาหรับสื่อมวลชนทั้งโทรทัศน์ วิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งครอบคลุมประชาชนทั้งที่อยู่ภายใต้การศึกษาในระบบ และประชาชนอีก
จานวนมากที่พ้นจากการศึกษาในระบบไปแล้ว ทั้งนี้มิได้หมายความว่า การศึกษาเพื่อสร้าง
ความเป็นพลเมืองสาหรับสื่อมวลชน จะต้องเป็นรายการที่มีลักษณะเป็นสาระวิชาการเท่านั้น
หากแต่หมายรวมถึง ละคร เพลง เกมโชว์ ตลก เฟซบุ๊ค แอพลิเคชั่น เกมคอมพิวเตอร์ หรือ
เว็บไซต์ต่างๆ ที่ได้สอดแทรกสาระและองค์ความรู้ไว้ในรายการต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนแนว
ทางการสร้างพลเมือง ในสังคมประชาธิปไตยอย่างทั่วด้าน และทั่วถึงให้มากที่สุดโดยสื่อที่
ทันสมัยและรวดเร็ว
http://www.thaiciviceducation.org/
ติดต่อเรา
มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (FES)
1550 อาคารธนภูมิ ชั้น 23
ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน
เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
อีเมลล์: thatsanavanh@fes-thailand.org
โทรศัพท์: 02 652 7178-9
แฟ็กซ์: 02 652 7180
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ถนนราชดาเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
อีเมลล์: noom_chalermchai@hotmail.com
โทรศัพท์: 02-2885511
อีเมลล์: wattana2004@gmail.com
https://www.facebook.com/pages/Thai-Civic-
Education/4258842841545

Mais conteúdo relacionado

Destaque

อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์Taraya Srivilas
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองTaraya Srivilas
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญTaraya Srivilas
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือTaraya Srivilas
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Taraya Srivilas
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานีTaraya Srivilas
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์Taraya Srivilas
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)Taraya Srivilas
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจTaraya Srivilas
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกTaraya Srivilas
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 

Destaque (18)

อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
 
Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่น
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
 
สเปน
สเปนสเปน
สเปน
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลก
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 

Semelhante a Thai civic org

ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Patchara Patipant
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยPoramate Minsiri
 
9789740335498
97897403354989789740335498
9789740335498CUPress
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ssusere8a8f7
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยThongkum Virut
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politicpailinsarn
 
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่นsiep
 

Semelhante a Thai civic org (19)

ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
 
9789740335498
97897403354989789740335498
9789740335498
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politic
 
