SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 74
Baixar para ler offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
ธรรมาภิบาล ในการปฏิบัติงาน
หลักจริยธรรมของขงจื้อ
• ชีวิตทางเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา และการเมือง เป็นหนึ่งอันเดียวกันแยกกันไม่ออก
• อุดมคติของทุกสิ่ง มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จริยศาสตร์หรือศีลธรรม
• ถือว่าโลหิตแห่งชีวิต คือ ความรัก กระดูกสันหลังแห่งชาติ คือ คุณธรรม
• ถ้าปราศจากคุณธรรมชีวิตก็ไม่อาจดารงอยู่ได้ และถ้าปราศจากความรัก ชีวิต ก็คือความตาย
• การพัฒนาชีวิตจึงขึ้นอยู่กับการพัฒนาคุณธรรม
• ชีวิตจะรุ่งเรืองเมื่อคุณธรรมรุ่งเรือง ชีวิตจะแพร่ขยายเมื่อความรักแพร่ขยาย
www.elifesara.com
หลักจริยธรรมของศาสนาเต๋า
• ศาสนาเต๋าเป็นศาสนาที่ยิ่งใหญ่ศาสนาหนึ่ง ศาสดาชื่อเล่าจือ มีคัมภีร์ชื่อ “เต๋า เต็ก เก็ง”
• “เต๋า” มีความหมายหลายอย่าง แต่ที่ยอมรับกันมากคือ ที่หมายถึงธรรมชาติ หรือธรรมชาติผู้สร้างที่ยิ่งใหญ่ (Great
Creating Natures)
• หลักจริยธรรมของเต๋าเน้นธรรมชาติและชีวิต เต๋าเชื่อว่า “ความดีสูงสุดเปรียบเสมือนน้้าก่อเกิดประโยชน์กับทุกสิ่งโดยไม่
แข่งขันกับ ใคร” ความสุขของเต๋าคือความสุขของบุคคลผู้ไม่หวังในสิ่งใดเลย
• บาปหนักที่สุดคือความอยากครอบครองทรัพย์สิน และการขาดความพึงพอใจ นั่นก็เป็นค้าสาปเหนือค้าสาปทั้ง
3/15/2016 www.elifesara.com
4
แนวคิดของธรรมาภิบาล
• เพลโต - อริสโตเติ้ล
• จอห์น ล็อค - รุสโซ
• แมกซ์ เวเบอร์
• ธนาคารโลก - กองทุนนานาชาติ
www.elifesara.com
5
อริสโตเติ้ล (Aristotle 384-322 ac.)
“ คุณธรรมหมายถึงคุณลักษณะที่ทาให้ปัจเจกบุคคลมุ่งไปสู่
ความสาเร็จของชีวิต อันเป็นจุดมุ่งหมายแห่งชีวิตของตน ทั้ง
ที่เป็นจุดมุ่งหมายตามธรรมชาติ ”
www.elifesara.com
6
นักปรัชญาโฮมเมอร์ (Homer)
นักปรัชญาชาวกรีกให้ค้านิยาม“คุณธรรม”ว่า
“คุณธรรมหมายถึงลักษณะที่ท้าให้ปัจเจกบรรลุถึงหน้าที่ของตนในสังคม”
www.elifesara.com
7
บริบทของปรัชญากรีก
นิยามว่า “คุณธรรมเป็นสิ่งที่สาคัญสูงสุด”
คุณธรรม ย่อมดาเนินไปเพื่อบรรลุหน้าที่อันเหมาะสมของแต่ละสิ่ง
ความดีหรือคุณธรรมของสิ่งต่างๆ จะแตกต่างกันออกไปตามสภาพความ
เป็นจริงของแต่ละสิ่งนั้น เพราะแต่ละสิ่งย่อมมีจุดมุ่งหมายในตนเองทั้งสิ้น
www.elifesara.com
8
Tony Blair นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ
สนใจในการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่างๆ ได้ประชุมหารือกับรัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ
ในการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่
การปฏิบัตินั้นได้รับการยกย่อง จาก Steve Kelman อาจารย์มหาวิทยาลัย Harvard ว่า
“สหราชอาณาจักร คือ ประเทศที่มีพลังความคิดของการปรับปรุงการปฏิบัติงาน
ภาครัฐ”
www.elifesara.com
9
อังกฤษปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์
๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth)
๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty)
๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty)
๔. ความอดกลั้น (Patience)
๕. ความเป็นธรรม (Fair play)
๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others)
๗. เมตตาธรรม (Kindness)
www.elifesara.com
การก่อเกิดและการพัฒนาจริยธรรม
โดยการหล่อหลอม และปลูกฝังผ่านกระบวนการกล่อม
เกลาทางสังคมโดย
• การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว
• กระบวนการศึกษา
• ค่านิยมที่สั่งสมมาจากสังคม
มีสมาธิเกิดสติ
ปัญญามาจากพันธุกรรม
เกิดความเชื่อ มีความรู้สึก ด้วยการกระทาเป็นพฤติกรรมในส่วนดีwww.elifesara.com
กฎหมาย ระเบียบ ประมวลจริยธรรม
การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ วัฒนธรรม
ความรับผิดชอบ ตอบสนองต่อความต้องการ
มีความโปร่งใส สร้างการมีส่วนร่วม
โครงสร้างและวิธีการ
ความสมดุลและเป็นธรรม ความ
สุจริต ความมีประสิทธิภาพ/ผล
สภาพแวดล้อม
เป้าหมาย
องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล
หลักนิติธรรม
หลักความคุ้มค่า
หลักธรรมาภิบาล
6 ประการ
หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส่
หลักความ
รับผิดชอบ
หลักความมีส่วนร่วม
www.elifesara.com
ท่านเป็นคนทางานแบบใด
• do the right things
จะเน้นที่เป้าหมายของการทางานให้เกิด ประโยชน์มากที่สุด การทางานจะยืดหยุ่น
ได้ พลิกแพงได้ เน้นไปที่เป้าหมาย มากกว่าวิธีการทางานที่ถูกต้อง
• do things right
เป็นการทางานที่เน้นวิธีการที่เป็นสูตรสาเร็จตายตัว ทางานตามสั่ง ทางานตามกรอบ
โดยไม่ยืดหยุ่น
www.elifesara.com
ท่านเป็นคนทางานแบบใด
