SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 76
Baixar para ler offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อำนวยกำรสำนักสันติวิธีและธรรมำภิบำล
สถำบันพระปกเกล้ำ
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
สันติวิธีและธรรมาภิบาล
แนวคิดและมุมมองการพัฒนาองค์กร
ตามหลักธรรมาภิบาล
www.elifesara.com
เป้าหมายและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
www.elifesara.com
กฎหมาย ระเบียบ ประมวลจริยธรรม
การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ วัฒนธรรม
ความรับผิดชอบ ตอบสนองต่อความต้องการ
มีความโปร่งใส สร้างการมีส่วนร่วม
โครงสร้างและวิธีการ
ความสมดุลและเป็นธรรม ความ
สุจริต ความมีประสิทธิภาพ/ผล
สภาพแวดล้อม
เป้าหมาย
องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล
หลักนิติธรรม
หลักความคุ้มค่า
หลักธรรมาภิบาล
6 ประการ
หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส่
หลักความ
รับผิดชอบ
หลักความมีส่วนร่วม
•Do the things right ทาในสิ่งที่ต้องทา จะเป็นการเลือก
กระทาอย่างใดตามสถานการณ์ สภาพแวดล้อมและแรงจูงใจ โดยมี
ประสบการณ์และอุดมการณ์ของบุคคลเป็นปัจจัยสาคัญ
• Do the right things ทาในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นการ
ตอบสนองต่อสถานะ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบบนเงื่อนไขที่
กาหนด มีมาตรวัดที่เป็นมาตรฐาน จารีตหรือบรรทัดฐานขององค์กรและ
สังคมเป็นเครื่อง
Do the thing right/Do the right thing
ทาในสิ่งที่ต้องทา/ทาในสิ่งที่ถูกต้อง
•ผู้นา จาเป็นต้องแสวงหาสรรค์สร้างนวัตกรรม ฉายให้เห็นแนวคิดทิศทาง
ทาสิ่งที่สอดรับและเท่าทันสถานการณ์ ต้องกล้าหาญที่จะ “กระทาในสิ่งที่
ต้องทา” ให้สามารถนาความเจริญก้าวหน้า พร้อมรับการเผชิญปัญหา
อุปสรรค และแข่งขันในโลกาภิวัฒน์สมัยได้
•ผู้บริหาร “ทาในสิ่งที่ถูกต้อง” ยึดมั่นต่อวิธีการที่ดีที่สุด มุ่งสร้าง
ความสาเร็จด้วยมาตรการ บรรทัดฐานและการดาเนินงานที่ถูกต้องตาม
ระบบและวิธีที่กาหนด
Do the thing right/Do the right thing
ทาในสิ่งที่ต้องทา/ทาในสิ่งที่ถูกต้อง
การก่อเกิดและการพัฒนาจริยธรรม
โดยการหล่อหลอม และปลูกฝังผ่านกระบวนการกล่อม
เกลาทางสังคมโดย
• การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว
• กระบวนการศึกษา
• ค่านิยมที่สั่งสมมาจากสังคม
มีสมาธิเกิดสติ
ปัญญามาจากพันธุกรรม
เกิดความเชื่อ มีความรู้สึก ด้วยการกระทาเป็นพฤติกรรมในส่วนดี
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมมาภิบาล
Good Governance
พระปฐมบรมราชโองการ ในพิธีบรม
ราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ในพระบรมมหาราชวัง
(วันที่ 5 พฤษภาคม 2493)
ธรรมของผู้ปกครอง
ความเที่ยงธรรม(อวิโรธนะ)
การไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา)
ความอดทน(ขันติ)
ทศพิธราชธรรม
ศีล
ความไม่โกรธ(อักโกธะ)
ความอ่อนโยน(มัททวะ)
ความซื่อตรง(อาชชวะ)
ความเพียร(ตบะ)
บริจาค
ทาน
ทศพิธราชธรรม
๑. ทาน ได้แก่ การให้ทาน
๒. ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล
๓. ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน
๔. อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม
๕. มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน
๖. ตบะ ได้แก่ ความเพียร
๗. อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ
๘. อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน
๙. ขันติ ได้แก่ ความอดทน
๑๐. อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
14
• เน้นการพัฒนาคน
• ระเบิดจากข้างใน
• ปลุกจิตสานึก
• พึ่งตนเองได้
• ความพอเพียง
• ขาดทุนคือกาไร
• ทางานอย่างมีความสุข
• คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน
• บริการรวมที่จุดเดียว