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
 

Mais de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 

Mais de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 

Thai civic org

  • 1. การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของไทย (Thai Model of Civic Education) ความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมามีหลายสาเหตุ หนึ่งในนั้น คือ การมีระบบการปกครองที่ไม่สามารถนาพาประเทศสู่ความทันสมัย ที่มาพร้อมกับการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ ประเทศไทยจาเป็นต้องมีกระบวนการทางการเมือง ที่ทั้งสามารถ บริหารจัดการระบบเศรษฐกิจที่ซับซ้อน และบริหารจัดการสังคมพหุนิยม การลงหลักปักฐาน ของกระบวนการทางประชาธิปไตย แบบมีส่วนร่วมของพลเมืองจากทุกภาคส่วนของสังคม เท่านั้น ที่จะสามารถนาสู่การแก้ปัญหานี้ได้ ในแง่นี้ กระบวนการประชาธิปไตยของการเข้าสู่อานาจ การปรึกษาหารือ การตัดสินใจ และการ ควบคุมการใช้อานาจทั้งหลายนี้ จะต้องอาศัยพลเมืองเป็นศูนย์กลางของการแสดงบทบาท โดยเฉพาะการปรึกษาหารือ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ ที่ได้มีการถกเถียงประเด็นสาธารณะที่ สาคัญ ๆ กับทุกภาคส่วนของสังคม กระทั่งนาไปสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องร่วมกัน โดยมี เป้าหมายที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และมีพลเมือง มีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน ด้วยเหตุดังกล่าว บทบาทของพลเมืองจึงเป็นกุญแจอันสาคัญยิ่งของกระบวนการประชาธิปไตย เว็บไซต์ thaiciviceducation.org นี้ ถือกาเนิดขึ้นด้วยความร่วมแรงร่วมใจของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ที่เชื่อว่าปัจจัยที่สาคัญที่สุดของความสาเร็จของประชาธิปไตย คือการจัดการศึกษาเพื่อสร้าง ความเป็นพลเมือง (civic education) เพราะไม่มีใครรู้เรื่องประชาธิปไตยมาตั้งแต่เกิด
  • 2. ประชาธิปไตยจะสาเร็จได้ด้วยดีก็ต้องฝึกคนให้มีความรู้ความเข้าใจ กระทั่งเกิดสานึก เห็น คุณค่า มีเจตคติที่ถูกต้องสอดคล้องต่อแนวทางประชาธิปไตย คิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย ปราศจากการครอบงา มีคุณลักษณะ และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมที่เห็นคุณค่าใน ความเป็นมนุษย์อย่างมีศักดิ์ศรีเสมอกัน และรักในความยุติธรรม ทั้งนี้เพื่อสร้าง "สังคมไทยที่ พลเมืองมีความรู้เท่าทัน ใช้สิทธิเสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมทางการเมือง และมีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย" ดังนั้นพวกเราจึงมาทางานร่วมกันบนพื้นฐานของการศึกษาหารูปแบบการศึกษา เพื่อสร้าง พลเมืองของไทย (Thai Model of Civic education) เพื่อให้เป็นเข็มทิศในการปฏิรูปการศึกษา และสังคมไทย และเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้เกี่ยวข้อง สามารถนามาเป็นประเด็นสู่การถกเถียง สาธารณะอย่างกว้างขวาง เพื่อประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม ถึงแม้ว่าภารกิจของการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยจะเป็นภารกิจ ที่หนักหน่วง อีกทั้งยังต้องใช้เวลายาวนานกว่าที่จะเห็นผล แต่ภารกิจการเตรียมคนสาหรับ สังคมประชาธิปไตย เป็นภารกิจที่จาเป็น และไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แม้แต่ประเทศที่ ประชาธิปไตยพัฒนาไปอย่างดีแล้ว ก็ยังต้องสานต่อภารกิจนี้ไปตลอด โดยขณะนี้กลุ่มที่ทางาน ด้านการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท จัดทา เว็บไซต์เพื่อเป็นศูนย์รวมความรู้ ความคิด และเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ของทุกคนที่สนใจที่จะพัฒนาประชาธิปไตยของไทย ด้วยการศึกษาเพื่อ สร้างความเป็นพลเมืองร่วมกัน วัตถุประสงค์ร่วม การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย “Democratic Citizenship Education”