•Do the right things หมายถึงต้องรู้ว่าควรจะทาอะไร หรือไม่ควรจะทาอะไร
•Do the right things จะเน้นที่เป้าหมายของการทางานให้เกิด ประโยชน์
มากที่สุด การทางานจะยืดหยุ่นได้ พลิกแพงได้ เน้นไปที่เป้าหมาย มากกว่าวิธีการทางาน
ที่ถูกต้อง
• Do things right หมายถึงถ้าจะทาอะไรต้องทาให้ถูกต้องอย่าทาผิดแนวทาง
ผิดวิธีที่จะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ไม่ดี
•Do things right เป็นการทางานที่เน้นวิธีการที่เป็นสูตรสาเร็จตายตัว ทางาน
ตามสั่ง ทางานตามกรอบโดยไม่ยืดหยุ่น
www.elifesara.com
ท่านเป็นคนทางานแบบใด
• วิธีคิดทั้งสองอย่าง ไปด้วยกันยาก ใครประเภท
do the right things
เมื่อต้องไปประสานงานร่วมกันกับ
do things right
ก็จะเกิดการขัดแย้งอย่างหาทางออกไม่ได้
www.elifesara.com
เป้าหมายและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
www.elifesara.com
หลักธรรมในทางพุทธศาสนา
ฆราวาสธรรมมีข้อปฎิบัติ ๔ ประการ คือ
• สัจจะ : ความซื่อสัตย์ต่อกัน
• ทมะ : การรู้จักข่มใจ
• ขันติ : ความอดทนทั้งกายและใจ
• จาคะ : ความรู้จักเสียสละและบริจาคให้แก่บุคคลที่ควรให้
www.elifesara.com
คุณธรรม - จริยธรรม
•มรรค 8 แห่งการส่งเสริมคุณธรรม - จริยธรรม ประกอบด้วย
๑. ผู้ปกครองทุกๆ ระดับต้องตั้งอยู่ในความถูกต้อง
๒. ครอบครัวอบอุ่น
๓. การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่
๔. การมีสปิริตแห่งการเป็นอาสาสมัครเต็มแผ่นดิน
๕. การศึกษาที่เข้าถึงความดี
๖. ชุมชนเข็มแข็ง
๗. ส่งเสริมการพัมนาจิตให้เป็นวิถีชีวิต
๘. การสื่อสารความดี
www.elifesara.com
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมมาภิบาล
Good Governance
พระปฐมบรมราชโองการ ในพิธีบรม
ราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ในพระบรมมหาราชวัง
(วันที่ 5 พฤษภาคม 2493)
www.elifesara.com
ธรรมของผู้ปกครอง
ความเที่ยงธรรม(อวิโรธนะ)
การไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา)
ความอดทน(ขันติ)
ทศพิธราชธรรม
ศีล
ความไม่โกรธ(อักโกธะ)
ความอ่อนโยน(มัททวะ)
ความซื่อตรง(อาชชวะ)
ความเพียร(ตบะ)
บริจาค
ทาน
www.elifesara.com
22
• เน้นการพัฒนาคน
• ระเบิดจากข้างใน
• ปลุกจิตสานึก
• พึ่งตนเองได้
• ความพอเพียง
• ขาดทุนคือกาไร
• ทางานอย่างมีความสุข
• คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน
• บริการรวมที่จุดเดียว
• ปลูกป่าในใจคน
• การให้
• รู้ รัก สามัคคี
หลักการทรงงาน  ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
 แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเล็ก
 คานึงภูมิสังคม
 พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร / บูรณาการ
 ไม่ติดตารา ทาให้ง่าย มีลาดับขั้นตอน
 มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก
 ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์
 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
 การมีส่วนร่วม
 ซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน
34
www.elifesara.com
ทศพิธราชธรรม
๑. ทาน ได้แก่ การให้ทาน
๒. ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล
๓. ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน
๔. อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม
๕. มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน
๖. ตบะ ได้แก่ ความเพียร
๗. อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ
๘. อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน
๙. ขันติ ได้แก่ ความอดทน
๑๐. อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
www.elifesara.com
•GOVERNANCE
ที่มาของ Good Governance
•แนวคิดใหม่ใช้ในรายงานธนาคารโลกเมื่อปี ๑๙๘๙
•ประเทศไทยนามาใช้หลังมีรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐
•หลังวิกฤตทางเศรษฐกิจและสังคมในปี ๒๕๔๐
•กองทุนการเงินระหว่างประเทศให้รัฐบาลให้คามั่นว่าต้องสร้าง Good
Governance ให้เกิดขึ้น
www.elifesara.com
ความหมายของธรรมาภิบาล
• ในปี 2529 ให้ความหมาย governance ว่าเป็นการกระทาหรือ
กระบวนการในการดาเนินการปกครอง ที่เน้นแนวทางในการใช้อานาจ
หน้าที่และการควบคุม
www.elifesara.com
หลักการพื้นฐานของ
UNESCAP’ Good Governance
หลักความมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
หลักนิติธรรม
หลักความมีประสิทธิผล
หลักความเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ
หลักการตอบสนองที่เป็นธรรม
หลักความโปร่งใส
หลักความรับผิดชอบ
หลักความสอดคล้องต่อส่วนรวม
www.elifesara.com
•ตระหนักในหน้าที่
•กาหนดภารกิจของแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน
•ปฏิบัติกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างยุติธรรม
•ดาเนินงานอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
•มองการณ์ไกล คานึงถึงผลประโยชน์ระยะยาว
•ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานทุกด้านสู่ความเป็นเลิศ
หลักการของธรรมาภิบาลที่ดี
www.elifesara.com
•วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 บทเรียนสาหรับการร้องหาการกากับ
ดูแลกิจการที่ดี
•การดาเนินการปรับปรุงมาตรฐานบัญชี และการตรวจสอบบัญชีให้มีความ
น่าเชื่อถือมากขึ้น เพื่อให้ข้อมูลทางบัญชีสามารถสะท้อนความเป็นจริง
ทางด้านการเงินขององค์กร
•พัฒนาระบบการควบคุมภายใน (internal control) ที่มีประสิทธิภาพ และ
มีการตรวจสอบการบริหาร (monitoring) จากภายนอกมากขึ้น
แนวทางการสร้างธรรมาภิบาลที่ดีในไทย
www.elifesara.com
มีการใช้ Governance ในความหมายต่างๆ
• การจัดการที่รัฐมีบทบาทน้อยลง ให้ภาคเอกชนดาเนินการแทนในรูปการแปรสภาพกิจการของรัฐ
เป็นของเอกชน(Privatization)
• การบริหารจัดการของภาคเอกชน (Governance as Corporate Governance) หรือ บรรษัทภิบาล
• การบริหารจัดการกิจการสาธารณะแนวใหม่(Governance as the New Public Management)เดิมรัฐเป็น
ผู้นา มาเป็นรัฐเป็นผู้นาทาง
• การจัดการปกครองและการบริหารที่ดีหรือธรรมาภิบาล (Governance as Good Governance)
สนับสนุน NGO มีบทบาทมากยิ่งขึ้น
• การจัดระบบเครือข่ายปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมSocio- cybernetic System
• การจัดการภายในระบบเครือข่ายการจัดการตนเอง Local Governance
www.elifesara.com
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาล : สหรัฐอเมริกา
•สหรัฐฯ ให้ความสนใจไม่ใช่อยู่ที่ว่า “รัฐควรทาอะไร” เพื่อพัฒนาประเทศ แต่ทว่า
“รัฐควรทาอย่างไร” เพื่อให้ประเทศและประชากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น
•ปัจจุบันสหรัฐฯมีความพยายามที่จะปรับการทางานขององค์กรของรัฐ ให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น มีการส่งเสริมธรรมภิบาลให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรมากกว่า
การที่จะต้องมีองค์กรคอยตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานอยู่ตลอดเวลา
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาล : ฟิลิปปินส์
ได้นาหลักธรรมาภิบาลมาช่วยในการปฏิรูปภาครัฐหลังภาวะวิกฤตเศรษฐกิจใน
ภูมิภาคเอเชีย
จัดตั้งโครงการ Philippine Quality Award: (PQA) ในปี พ.ศ. 2540
เพื่อสร้างคุณภาพของหน่วยงานภาครัฐด้วยการใช้คุณลักษณะของ Total
Quality Management : TQM มาเป็นเครื่องมือนาไปสู่หลักธรรมาภิบาลของ
ประเทศ
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาล : ฟิลิปปินส์ PQA จะประเมินคุณลักษณะของ TQM 7
1. ความรับผิดชอบต่อความต้องการของประชาชนและความสามารถในการ
ตรวจสอบการปฏิบัติของรัฐ
2. ความโปร่งใสในการดาเนินงานทุกอย่างของรัฐและความสามารถในการ
ให้บริการข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็วของหน่วยงานของรัฐ
3. ระดับและคุณภาพการให้บริการประชาชนภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่
4. การให้ความสาคัญกับผลการดาเนินงานและเงื่อนไขของทรัพยากร
5. การประสานงานและความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้บริการที่ดีแก่
ประชาชน
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาลในประเทศต่างๆ : ฟิลิปปินส์
6. ความแน่นอนชัดเจนและความยุติธรรมในการปฎิบัติทางกฎหมาย กฎระเบียบเเละ
นโยบาย
7. การพัฒนาคุณภาพของชีวิตเเละความเป็นอยู่ของประชาชน
8. การกระตุ้นให้เกิดการเเข่งขันในการพัฒนาคุณภาพของสินค้าเเละบริการในราคา
ย่อมเยา
9. ความยืดหยุ่นของโครงสร้างของรัฐ เเละการที่มีกลไกของรัฐที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่มิ
ส่วนได้ส่วนเสียสามารถเเสดงความคิดเห็นหรือมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของรัฐ
10. ศักยภาพเเละความเป็นไปได้ของการบริหารของหน่วยงาน
ธรรมาภิบาลในประเทศต่างๆ : อินโดนีเซีย
• ปัญหาใหญ่ของอินโดนีเซียคือการปราบปรามคอร์รัปชั่น ที่จัดได้ว่ามีผลกระทบอย่าง
มากต่อการพัฒนาและสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
• ระดับความรุนแรงของคอร์รัปชั่นที่เผชิญอยู่นั้น สามารถวัดได้จากสภาวะและสถานภาพ
ทางเศรษฐกิจ
• ผลวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 และด้วยความช่วยเหลือ และทุนสนับสนุนจากนโยบายการ
ต่อต้านคอร์รัปชั่นของ Asian Development Bank : ADB ในปี พ.ศ. 2541 เป็นแรงผลักดัน
ให้ปราบปรามคอร์รัปชั่นทุกระดับและปฏิรูปภาครัฐไปสู่การมีธรรมาภิบาลอย่างจริงจัง