• ปลูกป่ าในใจคน
• การให้
• รู้ รัก สามัคคี
หลักการทรงงาน  ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
❖ ศึกษาข้อมูลอย่างเป็ นระบบ
❖ แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเล็ก
❖ คานึงภูมิสังคม
❖ พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร / บูรณาการ
❖ ไม่ติดตารา ทาให้ง่าย มีลาดับขั้นตอน
❖ มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็ นหลัก
❖ ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์
❖ ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
❖ การมีส่วนร่วม
❖ ซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน
34
15
อังกฤษปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์
๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth)
๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty)
๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty)
๔. ความอดกลั้น (Patience)
๕. ความเป็นธรรม (Fair play)
๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others)
๗. เมตตาธรรม (Kindness)
www.elifesara.com
• การมีส่วนร่วม
• นิติธรรม
• ความโปร่งใส
• การตอบสนอง
• การมุ่งเน้นฉันทามติ
• ความเสมอภาค/ ความเที่ยงธรรม
• ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
• ภาระรับผิดชอบ
• วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์
หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
Good Governance Principles
16
•ตระหนักในหน้าที่
•กาหนดภารกิจของแต่ละฝ่ ายอย่างชัดเจน
•ปฏิบัติกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างยุติธรรม
•ดาเนินงานอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
•มองการณ์ไกล คานึงถึงผลประโยชน์ระยะยาว
•ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานทุกด้านสู่ความเป็นเลิศ
หลักการของธรรมาภิบาลที่ดี
ความสาคัญของหลักธรรมาภิบาล
• เป็นหลักการพื้นฐานในการสร้างความเป็นธรรมในสังคม
• จะทาให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีคนเป็นศูนย์กลางที่แท้จริง
• ช่วยลด บรรเทา หรือแก้ปัญหา ความขัดแย้งในองค์กร
• จะช่วยให้สังคมมีความเข้มแข็งในทุกด้าน ทั้งทางคุณค่าและจิตสานึกทางสังคม
• ช่วยลดปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง
• เกื้อหนุนสังคมประชาธิปไตย ทาให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและมีการตรวจสอบ
การทางาน
การสร้างตัวชี้วัดธรรมาภิบาล
 ต้องมีความเหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละหน่วยงาน
 ต้องสามารถนาไปปฏิบัติได้ และมีความโปร่งใสในตัวชี้วัดเอง
 ต้องมีคุณภาพและความแม่นยาของตัวชี้วัดและกรอบตัวชี้วัด
 ต้องมีข้อมูลที่สนับสนุนการได้มาซึ่งตัวชี้วัด
 ต้องสามารถระบุผลที่จะได้รับจากตัวชี้วัดได้อย่างชัดเจน
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล
๑. สังคมต้องสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารที่ถูกต้อง ทันการณ์และครบสมบูรณ์
๒. สังคมต้องมีความโปร่งใส
๓. สังคมต้องสร้างกลไกความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
๔. สังคมต้องมีสื่อที่เป็นอิสระ
๕. สังคมต้องสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
Poor หรือ Bad governance
การที่ฝ่ายบริหารกาหนดนโยบายโดยขาดการวางแผนไม่คานึงถึงประโยชน์ของ
ประชาชน
เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดความรับผิดชอบ ไม่มีการปฏิบัติตามหลักนิติธรรม
ใช้อานาจในทางที่มิชอบ
ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ
มีการฉ้อราษฎร์บังหลวงอยู่ทั่วไป
Good Governance
1. การมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Public participation)เป็นกลไกที่ประชาชนมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน (Equity) การให้เสรีภาพแก่