  • 3. การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองคืออะไร? ทาไมการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองจึงสาคัญ? การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง (citizenship education) หมายถึง การพัฒนาศักยภาพ ประชาชนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ มีความรู้ดี มีความรับผิดชอบ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ มีคุณลักษณะ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติในฐานะที่เป็นพลเมืองใน ระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีประชาชนเป็นเจ้าของอานาจสูงสุดในการปกครอประเทศ ในแง่นี้ พลเมือง (citizen)จึงเป็นกุญแจอันสาคัญยิ่งของกระบวนการประชาธิปไตยเพราะว่าพลเมือง เป็นศูนย์กลาง ของการแสดงบทบาทโดยเฉพาะการปรึกษาหารือถกเถียงประเด็นสาธารณะที่ สาคัญๆกับทุกภาคส่วนของสังคมกระทั่งนาไปสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องร่วมกันโดยมีเป้าหมายที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคมและมีพลเมืองมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน ดังนั้นปัจจัยที่สาคัญที่สุดของ ความสาเร็จของประชาธิปไตยคือการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองเพราะ ไม่มีใครรู้ เรื่องประชาธิปไตยมาตั้งแต่เกิดประชาธิปไตยจะสาเร็จได้ด้วยดีก็ต้องฝึกคนให้มีความรู้ความ เข้าใจกระทั่งเกิดสานึกเห็นคุณค่ามีเจตคติที่ถูกต้องสอดคล้องต่อแนวทางประชาธิปไตยทั้งนี้ เพื่อสร้าง“สังคมไทยที่พลเมือง มีความรู้เท่าทัน ใช้สิทธิเสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม มี ส่วนร่วมทางการเมือง และมีวัฒนธรรมและ วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย” Democratic Citizenship Education เริ่มตั้งแต่เด็ก และดาเนินต่อไปไม่สิ้นสุดจนกระทั่งถึง ระดับอุดมศึกษา และเข้าสู่วัยทางาน Democratic Citizenship Education ส่งเสริมเสรีภาพและทักษะการคิด และการแสดงออก มากกว่าการทาตาในแบบการศึกษาระบบเดิม Democratic Citizenship Education ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน คือ การเคารพคุณค่าของความ เป็นมนุษย์เสมอกันเคารพความแตกต่าง และความยุติธรรม
  • 4. Democratic Citizenship Education ส่งเสริมการเรียนรู้ทางการเมือง (Political Education) เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมืองมากกว่าการเรียนรู้จากการรับรู้ แต่ขาดประสบการณ์ และเพื่อไม่ให้การใช้อานาจทางการเมือง ถูกผูกขาดอยู่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ นักการเมืองและข้าราชการ Democratic Citizenship Education ต้องการสื่อที่มีพลัง มีอิสระในการขับเคลื่อนการสร้าง พลเมืองใหม่ของประเทศ Democratic Citizenship Education ต้องได้รับการสนับสนุนทั้งระบบของสังคม จึงจะเปลี่ยน ประชาชน (Subject) ให้เป็นพลเมือง (Citizen) ที่รับผิดชอบประเทศได้ คือ มีพลังประชาชนที่ เห็นอนาคตร่วมกันต่อทิศทางการสร้างพลเมืองใหม่ มีพลังความรู้ มีผู้มีความรู้ คิดค้นวิธีการ และหลักสูตรในการจัดการเรียนรู้ใหม่ที่ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาพลเมือง และมีพลังทาง การเมือง หรือเจตจานงทางการเมือง (Political will) ของรัฐบาล ของสถาบัน องค์กรที่ เกี่ยวข้องกับ อานาจรัฐที่แสดงความมุ่งมั่นเรื่องการสร้างพลเมืองใหม่ของประเทศ หลักการร่วมในด้านคุณลักษณะของพลเมือง การศึกษาเพื่อสร้างความความเป็นพลเมืองควรจะสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ให้มีลักษณะที่สาคัญๆ ดังต่อไปนี้
  • 5. รักความเป็นธรรมและความเสมอภาค (Adhere to equality and justice) ยึดถือความยุติธรรม ให้ความสาคัญกับความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ในฐานะที่เป็นมนุษย์ด้วยกัน โดยไม่มีการกีดกัน เนื่องจากความแตกต่าง ในเรื่องถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ ทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง ใช้เสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Use freedom based on social responsibility) บุคคลในระบอบประชาธิปไตยย่อมมีเสรีภาพได้มากตราบเท่าที่ไม่ละเมิดผู้อื่น นั่นหมายความ ว่าบุคคลพึงใช้เสรีภาพด้วยความยินดีที่จะให้ผู้อื่นมีเสรีภาพได้เช่นเดียวกับตน กล่าวคือบุคคล ย่อมใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบโดยที่เสรีภาพนั้นต้องไม่ก่อให้เกิดผลเสียแก่ผู้อื่น ระบอบ ประชาธิปไตยไม่สามารถให้บุคคลใช้เสรีภาพโดยไม่ต้องรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวมได้