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาล : สิงคโปร์
•การทาให้มั่นใจในเสถียรภาพของรัฐบาล
•การสร้างชาติให้เข็มแข็ง
•การตอบสนองความต้องการของประชาชน
•การรักษาอานาจอธิปไตย
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาล : สิงคโปร์
ความเป็นผู้นาเป็นกุญแจสาคัญ (Leadership is key)
• ภาวะผู้นาที่มีความซื่อสัตย์ เป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากที่สุด ผู้นาต้องไม่คิดถึงประโยชน์
ส่วนตัวและไม่ติดสินบน ซึ่งมีข้อกฎหมายสาหรับผู้นาที่กระทาผิดหรือมีพฤติกรรมที่ไม่
สุจริต
• ผู้นาที่ดีจะต้องมีความสามารถตามที่ต้องการ
• ผู้นาที่ดีต้องมีคุณธรรม และความกล้าหาญ
• ผู้นาที่ดีสามารถทาการตัดสินใจที่ถูกต้องสาหรับประเทศ
• ผู้นาที่ดีทาในสิ่งที่ถูกต้องไม่ใช่ทาในสิ่งที่เป็นที่ชื่นชอบ
• ผู้นาจะต้องถูกเลือกโดยพื้นฐานของบุคลิกลักษณะที่เหมาะสม
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาล : สิงคโปร์
•ความคาดหวังในการเปลี่ยนแปลงและการเข้ามาเกี่ยวข้อง
• ความจาเป็นสาหรับรัฐบาลในการคาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลง เปิดกว้างสาหรับความคิด
ใหม่ๆ อยู่เสมอ
• ประชากรของสิงคโปร์จาเป็นต้องมีการพัฒนาความรู้และทักษะอยู่เสมอ
• NEWater: มีความมั่นใจในการพึ่งพาตัวเองของการจัดการทรัพยากรน้าที่มีอย่างจากัดได้
ซึ่งปัจจุบันสิงค์โปร์ต้องนาเข้าน้าจากมาเลเซียอยู่ และขณะนี้กาลังมุ่งมั่นพัฒนาระบบประปา
ให้ทันสมัยและเพียงพอต่อความต้องการในประเทศ
• Integrated Resort: การท่องเที่ยวเป็นส่วนที่สาคัญของเศรษฐกิจสิงคโปร์
www.elifesara.com
ธรรมาภิบาล : สิงคโปร์
• ให้รางวัลสาหรับการทางาน ซึ่งทาให้คนสิงคโปร์มุ่งที่จะทางานเพื่อประสบความสาเร็จใน
ตนเองและเพื่อพัฒนาสิงคโปร์ในขณะเดียวกัน
- ให้รางวัลโดยการมอบทุนการศึกษา สาหรับผู้ที่มีศักยภาพ
- ให้โอกาสหรือผลประโยชน์ผ่านการเจริญเติบโต การฟื้นฟูสิงคโปร์เพื่อความสาเร็จ (Progress
Package: Providing Opportunities through Growth, Remaking Singapore for Success)
เช่น การให้เงินปันผล การให้โบนัส โอกาสในการซื้อกองทุน การให้สวัสดิการต่างๆ เป็นต้น สาหรับผู้ที่
มุ่งมั่นและทุ่มเทให้กับการทางาน
• การรักษาผลประโยชน์สาหรับทุกคน
• การให้คาปรึกษาที่เกี่ยวกับรัฐบาล
• การตัดสินใจถูกทาเพื่อความจาเป็นของประเทศ
www.elifesara.com
สารวจการคอรัปชั่นด้านเศรษฐกิจหรือธุรกิจของประเทศในแถบเอเชีย และเอเชียอาคเนย์ 16 ประเทศ ปี 2012
•"เพิร์ค" (Perc) หรือ Political and Economic Risk Consultancy สารวจการคอรัปชั่นด้าน
เศรษฐกิจของประเทศในแถบเอเชีย และเอเชียอาคเนย์ 15 ประเทศรวมอเมริกา (เพราะอเมริกา
เข้าไปเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจทุกประเทศทั่วโลก)
•การสารวจจะแบ่งช่วงคะแนนออกเป็น 0 = คอรัปชั่นน้อยที่สุดหรือไม่มี ไปจนถึง 10 = คอรัปชั่น
มากที่สุด
•เพิร์คระบุว่า ถ้าประเทศใดมีระดับการโกงมากกว่า 7 แปลว่า การคอรัปชั่นอยู่ในระดับ "อันตราย
ร้ายแรง“
www.elifesara.com
GOVERNANCE
Poor หรือ Bad governance
การที่ฝ่ายบริหารกาหนดนโยบายโดยขาดการวางแผนไม่คานึงถึงประโยชน์ของประชาชน
เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดความรับผิดชอบ ไม่มีการปฏิบัติตามหลักนิติธรรม
ใช้อานาจในทางที่มิชอบ
ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ
มีการฉ้อราษฎร์บังหลวงอยู่ทั่วไป
www.elifesara.com
ลักษณะของการบริหารงานที่ไม่มีหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance)
1) ประชาชนได้รับบริการสาธารณะที่ไม่มีคุณภาพจากราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
2) ประเทศขาดศักยภาพในการกาหนด หรือดาเนินนโยบาย หรือการตัดสินใจด้านนโยบายผิดพลาด
และสับสนไม่ได้อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการและเหตุผล
3) การบริหารการคลังของประเทศล้มเหลว ซึ่งรวมถึงปัญหาการเงินการคลังของประเทศและกาหนด
งบประมาณที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
4) การกาหนดกฎระเบียบที่ไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างจริงจัง
5) ความไม่โปร่งใสของกระบวนการตัดสินใจ มีการทุจริตและแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน
สาธารณะและพบการทุจริตคอรัปชั่นของนักการเมืองและข้าราชการ
จาก รายงานขององค์การพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(United Nation Deverlopment Programme : UNDP)
Good Governance
1) การมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Public participation)เป็นกลไกที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน (Equity) การให้เสรีภาพแก่สื่อมวลชนและให้เสรีภาพแก่สาธารณชนในการ
แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
2) ความสุจริตและโปร่งใส (Honesty and transparency) เป็นกลไกที่มีระบบกติกา และการ
ดาเนินการที่เปิดเผย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างเสรีเป็นธรรม ถูกต้องและมี
ประสิทธิภาพ ตรวจสอบการบริหารและติดตามผลได้
3) พันธะความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsiveness and accountability) เป็นกลไกที่มีความ
รับผิดชอบมีหน้าที่ต่อสาธารณชน มีการดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มต่างๆ ในสังคม
อย่างเป็นธรรม รวมถึงการมีความรับผิดชอบที่มีต่อประชาชนสังคมโดยรวม
www.elifesara.com
Good Governance
4) กลไกทางการเมืองที่ชอบธรรม (Political legitimacy) เป็นกลไกที่มีองค์ประกอบของผู้ที่เป็น
รัฐบาลหรือผู้ที่เข้าร่วมบริหารประเทศที่มีความชอบธรรมเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมโดยรวมไม่ว่าจะโดย
การแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง
5) กฎเกณฑ์ที่ยุติธรรมและชัดเจน (Fair legal framework and predictability) คือมีกรอบของ
กฎหมายที่ยุติธรรมและเป็นธรรมสาหรับกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ซึ่งกฎเกณฑ์มีการบังคับใช้และสามารถใช้
บังคับได้
6) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and effectiveness) คือเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพใน
การดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดกระบวนการทางาน การจัดองค์กร การจัดสรรบุคคลากร และมีการ
ควบคุมการใช้ทรัพยากรสาธารณะต่างๆ อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม มีการดาเนินการและให้บริการสาธารณะ
ที่ให้ผลลัพธ์อย่างคุ้มค่า
www.elifesara.com
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล
๑. สังคมต้องสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารที่ถูกต้อง ทันการณ์และครบสมบูรณ์
๒. สังคมต้องมีความโปร่งใส
๓. สังคมต้องสร้างกลไกความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
๔. สังคมต้องมีสื่อที่เป็นอิสระ
๕. สังคมต้องสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
www.elifesara.com
การสร้างตัวชี้วัดธรรมาภิบาล
ต้องมีความเหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละหน่วยงาน
ต้องสามารถนาไปปฏิบัติได้ และมีความโปร่งใสในตัวชี้วัดเอง
ต้องมีคุณภาพและความแม่นยาของตัวชี้วัดและกรอบตัวชี้วัด
ต้องมีข้อมูลที่สนับสนุนการได้มาซึ่งตัวชี้วัด
ต้องสามารถระบุผลที่จะได้รับจากตัวชี้วัดได้อย่างชัดเจน
www.elifesara.com
ความถูกต้อง
•เป็นคนมีอุดมการณ์ อยากพัฒนา เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้ดีขึ้น
•มีความเชื่อมั่น มีจุดยืน มีหลักการ มีระเบียบวินัย และเคร่งครัด
•ทางานดัวยความรอบคอบ เป็นระบบ ระเบียบ แบบแผน มาตรฐาน
•หาข้อผิดพลาดหรือข้อบกพร่องของงานแต่ละชิ้น
•กล้าติเพื่อก่อ หรือกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา
•ต้องเลือกระหว่างความถูกต้องกับความถูกใจ ฉันจะเลือกความถูกต้อง
•ไม่กลัวการเปลี่ยนแปลง เพราะฉันเองก็อาจเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง
•อารมณ์ไม่ดีที่มักเกิดขึ้นบ่อย คือ “หงุดหงิด ขุ่นเคืองใจ” ไม่เป็นไปตามมาตรฐานในใจ
www.elifesara.com
วัฒนธรรมประชาธิปไตยในสังคมไทยที่ลักษณะบางประการไม่เอื้อต่อหลักธรรมาภิบาล
การยึดมั่นในสิทธิเสรีภาพ-คนไทยส่วนใหญ่ยึดสิทธิเสรีภาพของตนเอง คาดหวังให้คนอื่นมีหน้าที่ต่อตน
การเคารพความเสมอภาค-มักเรียกร้องเมื่อต้องการเสมอกับผู้อื่น หากตนอยู่ในฐานะดีกว่ามักมองว่าเป็นบุญที่ทา
มา ส่วนคนด้อยกว่ามองว่าเป็นกรรมเก่า
ความเชื่อมั่นในหลักนิติธรรมหรือกฎหมาย – กฎหมายศักดิ์สิทธิ์เมื่อบังคับใช้กับคนอื่น ถ้าใช้กับตนจะมองหา
ความสัมพันธ์พิเศษกับผู้บังคับใช้กฎหมาย เช่นการคอรัปชั่นเป็นสิ่งไม่ดี เมื่อคนอื่นเป็นผู้กระทา แต่ตนเองทา
เมื่อได้รับผลตอบแทนคุ้มค่า
การรับฟังเสียงผู้อื่น – การรับฟังเสียงส่วนใหญ่มักใช้เมื่อต้องการเสียงสนับสนุน แต่มักจะมองข้ามเรื่องการ
เคารพเสียงส่วนน้อย
บวรศักดิ์ อุวรรโณ 2542
www.elifesara.com
ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยไม่เอื้อต่อหลักธรรมาภิบาล
ผู้ใหญ่กับผู้น้อย ผู้น้อยให้ความเคารพ เชื่อฟัง และเกรงใจ ไม่ปฏิบัติตามถูกตาหนิ
ผู้ใหญ่ถูกคาดหวังจากผู้น้อยว่าเป็นคนใจถึง ใจกว้าง ประพฤติตัวดี ช่วยลูกน้องได้
เกิดค่านิยม “กตัญญูกตเวที” ระบบอุปถัมภ์จึงไม่เอื้อต่อธรรมาภิบาล
เกิดความไม่เท่าเทียม ไม่เสมอภาค สิทธิพิเศษ ติดสินบน หลีกเลี่ยงกฎหมาย
บวรศักดิ์ อุวรรโณ 2542