สื่อมวลชนและให้เสรีภาพแก่สาธารณชนในการแสดงความคิดเห็นอย่าง
สร้างสรรค์
2. ความสุจริตและโปร่งใส (Honesty and transparency) เป็นกลไกที่มีระบบ
กติกา และการดาเนินการที่เปิดเผย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับ
ข้อมูลข่าวสารอย่างเสรีเป็นธรรม ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบการ
บริหารและติดตามผลได้
Good Governance
3) พันธะความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsiveness and accountability) เป็นกลไกที่มี
ความรับผิดชอบมีหน้าที่ต่อสาธารณชน มีการดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของกลุ่มต่างๆ ในสังคมอย่างเป็นธรรม รวมถึงการมีความรับผิดชอบที่มีต่อประชาชน
สังคมโดยรวม
4) กลไกทางการเมืองที่ชอบธรรม (Political legitimacy) เป็นกลไกที่มีองค์ประกอบของผู้
ที่เป็นรัฐบาลหรือผู้ที่เข้าร่วมบริหารประเทศที่มีความชอบธรรมเป็นที่ยอมรับของคน
ในสังคมโดยรวมไม่ว่าจะโดยการแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง
Good Governance
5) กฎเกณฑ์ที่ยุติธรรมและชัดเจน (Fair legal framework and predictability) คือมีกรอบของ
กฎหมายที่ยุติธรรมและเป็นธรรมสาหรับกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ซึ่งกฎเกณฑ์มีการ
บังคับใช้และสามารถใช้บังคับได้
6) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and effectiveness) คือเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพ
ในการดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดกระบวนการทางาน การจัดองค์กร การ
จัดสรรบุคคลากร และมีการควบคุมการใช้ทรัพยากรสาธารณะต่างๆ อย่างคุ้มค่าและ
เหมาะสม มีการดาเนินการและให้บริการสาธารณะที่ให้ผลลัพธ์อย่างคุ้มค่า
วัฒนธรรมประชาธิปไตยไทยมีลักษณะบางประการไม่เอื้อต่อหลักธรรมาภิบาล
เรื่องสิทธิเสรีภาพ คนไทยส่วนใหญ่ยึดสิทธิเสรีภาพของตนเอง คาดหวังให้คนอื่นมีหน้าที่ต่อตน
การเคารพความเสมอภาค มักเรียกร้องเมื่อต้องการเสมอกับผู้อื่น หากตนอยู่ในฐานะดีกว่ามัก
มองว่าเป็นบุญที่ทามา ส่วนคนด้อยกว่ามองว่าเป็นกรรมเก่า
ความเชื่อมั่นในหลักนิติธรรมหรือกฎหมาย กฎหมายศักดิ์สิทธิ์เมื่อบังคับใช้กับคนอื่น ถ้าใช้กับ
ตนจะมองหาความสัมพันธ์พิเศษกับผู้บังคับใช้กฎหมาย เช่นการคอรัปชั่นเป็นสิ่งไม่ดี เมื่อคน
อื่นเป็นผู้กระทา แต่ตนเองทาเมื่อได้รับผลตอบแทนคุ้มค่า
การรับฟังเสียงผู้อื่น การรับฟังเสียงส่วนใหญ่มักใช้เมื่อต้องการเสียงสนับสนุน แต่มักจะ
มองข้ามเรื่องการเคารพเสียงส่วนน้อย
บวรศักดิ์ อุวรรโณ 2542
ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยไม่เอื้อต่อหลักธรรมาภิบาล
 ผู้ใหญ่กับผู้น้อย ผู้น้อยให้ความเคารพ เชื่อฟังและเกรงใจ ไม่ปฏิบัติตามถูกตาหนิ
 ผู้ใหญ่ถูกคาดหวังจากผู้น้อยว่าเป็นคนใจถึง ใจกว้าง ประพฤติตัวดี ช่วยลูกน้องได้
 เกิดค่านิยม “กตัญญูกตเวที” ระบบอุปถัมภ์จึงไม่เอื้อต่อธรรมาภิบาล
 เกิดความไม่เท่าเทียม ไม่เสมอภาค สิทธิพิเศษ ติดสินบน หลีกเลี่ยงกฎหมาย
บวรศักดิ์ อุวรรโณ 2542
ปัญหา ในปัจจุบัน
•ความรุนแรงยังดารงอยู่
•ความเข้าใจและทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
•ขาดการวางรากฐานสันติวัฒนธรรมในเยาวชน
•การดาเนินการแต่ละองค์กรยังต่างคนต่างทา
•ขาดการสนับสนุนนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม งบประมาน
•ขาดองค์กรผลักดันแผนงานและกระแสสันติวิธีให้เป็นกระแสหลัก
สภาพความรุนแรงในสังคมไทย
•ใช้อาวุธจัดการความขัดแย้ง
•ผู้ใช้ความรุนแรงมีอายุน้อยลง
•มีความรุนแรงแบบใหม่ๆ
•ความรุนแรงมีระดับสูงถึงขั้นเป็นอาชญากรรม
รากเหง้าของปั ญหา
•ประวัติศาสตร์ การครอบครอง และ การต้องการเป็นอิสระ
•วัฒนธรรม จากสังคมที่ไม่ชอบการเผชิญหน้า สู่ ความรุนแรง
•ความเชื่อ ศาสนา และ ค่านิยม(ความเชื่อ)