  • 6. เคารพกฎหมายและกฎกติกา (Respect law and rule) ทุกสังคมต้องมีกฎหมายและกฎกติกา บุคคลในระบอบประชาธิปไตยจึงต้องเคารพกฎหมาย และกฎกติกาเพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข โดยที่บุคคลในระบอบประชาธิปไตยทุกคน จะต้องสนใจและช่วยกันผลักดันให้กฎหมายและกฎกตกาต่างๆของสังคมมีความเป็นธรรม สาหรับทุกคนด้วย ใช้สิทธิแต่ไม่ละทิ้งหน้าที่ (Use right without neglecting duty) ระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการเมืองการปกครองที่บุคคลได้รับการรับรองสิทธิต่างๆ มากมายในฐานะมนุษย์และในฐานะอื่นๆ นอกจากนั้นบุคคลในระบอบประชาธิปไตยก็ย่อมมี สิทธิที่จะให้ด้วย สิทธิที่จะให้นี้ก็คือหน้าที่นั่นเอง เช่น หน้าที่ในการเลือกตั้ง หน้าที่ในการเสีย ภาษี หน้าที่ในการศึกษาเล่าเรียน เป็นต้น บุคคลในระบอบประชาธิปไตยจะมีสิทธิต่างๆได้ก็ ต้องทาหน้าที่ด้วย เป็นต้าว่า บุคคลมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากรัฐบุคคลก็ย่อมต้องมีหน้าที่ต้อง เสียภาษีด้วย บุคคลมีสิทธิที่จะได้รับประโยชน์จากนโยบายที่ดีของรัฐบาลบุคคลก็ย่อมต้องมี หน้าที่ในการใช้สิทธิเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณที่ดีด้วย ระบอบประชาธิปไตยไม่สามารถดารง อยู่ได้ด้วยดีหากบุคคลเรียกร้องสิทธิโดยไม่ต้องทาหน้าที่ มีภราดรภาพ และเคารพความแตกต่าง (Adhere to fraternity and respect for differences) การที่บุคคลในระบอบประชาธิปไตยมีความเสมอภาคกันอาจทาให้บุคคลในสังคมขัดแย้ง แตกแยกกัน เพราะบุคคลในระบอบประชาธิปไตยย่อมมีความแตกต่างกันในทางความคิดเห็น หรืออื่นๆได้ แต่ความแตกต่างเหล่านี้ต้องไม่เป็นเหตุให้บุคคลโกรธ เกลียด ทะเลาะ ขัดแย้ง ทา ร้าย หรือสังหารบุคคลอื่นได้ บุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องมีขันติธรรม (tolerance) กล่าวคือบุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องอดทนต่อความแตกต่างของกันและกันได้ ความ แตกต่างของบุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องไม่ทาให้สังคมแตกแยก
  • 7. เห็นความสาคัญของประโยชน์ส่วนรวม (Consider public interests) เนื่องจากบุคคลไม่สามารถอยู่คนเดียวในโลกได้ จึงต้องอยู่ร่วมกันในสังคม บุคคลจึงต้องถือ ประโยชน์ส่วนรวมเป็นสาคัญด้วย เพราะหากทุกคนเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนสาคัญกว่า ประโยชน์ส่วนรวม สังคมก็ไม่อาจดารงอยู่ได้ และในกรณีที่มีความขัดกันในผลประโยชน์ (conflict of interests) บุคคลในระบอบประชาธิปไตยต้องสามารถแยกประโยชน์ส่วนรวมกับ ประโยชน์ส่วนตนได้ ทั้งยังพึงเล็งเห็นให้ได้ว่า แท้ที่จริงประโยชน์ของส่วนรวมก็เป็นประโยชน์ ของบุคคลนั้นเองด้วย มีส่วนร่วมทางการเมือง (Participate in politics) ระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการเมืองการปกครองที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง ด้วยเพราะการเมืองเป็นเรื่องของประชาชนทุกคน ดังนั้นบุคคลในระบอบประชาธิปไตยจึง จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจทางการเมืองที่เพียงพอต่อการเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยด้วย เป็นต้นว่า บุคคลในระบอบประชาธิปไตยพึงรู้และเข้าใจว่าการเมืองมี ความสาคัญต่อชีวิตของตนและคนอื่นๆในสังคมอย่างไรรู้และเข้าใจโครงสร้างพื้นฐานของระบบ การเมืองการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศ รู้และเข้าใจขอบเขตภารกิจ และอานาจหน้าที่ของตัวแทนที่เลือกเข้าไป รู้นโยบายของพรรคการเมือง รวมถึงพฤติกรรมและ กลไกการควบคุมตรวจสอบบุคลากรทางการเมืองด้วยนอกจากนี้พลเมืองใน ระบอบ ประชาธิปไตยยังสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองได้หลายทาง เช่น การเลือกตั้งส.ส. ส.ว. การเลือกตั้งท้องถิ่น นายกอบต. สมาชิกสภาอบตนายกเทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาลนายก อบจ.สมาชิกสภาอบจ. การออกเสียงประชามติ ร่วมทาประชาคมให้ความเห็นชอบเรื่องต่างๆ