www.elifesara.com
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
www.elifesara.com
Thailand Corruption Perceptions Index 2012
“ คอรัปชั่น ” (Corruption)
การใช้อานาจที่ได้มาโดยหน้าที่ในการหาประโยชน์ส่วนตัว โดยองค์กรความโปร่งใส
สากลได้ระบุถึงกรณีต่างๆที่จะสามารถเกิดขึ้นในการคอรัปชั่นของภาครัฐได้ ดังนี้
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
การคอรัปชั่นขนาดใหญ่ (Grand corruption) เป็นการกระทาของเจ้าหน้าที่
รัฐระดับสูงเพื่อบิดเบือนนโยบายหรือใช้อานาจรัฐในทางมิชอบ เพื่อให้ผู้นาหรือ
ผู้บริหารประเทศได้รับผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรของชาติ
การคอรัปชั่นขนาดเล็ก (Petty corruption) เป็นการกระทาของ
เจ้าหน้าที่รัฐระดับกลางและระดับล่างต่อประชาชนทั่วไป โดยการใช้อานาจที่ได้รับ
มอบไปในทางมิชอบ
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
การติดสินบน (Bribery) เป็นการเสนอ การให้หรือสัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์
ทั้งรูปของเงิน สิ่งของ และสิ่งตอบแทนต่างๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้เกิดการทาผิด
กฎหมายหรือศีลธรรมอันดี
การยักยอก (Embezzlement) คือการที่คนในองค์กรนาเงินหรือสิ่งของที่ได้รับ
มอบให้ใช้ในราชการ มาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือเพื่อกิจกรรมอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง
รัฐ
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
การอุปถัมภ์(Patronage) เป็นรูปแบบของการเล่นพรรคเล่นพวก ด้วยการคัดเลือกคนจาก
ความสัมพันธ์ทางการเมืองหรือรู้จักกัน เข้ามาทางานหรือรับผลประโยชน์ โดยดูคุณสมบัติและ
ความเหมาะสม
การเลือกที่รักมักที่ชัง (Nepotism) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเล่นพรรคเล่นพวก โดย
เจ้าหน้าที่ของรัฐจะใช้อานาจที่มี ในการให้ผลประโยชน์หรือให้หน้าที่การงานแก่เพื่อน
ครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิด โดยไม่คานึงถึงคุณสมบัติและความเหมาะสม
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
•ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interest) คือการขัดกันระหว่าง
ผลประโยชน์ส่วนตัว กับผลประโยชน์ส่วนรวม
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
•การที่ฝ่ายบริหารกาหนดนโยบายโดยขาดการวางแผนไม่คานึงถึงประโยชน์
ของประชาชน
•เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดความรับผิดชอบ ไม่มีการปฏิบัติตามหลักนิติธรรม
•ใช้อานาจในทางที่มิชอบ
•ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ
•มีการฉ้อราษฎร์บังหลวงอยู่ทั่วไป
การบริหารงานที่ขาดหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance)
การบริหารงานที่ขาดหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance)
1. ประชาชนได้รับบริการสาธารณะจากราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่ไม่มีคุณภาพ
2. ประเทศขาดศักยภาพในการกาหนด หรือดาเนินนโยบาย หรือการตัดสินใจด้านนโยบาย
ผิดพลาดและสับสนไม่ได้อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการและเหตุผล
3. การบริหารการคลังของประเทศล้มเหลว ซึ่งรวมถึงปัญหาการเงินการคลังของประเทศ
และกาหนดงบประมาณที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
4. การกาหนดกฎระเบียบที่ไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างจริงจัง
5. ความไม่โปร่งใสของกระบวนการตัดสินใจ มีการทุจริตและแสวงหาผลประโยชน์จาก
ทรัพย์สินสาธารณะและพบการทุจริตคอรัปชั่นของนักการเมืองและข้าราชการ
จากรายงานขององค์การพัฒนาแห่งสหประชาชาติ(United Nation Development Programmed : UNDP)
Good Governance
1) การมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Public participation) เป็นกลไกที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน (Equity) การให้เสรีภาพแก่สื่อมวลชนและให้เสรีภาพแก่สาธารณชนในการ
แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
2) ความสุจริตและโปร่งใส (Honesty and transparency) เป็นกลไกที่มีระบบกติกา และการ
ดาเนินการที่เปิดเผย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างเสรีเป็นธรรม ถูกต้องและ
มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบการบริหารและติดตามผลได้
3) พันธะความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsiveness and accountability) เป็นกลไกที่มีความ
รับผิดชอบมีหน้าที่ต่อสาธารณชน มีการดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มต่างๆ ในสังคม
อย่างเป็นธรรม รวมถึงการมีความรับผิดชอบที่มีต่อประชาชนสังคมโดยรวม