•ความไว้วางใจ จาก ผลประโยชน์ทับซ้อน สู่ ความไม่ไว้วางใจ(พวกใคร)ทาง
สังคม
•การศึกษา : การแข่งขันมากเกินไป และ การสร้างทีมงานน้อยเกินไป
•การเมือง : จาก ประชาธิปไตยแบบตัวแทน สู่ ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
www.kpi.ac.th College of Unity and Peace
ความขัดแย้ง
•เป็นการต่อสู้ หรือการแข่งขัน
•ความคิดเห็น ความสนใจ ผลประโยชน์ มุมมอง รสนิยม ค่านิยม
แนวทาง ความชอบ อานาจ สถานภาพ ทรัพยากร ฯลฯ
ความขัดแย้ง
•ความแตกต่างของเป้าหมาย ความเชื่อ และค่านิยม ระหว่างบุคคล และ
กลุ่มบุคคล
•เกิดขึ้นโดยที่คู่กรณียังสามารถร่วมงานกันได้ในทางทีดีและสร้างสรรค์
•ไม่มีใครชอบที่จะมีความขัดแย้ง แต่เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
•สามารถเปลี่ยนความขัดแย้งเป็นความสร้างสรรค์
•สิ่งที่สาคัญคือ การป้องกัน การจัดการ และการจัดการหลังความขัดแย้ง
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ทหารรักษาพระองค์ ในพิธีตรวจพลสวนสนาม เนื่องในโอกาส
เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ลานพระราชวังดุสิต ๓ ธันวาคม ๒๕๑๒
“ความสมัครสมานสามัคคีของเรานั้นเป็นสิ่งสาคัญที่สุดที่จะต้อง
รักษาไว้ให้ยั่งยืนอยู่ตลอดไป หากเรามีความประมาท เราแตก
ความสามัคคีกันเมื่อใด เราก็จะเป็นอันตรายย่อยยับลงเมื่อนั้น ไม่
มีใครอื่นที่ไหนจะช่วยเราได้ นอกจากตัวเราเอง”
พระบรมราโชวาท
ว.วัชรเมธี
•ปัญญาอยู่กับตัว แต่ใช้อารมณ์เป็นใหญ่
•มีเวลาอยู่ในโลกไม่ถึงร้อยปี แต่กลับมีเวลาไปริษยาคนอื่น
•มีตาอยู่สองข้าง แต่ไม่เคยมองสิ่งที่ดีเลย
•มีอานาจอยู่เต็มมือ แต่ไม่กล้าตัดสินใจทาอะไรเลย
•รู้ที่จะพูดแต่ไม่รู้ศิลปในการพูด
ข้อดีของความขัดแย้ง
•ความขัดแย้งเป็นเครื่องช่วยลดความตึงเครียดทางสังคม
•ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม ทาให้กลุ่มกล้าที่จะเรียกร้องสิ่งที่ดีที่สุด
สาหรับกลุ่มของตน ทาให้องค์กรต้องทบทวนการจัดสรรทรัพยากร
ใหม่
•ความขัดแย้งเป็นเครื่องกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรม
•เป็นแหล่งข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในองค์กร
•เป็นเครื่องช่วยแยกแยะขอบเขตความรับผิดชอบระหว่างกลุ่ม
การสร้างบรรยากาศแห่งความสันติ
•การฟังอย่างตั้งใจ
•ไม่พูดจาเสียดสี ใช้ภาษาที่ยั่วยุ
•คิดเชิงบวก
•เปิดกว้างให้มีกระบวนการสานเสวนา
•จัดการกับความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
•ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
•วัฒนธรรมประชาธิปไตย
•เน้นการเปลี่ยนแปลงที่รากหญ้า โดยเริ่ม
ที่ชุมชน
•การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น
ซุนวู (500 ปี ก่อน ค.ศ.)
“การชนะร้อยทั้งร้อย มิใช่วิธีอันประเสริฐแท้
แต่ชนะโดยไม่ต้องรบเลย จึงถือว่าเป็นวิธีอันวิเศษยิ่ง”
ปัญหาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี ๒๔๗๕
๑. ประชาชนไม่เข้าใจความหมายหรือวิธีการเข้ามามีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตย
๒. เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจหรือพัฒนาทางวัตถุ ละเลยศีลธรรม จริยธรรมที่เกื้อกูล
สังคมไทยในอดีต
๓. ระบบราชการขยายตัวและทวีความซับซ้อนขึ้นเรื่อย ๆ ยิ่งทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
กับประชาชนห่างไกลกันออกไป
๔. ระบบราชการขาดการตรวจสอบจากภายนอกส่งผลให้มีการใช้อานาจรัฐไปละเมิดสิทธิ
เสรีภาพของประชาชน มีการทุจริตเกิดขึ้นบ่อยครั้ง
การใช้คุณธรรมแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธี
• การผดุงรักษาความชอบธรรมในสังคม เป็นหน้าที่ทางศีลธรรมอย่างหนึ่งที่จาเป็นสาหรับความ
สงบสุขในสังคม
• การกระทาบางครั้งอาจจะท้าทายระเบียบประเพณีหรือกฎหมายจนนาไปสู่ความขัดแย้งในสังคม
แต่หากวิธีการที่ใช้นั้นเป็นสันติวิธีหรือตั้งมั่นอยู่บนหลักการที่ถูกต้องชอบธรรม นอกจากจะไม่ทา