  • 8. เสนอแนะแนวทางการทางานและการแก้ไขปัญหา การเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติ การเข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ติดตามตรวจสอบการทางานของผู้ดารงตาแหน่งทาการเมือง ร่วมทาประชาพิจารณ์ ช่วยผู้สมัครรับเลือกตั้งและพรรคการเมืองหาเสียง เป็นสมาชิกพรรคการเมือง บริจาคเงินให้ผู้สมัครและพรรคการเมือง การรวมกลุ่มกันปกป้องสิทธิต่างๆ การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธเพื่อประท้วงหรือเรียกร้องเรื่องต่างๆ ช่วยเหลือภารกิจของส่วนรวม สมัครรับเลือกตั้ง การถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่น คิดอย่างมีวิจารณญาณ (Think critically) บุคคลในระบอบประชาธิปไตยจะต้องได้รับข้อมูลที่เพียงพอเพื่อคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี มี ทักษะในการตรวจสอบ การตีความ การสะท้อนความคิด อันนาไปสู่การสร้างความคิดเห็นของ ตนเอง เรียนรู้ที่จะแสดงออกซึ่งความคิดเห็นของตน และพร้อมที่จะทบทวนแก้ไขความคิดเห็น ของตน ตลอดจนรู้จักตัดสินใจเลือกบุคคล หรือตัดสินประเด็นทางการเมืองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
  • 9. การศึกษาในระบบ การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองสาหรับการศึกษาในระบบ หมายถึง การจัดการศึกษา เพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย สาหรับการศึกษาในระบบโรงเรียนตาม หลักสูตร และการกากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการจากส่วนกลางและองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา ทั้งสายสามัญศึกษา อาชีวศึกษา รวมถึงการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) และโรงเรียนเอกชนด้วย ทั้งนี้ เนื่องจาก ประเทศไทยในปัจจุบันนี้เยาวชนเกือบทุกคน ต้องเข้ารับการศึกษาตามระบบ การศึกษาใน ระบบจึงมีบทบาทโดยตรง และมีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาคนในทุกด้าน ซึ่งรวมถึง การพัฒนาคนสาหรับประชาธิปไตยด้วย ทั้งนี้มิได้หมายถึงเฉพาะการจัดการศึกษาในกลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการจัดการศึกษาในกลุ่มสาระอื่นๆด้วย ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมอื่นๆของสถานศึกษาด้วย การศึกษานอกระบบ การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองสาหรับการศึกษานอกระบบหมายถึง การจัดการศึกษา เพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยสาหรับการศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้หลักสูตรและการกากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่หากเป็นไปโดยการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ขององค์กรภาครัฐและภาคเอกชน เช่น สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง สถาบันพระปกเกล้า สานักงานสภาพัฒนาการเมือง กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สถาบันนโยบายศึกษา โครงการศึกษาเฝ้า ระวังสื่อและพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม เป็นต้น รวมถึง ครอบครัว ชุมชน และสังคมด้วย สื่อมวลชน
  • 10. การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองสาหรับสื่อมวลชน หมายถึง การจัดการศึกษา เพื่อสร้าง ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย สาหรับสื่อมวลชนทั้งโทรทัศน์ วิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งครอบคลุมประชาชนทั้งที่อยู่ภายใต้การศึกษาในระบบ และประชาชนอีก จานวนมากที่พ้นจากการศึกษาในระบบไปแล้ว ทั้งนี้มิได้หมายความว่า การศึกษาเพื่อสร้าง ความเป็นพลเมืองสาหรับสื่อมวลชน จะต้องเป็นรายการที่มีลักษณะเป็นสาระวิชาการเท่านั้น หากแต่หมายรวมถึง ละคร เพลง เกมโชว์ ตลก เฟซบุ๊ค แอพลิเคชั่น เกมคอมพิวเตอร์ หรือ เว็บไซต์ต่างๆ ที่ได้สอดแทรกสาระและองค์ความรู้ไว้ในรายการต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนแนว ทางการสร้างพลเมือง ในสังคมประชาธิปไตยอย่างทั่วด้าน และทั่วถึงให้มากที่สุดโดยสื่อที่ ทันสมัยและรวดเร็ว http://www.thaiciviceducation.org/ ติดต่อเรา มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (FES) 1550 อาคารธนภูมิ ชั้น 23 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 อีเมลล์: thatsanavanh@fes-thailand.org โทรศัพท์: 02 652 7178-9 แฟ็กซ์: 02 652 7180 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ถนนราชดาเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 อีเมลล์: noom_chalermchai@hotmail.com โทรศัพท์: 02-2885511