Good Governance4) กลไกทางการเมืองที่ชอบธรรม (Political legitimacy) เป็นกลไกที่มีองค์ประกอบของผู้ที่เป็น
รัฐบาลหรือผู้ที่เข้าร่วมบริหารประเทศที่มีความชอบธรรมเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมโดยรวมไม่ว่าจะโดย
การแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง
5) กฎเกณฑ์ที่ยุติธรรมและชัดเจน (Fair legal framework and predictability) คือมี
กรอบของกฎหมายที่ยุติธรรมและเป็นธรรมสาหรับกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ซึ่งกฎเกณฑ์มีการบังคับใช้และ
สามารถใช้บังคับได้
6) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and effectiveness) คือเป็นกลไกที่มี
ประสิทธิภาพในการดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดกระบวนการทางาน การจัดองค์กร การจัดสรร
บุคคลากร และมีการควบคุมการใช้ทรัพยากรสาธารณะต่างๆ อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม มีการดาเนินการและ
ให้บริการสาธารณะที่ให้ผลลัพธ์อย่างคุ้มค่า
อันดับการทุจริตคอรัปชั่น
64
2012:คะแนน 3.7 อันดับ 88
65
3.7
2012
Price Water- House Coopers
 การทุจริต ผู้ถูกสารวจบอกว่าแนวโน้มอนาคตจะมีมากขึ้น
 อายุ 36-55 70%
 เพศ ชาย 85 %
 ลักษณะการทุจริต ทาคนเดียว 68 %
 ตาแหน่งในองค์กร ผู้บริหารขึ้นไป 86 %
 อายุงานในองค์กร 2-5 ปี 36 % มากกว่า 10 ปี 22%
 หน้าที่การงาน 1.ฝ่ายการเงิน 2. ฝ่ายปฏิบัติการ 3. ฝ่ายขาย
ที่มาสารวจอาชญากรรมเศรษฐกิจทั่วโลก(Global Economic Crime Survey)
การทุจริต กับการบริหารผิดพลาด
•การบริหารผิดพลาดมีความเสียหายมากกว่า อาจถึงขั้นเลิกกิจการ
•คนที่มีโอกาสโกง คือคนที่มีอานาจ ใกล้ชิดช่องทางใช้เงิน ซื้อตาแหน่ง
•ต้องสร้างสภาพแวดล้อมและการควบคุมที่ดี
•มีการประเมินความเสี่ยง
•มีกิจกรรมควบคุมชัดเจน
•มีระบบข้อมูล รายงานการสื่อสารที่สามารถติดตามประเมินผล
จากการสารวจคนไทย
 จานวนไม่น้อยกาลังสร้างค่านิยมวัฒนธรรมที่ผิดๆ พยายามส่ง
ทัศนคติที่ว่า “การทุจริตโกงกินไม่เป็นไร ขอให้กินแล้วแบ่งปันให้บ้างก็
ใช้ได้
 ค่านิยมคนไทยนิยมคนรวย
 การโกงกินมาจากการเอารัดเอาเปรียบ หลบเลี่ยงภาษีที่ต้องจ่ายรัฐ
 ประเภททุจริตฉ้อโกงการใช้ทรัพย์สินในทางที่ผิด
“คน” เป็นต้นตอปัญหาความไม่โปร่งใส การทุจริต
• พฤติกรรมของคน รับอิทธิพลจากความรู้สึกนึกคิด ค่านิยมของตัวและสังคม การ
ปฎิบัติหลายประการที่สืบสานกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ เช่น
• ความเกรงใจ
• ความรู้สึกเป็นหนี้บุญคุณ บุญคุณต้องตอบแทน
• เกรงกลัวผู้มีอานาจและอิทธิพล
• ระบบอุปถัมภ์เป็นผู้ใหญ่ต้องเลี้ยงลูกน้อง
• กลัวเสียหน้า
• เอาหูไปนาเอาตาไปไร่
• สินน้าใจของฝากติดไม้ติดมือ
www.elifesara.com KPI
ระบบเป็นปัจจัยที่ก่อความไม่โปร่งใสและการทุจริตคอรัปชั่น
• “ระบบ” ที่กาหนดขึ้นเพื่อให้เกิดระเบียบในสังคม และองค์กร โดยเฉพาะ “ระบบราชการและ
หน่วยงานของรัฐ” เป็นจุดอ่อน เช่นกฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มีขั้นตอนมาก มีช่องว่างและความ
ล้าสมัย
• ผู้บริหารมีอานาจมาก ใช้ช่องว่างจากกฎระเบียบ
• การบริหารจัดการไม่ได้ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ขาดระบบข้อมูลที่ทันสมัย และขาดการเผยแพร่
ข้อมูลอย่างเปิดเผย
• ระบบเงินเดือนที่ไม่เอื้อต่อการดารงชีวิต
• ระบบการพัฒนาคุณภาพคนล้มเหลว
• ระบบอุปถัมภ์เข้มแข็งกว่าระบบคุณธรรม การลงโทษผู้กระทาผิด ไม่ศักดิ์สิทธิ์
• ขาดกลไกการติดตาม การประเมินผล
www.elifesara.com KPI
การสัมมนา World Conference on Governance
ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ปี 2542
• ให้ความหมายของคอรัปชั่นว่า หมายถึงการทุจริต การฉ้อราษฎรบังหลวง มีหลายลักษณะ เช่น
• การเสนอโครงการหรือเลือกโครงการ ที่ไม่ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมากนัก แต่มีโอกาสได้เงินใต้
โต๊ะมาก
• การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ต่ากว่ามาตรฐาน หรือราคาสูงกว่าความเป็นจริง
• การจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่เพื่อยกเว้นกฎระเบียบ โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีอากร
• การจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่เพื่อให้มีโอกาสบริการสาธารณะบางประการ
• การยักยอกทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของตนเอง
• การซื้อขายตาแหน่ง หรือการกระทาที่มีผลกระทบต่อระบบคุณธรรมของราชการ
www.elifesara.com KPI
การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นต้องยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี
1. การมีส่วนร่วมของทุกส่วนในสังคม เป็นหน้าที่ของทุกคนที่ต้องร่วมมือกันใน