ร้ายร่างกายหรือทรัพย์สินของคู่กรณี ไม่ใส่ร้ายหรือโกหกมดเท็จ เคารพในความคิดเห็นและ
สิทธิอันพึงมีพึงได้ของคู่กรณี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าในที่สุดสันติสุขจะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
•กฎมายมีไว้สาหรับให้มีความสงบสุขในบ้านเมือง มิใช่ว่ากฏหมายมีไว้สาหรับบังคับประชาชน
ถ้ามุ่งหมายที่จะบังคับประชาชน ก็กลายเป็นเผด็จการ กลายเป็นสิ่งที่บุคคลหมู่น้อยจะต้อง
บังคับบุคคลหมู่มาก
•ในทางตรงกันข้าม กฏหมายมีไว้สาหรับให้บุคคลส่วนมากมีเสรีและอยู่ได้ด้วยความสงบบางที
เราตั้งกฏหมายขึ้นมาก็ด้วยวิชาการซึ่งได้จากต่างประเทศ เพราะว่าวิชาการกฎหมายนี้ก็เป็น
วิชาการที่กว้างขวาง
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
•การทามาหากินของประชาชนที่อยู่ห่างไกล ซึ่งเราเอากฏหมายไปบังคับประชาชนเหล่านั้น
ไม่ได้ เพราะว่าเป็นความผิดของตนเอง เพราะการปกครองไม่ถึงประชาชนที่อยู่ในที่ห่างไกล
จึงไม่สามารถทราบถึงกฏหมาย
•ความบกพร่องก็อยู่ที่ทางฝ่ายที่บังคับกฏหมายมากกว่าฝ่ายที่จะถูกบังคับ ข้อนี้ควรจะถือป็น
หลักเหมือนกัน ฉะนั้นจะต้องหาวิธีที่จะปฏิบัติกฏหมายให้ถูกต้องตามหลักธรรมชาติ......”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
ภาครัฐจะพูดอยู่เสมอว่าทาถูกต้องตามขั้นตอน ตามกฎหมาย ตามกฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทาถูกต้อง ทุกหน่วยงานทาถูกต้อง แล้วทาไมวันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่
ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นาไปสู่ความยุติธรรมทางสังคมจริงหรือไม่
ความถูกต้องตามกฎหมาย สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่
ทั้งที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนาไปสู่ความยุติธรรมและความมีคุณธรรม
จริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือแปลกแยกออกจากกัน
“ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย”
พระบรมราโชวาท
www.elifesara.com
“.......ในป่าสงวนซึ่งทางราชการได้ขีดเส้นไว้ว่าเป็นป่าสงวนหรือป่าจาแนก แต่ว่า
เราขีดเส้นไว้ประชาชนก็มีอยู่ในนั้นแล้ว เราจะเอากฏหมายป่าสงวนไปบังคับคนที่
อยู่ในป่าที่ยังไม่ได้สงวนแล้วเพิ่งไปสงวนทีหลังโดยขีดเส้นบนเศษกระดาษก็ดูชอบ
กลอยู่
แต่มีปัญหาเกิดขึ้นที่เมื่อขีดเส้นแล้ว ประชาชนที่อยู่ในนั้นก็กลายเป็นผู้ฝ่าฝืน
กฏหมายไป ถ้าดูในทางกฏหมายเขาก็ฝ่าฝืน เพราะว่าตรามาเป็นกฏหมายโดย
ชอบธรรม แต่ว่าถ้าตามธรรมชาติ ใครเป็นผู้ทาผิดกฏหมายก็ผู้ที่ขีดเส้นนั่นเอง
เพราะว่าบุคคลที่อยู่ในป่านั้นเขาอยู่ก่อน เขามีสิทธิในทางเป็นมนุษย์”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
“ไม่มีที่ใดมีสันติภาพ
หากปราศจากความยุติธรรม”
ความไม่เป็นธรรมนามาซึ่งความขัดแย้ง
คนเรามักจะลุกขึ้นมาทาอะไรสักอย่างเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม
หากไม่ได้รับการแก้ไข ความคับข้องใจจะกลายเป็นความรุนแรง
www.elifesara.com
ความขัดแย้งกันเป็นเรื่องธรรมดา เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคม
เมื่อสังคมหลีกเลี่ยงความขัดแย้งไม่ได้ต้องหาวิธีการจัดการความขัดแย้งให้
เหมาะสมกับลักษณะความขัดแย้งและความต้องการของคู่กรณี เพื่อให้
คู่กรณีคงอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างปกติสุข
www.elifesara.com
45
การเรียนรู้การจัดการความขัดแย้ง
•การใช้กาลังแก้ปัญหา เกิดต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองจะสูง
•ประสบการณ์ในอดีตจะเป็นคาตอบว่าจะเกิดอะไรในอนาคต
•ควรศึกษารูปแบบในการจัดการปัญหาที่ผ่านมาในอดีตของต่างประเทศและของ
ไทย
ww.elifesara.com
ความรุนแรง ทาให้เกิดการแพ้ - ชนะ
สันติวิธี ทาให้เกิด ความสงบ ความสมานฉันท์ และเกิดความ
พอใจร่วมกัน
www.elifesara.
มนุษย์อยู่กับความขัดแย้ง
ขัดแย้งกับตัวอง
ขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงาน
ขัดแย้งต่อสังคมรอบข้าง
www.elifesara.com
ทาอะไรคิดเอาแต่“ตัวกู ของกู”
เอาตัวเองเป็ นศูนย์กลาง
2
ความขัดแย้งในสังคมไทย
www.elifesara.com
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
• สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
• ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
• ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
• ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
• “สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้ภายในใจของ
เราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
• ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ อย่านาสันติไปเป็นเครื่องมือในการใช้กาลังโดยอ้างเพื่อความมั่นคง
www.elifesara.com
พระราชดารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า
“ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ
ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ
ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทาลายชาติของ
ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้
กอบกู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอม
เสียสละส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจอยู่เนืองนิจ จึง
ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต
ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลาบาก
ยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจน
บัดนี้”
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตั้งแต่ปี 2475
www.elifesara 51
•
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
•สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
•ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
•ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
•ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
•“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้
ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
หลักสาคัญที่ควรจะยึดถือ
แยกคนออกจากปัญหา
เน้นที่ความสนใจ อย่าเน้นที่ตาแหน่งหน้าที่
พยายามหาทางเลือกหลายๆทาง ก่อนตัดสินใจ
ต้องตกลงกันตามกฎเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
www.elifesara.com
การใช้อานาจ
การใช้อานาจจัดการความขัดแย้ง จะนาไปสู่ความไม่พอใจและการไม่ร่วมมือ
การใช้อานาจระงับเหตุการณ์วุ่นวาย ต้องมั่นใจว่าอานาจที่ใช้นั้นถูกต้องตามกฎหมาย
และเป็นอานาจที่ตนเองมีอยู่จริง
ผู้บริหารแบบ “บ้าอานาจ” มักจะใช้วิธีแบบแพ้-ชนะ เพราะเชื่อว่า “เมื่อฉันมีอานาจ ฉัน
ต้องชนะ”
ผู้บริหารแบบบ้าอานาจจะมีใน 2 สถานการณ์คือเมื่อเข้ารับตาแหน่งใหม่ จะแสดงให้คน
ทั้งหลายเห็นว่า ตนเองมีอานาจเป็นการข่มขู่ให้ยอมรับ เมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอน จะ
แสดงอานาจอกมาเพื่อให้คนเห็นว่าตัวเองยังมีอานาจอยู่
www.elifesara.com
ประเทศในอีก ๕ ถึง ๑๐ ปีข้างหน้า
55
“วางเฉย” “ตีกัน”
• เศรษฐกิจล่มสลาย
• ต่างชาติเข้าครอบครองเศรษฐกิจไทย
• เป็ นเมืองขึ้นทางเศรษฐกิจ
• แตกแยกระหว่างภาค
• แย่งชิงอานาจการปกครองในท้องถิ่น
• เกิดสงครามกลางเมืองมิคสัญญี
• แนวคิดแบ่งแยกดินแดน
• เปลี่ยนแปลงสถาบันหลัก
• แบ่งแยกชนชั้น
• ต่างคนต่างอยู่
• สงครามแบ่งชิงมวลชน
• ชาติพันธ์/ภูมิภาคนิยม
• ไม่ยอมรับกฎหมาย
• อนาธิปไตย
• เข้าถึงข่าวสารมากยิ่งขึ้น
• เกิดวิกฤตรอบ ๓
• ท่องเที่ยวตกต่า
• เศรษฐกิจการเกษตรล่มสลาย
• คอรัปชั่นเชิงนโยบายมากขึ้น
• ธุรกิจอยู่ในมือทุนต่างชาติ
เศรษฐกิจ
สังคม
สังคม
เศรษฐกิจ
56
Peace in Thailand
การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ
• มิติเชิงป้องกัน
• มิติเชิงแก้ไข
• มิติเชิงปรองดอง เยียวยา สันติสุข
www.elifesara.
www.elifesara.com 57
วงจรความขัดแย้ง
การสื่อสารที่ดี
สร้างการมีส่วนร่วม
การเป็นหุ้นส่วน
แผนที่ความขัดแย้ง
วัฏจักรความขัดแย้ง
รู้สาเหตุความขัดแย้ง
การสานเสวนา
การอานวยการประชุม
การเจรจาต่อรอง
การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
การอนุญาโตตุลาการ
การมีส่วนร่วม
กระบวนการยุติธรรม
การฟื้นคืนดี
การขอโทษ
การให้อภัย
การป้องกันและวิเคราะห์
ความขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้ง
การปรองดองสู่สันติ
๑
๒
๓
KPI
รากเหง้าและสาเหตุของความขัดแย้ง
ปัญหาความต่างค่านิยม
อุดมการณ์ วัฒนธรรม
ปัญหาความสัมพันธ ์
ปัญหาข้อมูล
ความจริงและข่าวสาร
ปัญหาผลประโยชน์
และความต้องการ ปัญหาโครงสร้าง
59
อารมณ์ที่รุนแรง
การรับรู้คลาดเคลื่อน
สื่อสาร
ทัศนคติตายตัว
ประพฤติเชิงลบ
การแย่งชิงอานาจ
ความไม่เท่าเทียมกัน
ความไม่ยุติธรรม
กฎหมาย
การปกครอง
ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน
ค่านิยมต่างกัน
ประสบการณ์
พื้นฐานการศึกษา
วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน
ค่านิยม
ความสัมพันธ์
โครงสร้าง
ข้อมูลน้อย
ผิดพลาด
แปลข้อมูลไม่ตรงกันความ
แตกต่างในการเก็บและศึกษา
ข้อมูล
แย่งชิงผลประโยชน์
เงินทอง
ทรัพยากร
ความเชื่อ
ความยุติธรรม
วิธีการ
ผลประโยชน์
ยากต่อการเจรจา
เจรจาได้
ประเภทของความขัดแย้ง
www.elifesara.