การรายงานข้อมูล การติดตามตรวจสอบและนาเผยแพร่ต่อสาธารณะ การ
เอาผู้กระทาผิดไปลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม
2. การทาให้การบริหารงานมีความโปร่งใส เปิดเผยขั้นตอนการทางานให้ผู้ติดต่อ
ทราบ มีระยะเวลากากับงานในขั้นตอนต่าง ๆ มีกฎระเบียบน้อยที่สุดไม่ให้เกิด
ความยุ่งยาก และให้มีการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่น้อยที่สุด ปิดโอกาสที่
เจ้าหน้าที่จะเรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ใช้บริการ
www.elifesara.com
World Conference on Governance
การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นต้องยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี
3. ผู้ปฏิบัติหน้าที่มีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ
กาหนดให้ผู้ดารงตาแหน่งมีโอกาสจะใช้อานาจไปในทางมิชอบต้องแจ้งบัญชีทรัพย์สินทั้ง
ก่อนและหลังดารงตาแหน่งต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งเปิดให้มีการตรวจสอบจาก
สาธารณะ และการมีองค์กรอิสระที่มีอานาจเพียงพอในการติดตามตรวจสอบผู้กระทาการ
คอรัปชั่นเพื่อนามาลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม
4. ยึดหลักนิติธรรม การบริหารงานที่ยึดหลักกฎหมายที่มีความชอบธรรมและมีความเป็น
สากล
5. การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต้องเป็นไปโดยเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคล หรือ
บุคคลเป็นการเฉพาะ เช่นการนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารเกี่ยวกับที่ดิน หรือ
งานศุลกากร
www.elifesara.com World Conference on Governance
“การคอรัปชั่นภาคธุรกิจกับบรรษัทภิบาลในไทย”
• ลักษณะคอรัปชั่นในภาคธุรกิจมีหลายลักษณะ เช่น
• เกิดจากการบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จไม่โปร่งใส
• ขาดการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ เจ้าของดาเนินการผิดพลาด หรือเอาเปรียบผู้ถือหุ้นรายย่อย
• ผู้บริหารใช้อานาจตามตาแหน่งหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนมากกว่าผลประโยชน์ของบริษัท ซึ่ง
ผู้ถือหุ้นทุกหุ้นเป็นเจ้าของเป็นปัญหาที่รุนแรงที่สุด
• คอรัปชั่นโดยถ่ายโอนกาไรจากบริษัทที่มีผู้ถือหุ้นหลายรายไปบริษัทที่ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นเจ้าของ ทาให้ไม่
ต้องแบ่งผลกาไรให้แก่ผู้ถือหุ้นหรือผู้ร่วมลงทุน
• การใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการค้ากาไรมีตัวอย่างในตลาดหลักทรัพย์ ที่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เทขายหุ้น
โดยที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยไม่รู้ตัว
• กฏหมายในประเทศไทยให้การคุ้มครองผู้ถือหุ้นค่อนข้างน้อย เกิดจากปัญหาการบริหารจัดการ และ
กลไกการตรวจสอบการบริหารจัดการธุรกิจในประเทศไทยอ่อนแอ บริษัทบางรายไม่โปร่งใสและเสี่ยง
ต่อการฉ้อโกง
•
www.elifesara.com จากบทความเรื่องกรุงเทพทัศนะ เขียนโดย ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และรจิตกนก จิตมั่นชัยธรรม (2544)

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Destaque (20)

หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกการสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 

Semelhante a ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ

ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
Jinwara Sriwichai
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
Maha Duangthip Dhamma
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
Dinhin Rakpong-Asoke
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
SunnyStrong
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
thnaporn999
 

Semelhante a ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ (20)

คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
 
13 life
13 life13 life
13 life
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
 
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไป
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
 
The 12 Thai values ค่านิยม 12 ประการ
The 12 Thai values ค่านิยม  12  ประการThe 12 Thai values ค่านิยม  12  ประการ
The 12 Thai values ค่านิยม 12 ประการ
 
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
 
หลักการคิดที่ถูกต้อง
หลักการคิดที่ถูกต้องหลักการคิดที่ถูกต้อง
หลักการคิดที่ถูกต้อง
 

Mais de Taraya Srivilas

Mais de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