60เวลา
ความรุนแรง
สงคราม การปะทะกันอย่างแท้จริง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงสันติภาพอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการสันติภาพด้วยตัวเอง
หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
•การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์(Reconciliation Process) สอง
ฝ่าย
•พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล
•หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก
•ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธความพยายาม
ในการแทรกแซงด้วยบทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้
www.elifesara.
Peace Country
1
Peace Country Index
•2007-105
•2008-118
•2009-118
•2010-124
•2011-107-2.247
•2012-126-2.303
•2013-130-2.378
• 121-Mali
• 122-Azerbijan
• 123-Niger
• 124-Venezuela
• 125-Philippine
• 126-Thailand
• 127-Kyrgyzstan
• 128-Guinea
• 129-Mexico
• 130-Turkey
• 131-Rwanda 63
Indicator
• Internal Peace 60%
• External Peace 40%
• การรับรู้จากความผิดทางอาญาในสังคม 4
• จานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในและตารวจต่อ 100,000 คน 3
• จานวนคดีฆาตกรรมต่อ 100,000 คน 4
• จานวนประชากรตะรางต่อ 100,000 คน 3
• ความง่ายดายในการเข้าถึงอาวุธทาลายล้างน้อย 3
• ระดับของความขัดแย้งที่จัด (ภายใน) 5
• โอกาสในการสาธิตการใช้ความรุนแรง 3
• ระดับของอาชญากรรมรุนแรง 4
• ความไม่แน่นอนทางการเมือง 4 1
Indicator
• ระดับของการทาลายสิทธิมนุษยชน (หวาดกลัวการเมือง) 4
• ปริมาณของการถ่ายโอนจากอาวุธธรรมดาที่สาคัญเป็นผู้รับ (นาเข้า) ต่อ 100,000 คน
• ที่มีศักยภาพสาหรับการก่อการร้าย 1
• จานวนผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้ง (ภายใน) 5
• ค่าใช้จ่ายทางทหารเป็นร้อยละ 2 ของ GDP
• เงินทุนสาหรับการสหประชาชาติ 2 ภารกิจรักษาสันติภาพ
• จานวนรวมของอาวุธหนักต่อ 100,000 คน 3
• ปริมาณการเคลื่อนย้ายอาวุธในการจัดจาหน่าย ต่อ 100,000 คน 3
• ความสามารถในการทหาร / 2 ความซับซ้อน
• จานวนคนพลัดถิ่นเป็นเปอร์เซ็นต์ของประชากร 4
1
ตัวชี้วัดการสร้างสังคมสันติสุข
1
•การให้การต้อนรับชาวต่างชาติ(Hospitality to foreigners)
•การรวมกลุ่มในภูมิภาคอย่างลุ่มลึก(Depth of regional integration)
•การมีความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศเพื่อนบ้าน 5
• (Relations with neighbors)
www.elifesara.
Rank Country Score
83 Bangladesh 2.070
84 Serbia 2.071
85 Peru 2.077
86 Cameroon 2.104
87 Angola 2.109
88 Guyana 2.112
89 Montenegro 2 .113
90 Ecuador 2.116
91 Dominican Republic 2.125
92 Guinea 2.126
93 Kazakhstan 2.137
94 Papua New Guinea 2.139
95 Nepal 2.152
96 Liberia 2.159
96 Uganda 2.159
98 Congo (Brazzaville) 2.165
99 Rwanda 2.185
100 Mali 2.188
101 Saudi Arabia 2.192
102 El Salvador 2.215
103 Tajikistan 2.225
104 Eritrea 2.227
105 Madagascar 2.239
106 Jamaica 2.244
107 Thailand 2.247 1
Rank Country Score
108 Turkmenistan 2.248
109 Armenia 2.260
109 Uzbekistan 2.260
111 Kenya 2.276
112 Belarus 2.283
113 Haiti 2.288
114 Kyrgyz Republic 2.296
115 Cambodia 2.301
116 Syria 2.322
117 Honduras 2.327
119 Iran 2.356
119 Niger 2.356
121 Mexico 2.362
122 Azerbaijan 2.379
123 Bahrain 2.398
124 Venezuela 2.403
125 Guatemala 2.405
126 Sri Lanka 2.407
127 Turkey 2.411
128 Cote d’ Ivoire 2.417
129 Algeria 2.423
130 Mauritania 2.425
Rank Country Score
131 Ethiopia 2.468
132 Burundi 2.532
133 Myanmar 2.538
134 Georgia 2.558
135 India 2.570
136 Philippines 2.574
137 Lebanon 2.597
138 Yemen 2.670
139 Colombia 2.700
140 Zimbabwe 2.722
141 Chad 2.740
142 Nigeria 2.743
143 Libya 2.816
144 Central African Republic 2.869
145 Israel 2.901
146 Pakistan 2.905
147 Russia 2.966
148 Democratic Republic of Congo 3.016
149 North Korea 3.092
150 Afghanistan 3.212
151 Sudan 3.223
152 Iraq 3.296
153 Somalia 3.379
Peace Index
ประเทศ 2013 2012 2011 2010 2009 2008 2007
มาเลเซีย 29 20 19 22 26 37 37
สิงคโปร์ 16 23 24 30 23 29 29
เวียดนาม 41 34 30 38 39 37 35
ลาว 39 37 32 34 45 51 -
อินโดนีเซีย 54 63 68 67 67 68 78
กัมพูชา 115 139 133 132 126 126 108
บรูไน 139 133 132 126 126 108
ฟิลิปปินส์ 129 133 136 130 114 113 100
ไทย 130 126 107 124 118 118 105
พม่า 140 139 133 132 126 126 108
www.elifesara.com 69
70
Global Terrorism Risk Index 2015
ของสถาบัน Institute for Economics & Peace
ประเทศที่เสี่ยงต่อการโจมตีของกลุ่มก่อการร้ายมากที่สุดในโลก
ผลการจัดอันดับ 162 ประเทศทั่วโลกด้านการก่อการร้าย ประจาปี 2015
๑. อิรัก
๒. อัฟกานิสถาน
๓. ในจีเรีย
๔. ปากีสถาน
๕. ซีเรีย
๖. อินเดีย
๗. เยเมน
๘. โซมาเลีย
๙. ลิเบีย
๑๐.ไทย
๑๑.ฟิลิปปินส์
๑๒.ยูเครน
๑๓.อียิป
ปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
•ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา
ครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ
www.elifesara.com
ผู้นำเชิงสันติวิธี - พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
❖พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้นาเชิงสันติวิธีที่ประสบความสาเร็จทรงแก้ไขวิกฤติการณ์ด้วยสันติวิธี
ในกรอบของความชอบธรรม ตามครรลองของรัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตย
❖ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยที่เผชิญปัญหาวิกฤติของประเทศมาหลายครั้ง แต่ทรง
แก้ไขได้ทุกครั้ง ทั้งที่พระองค์ทรงไม่มีโอกาสศึกษา อบรม เตรียมตัว เพื่อเป็นพระประมุขของประเทศมา
ก่อน
❖เมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะวิกฤติไม่อาจอาศัยรัฐธรรมนูญได้ ต้องอาศัยพระปรีชาญาณของพระองค์โดยแท้ ซึ่ง
พระบรมราชวินิจฉัยก็เหมาะสมกับภาวการณ์และโอกาสเสมอมา
ผู้นำเชิงสันติวิธี - พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
•ตัวอย่างการแก้ไขวิกฤตด้วยสันติวิธีของในหลวง
เมื่อคืนวันที่ 20 พฤษภาคม 2535 (พฤษภาทมิฬ) ทรงเรียกผู้นาสองขั้วที่นามวลชนเข้าห้าหั่นถึง
ขั้นเจ็บตายคาราชดาเนิน เข้าเฝ้าฯ และขอให้ทั้งสองฝ่ายหยุดสู้นายพลทั้งคู่กราบแทบฝ่าพระ
บาทยินยอมกระทาตามโดยไม่มีเงื่อนไข ความสงบคืนสู่แผ่นดินไทยอย่างเหลือเชื่อ
• คุณธรรมเด่นที่ใช้ : ความเป็นผู้ตื่น ความเมตตา ความยุติธรรม
รูปแบบยุติธรรมชุมชน
• เจ้าโคตร ระบบเจ้าโคตร แก่วัด แก่ฝาย แก่บ้าน
• การอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวขยาย การทานอาหารร่วมกัน การลงแขกลงขันใน
การทางานร่วมกัน
• การไกล่เกลี่ยชุนชน บ้านบอเกาะ อาเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
• อนุญาโตตุลาการหมู่บ้าน ตาบลบ้านกลาง อาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
• ระบบ Barangay ในฟิลิปปินส์
www.elifesara.com
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados (6)

บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
 

Semelhante a สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Pornpichit55
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
Saiiew
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
Aum Soodtaling
 

Semelhante a สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก (20)

ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คุณธรรม8ประการ
คุณธรรม8ประการคุณธรรม8ประการ
คุณธรรม8ประการ
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
025
025025
025
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
 
Ba.453 ch8
Ba.453 ch8 Ba.453 ch8
Ba.453 ch8
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
 
Aum
AumAum
Aum
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
 
Csr
CsrCsr
Csr
 

Mais de Taraya Srivilas

Mais de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 

สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก