SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
Baixar para ler offline
Thailand
Corruption Perceptions Index 2012
“ คอรัปชั่น ” (Corruption)
คือการใช้อานาจที่ได้มาโดยหน้าที่ในการหาประโยชน์ส่วนตัว
โดยองค์กร ความโปร่งใสสากลได้ระบุถึงกรณี ต่างๆที่จะ
สามารถเกิดขึ้นในการคอรัปชั่นของภาครัฐได้ ดังนี้
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
 การคอรัปชั่นขนาดใหญ่ (Grand corruption) เป็นการ
กระทาของเจ้าหน้าที่รัฐระดับสูงเพื่อบิดเบือนนโยบายหรือใช้
อานาจรัฐในทางมิชอบ เพื่อให้ผู้นาหรือผู้บริหารประเทศ
ได้รับผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรของชาติ
 การคอรัปชั่นขนาดเล็ก (Petty corruption) เป็น
การกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐระดับกลางและระดับล่างต่อ
ประชาชนทั่วไป โดยการใช้อานาจที่ได้รับมอบไปในทางมิชอบ
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
 การติดสินบน (Bribery) เป็นการเสนอ การให้หรือ
สัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์ ทั้งรูปของเงิน สิ่งของ และ
สิ่งตอบแทนต่างๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้เกิดการทาผิด
กฎหมายหรือศีลธรรมอันดี
 การยักยอก (Embezzlement) คือการที่คนในองค์กรนา
เงินหรือสิ่งของที่ได้รับมอบให้ใช้ในราชการ มาใช้เพื่อ
ประโยชน์ส่วนตัวหรือเพื่อกิจกรรมอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องรัฐ
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
 การอุปถัมภ์(Patronage) เป็นรูปแบบของการเล่นพรรคเล่นพวก
ด้วยการคัดเลือกคนจากความสัมพันธ์ทางการเมืองหรือรู้จักกัน เข้า
มาทางานหรือรับผลประโยชน์ โดยดูคุณสมบัติและความเหมาะสม
 การเลือกที่รักมักที่ชัง (Nepotism) เป็นรูปแบบหนึ่งของการ
เล่นพรรคเล่นพวก โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐจะใช้อานาจที่มี ในการให้ผล
ประโยชน์หรือให้หน้าที่การงานแก่เพื่อน ครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิด
โดยไม่คานึงถึงคุณสมบัติและความเหมาะสม
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ
 ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interest) คือการ
ขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัว กับผลประโยชน์
ส่วนรวม
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International – TI)
Bad governance
 การที่ฝ่ายบริหารกาหนดนโยบายโดยขาดการวางแผนไม่
คานึงถึงประโยชน์ของประชาชน
 เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดความรับผิดชอบ ไม่มีการปฏิบัติตาม
หลักนิติธรรม
 ใช้อานาจในทางที่มิชอบ
 ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ
 มีการฉ้อราษฎร์บังหลวงอยู่ทั่วไป
การบริหารงานที่ไม่มีหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance)
1) ประชาชนได้รับบริการสาธารณะจากราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่ไม่มี
คุณภาพ
2) ประเทศขาดศักยภาพในการกาหนด หรือดาเนินนโยบาย หรือการตัดสินใจ
ด้านนโยบายผิดพลาดและสับสนไม่ได้อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการและเหตุผล
3) การบริหารการคลังของประเทศล้มเหลว ซึ่งรวมถึงปัญหาการเงินการ
คลังของประเทศและกาหนดงบประมาณที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็น
จริง
4) การกาหนดกฎระเบียบที่ไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างจริงจัง
5) ความไม่โปร่งใสของกระบวนการตัดสินใจ มีการทุจริตและแสวงหา
ผลประโยชน์จากทรัพย์สินสาธารณะและพบการทุจริตคอรัปชั่นของ
นักการเมืองและข้าราชการ
จาก รายงานขององค์การพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(United Nation Deverlopment Programme : UNDP)
Good Governance
1) การมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Public participation)เป็นกลไกที่ประชาชน
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน (Equity) การให้เสรีภาพแก่
สื่อมวลชนและให้เสรีภาพแก่สาธารณชนในการแสดงความคิดเห็นอย่าง
สร้างสรรค์
2) ความสุจริตและโปร่งใส (Honesty and transparency) เป็นกลไกที่มี
ระบบกติกา และการดาเนินการที่เปิดเผย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับ
ข้อมูลข่าวสารอย่างเสรีเป็นธรรม ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบการ
บริหารและติดตามผลได้
3) พันธะความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsiveness and accountability)
เป็นกลไกที่มีความรับผิดชอบมีหน้าที่ต่อสาธารณชน มีการดาเนินงานเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของกลุ่มต่างๆ ในสังคมอย่างเป็นธรรม รวมถึงการมี
ความรับผิดชอบที่มีต่อประชาชนสังคมโดยรวม
Good Governance
4) กลไกทางการเมืองที่ชอบธรรม (Political legitimacy) เป็นกลไกที่มี
องค์ประกอบของผู้ที่เป็นรัฐบาลหรือผู้ที่เข้าร่วมบริหารประเทศที่มี
ความชอบธรรมเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมโดยรวมไม่ว่าจะโดยการ
แต่งตั้งหรือเลือกตั้ง
5) กฎเกณฑ์ที่ยุติธรรมและชัดเจน (Fair legal framework and
predictability) คือมีกรอบของกฎหมายที่ยุติธรรมและเป็นธรรมสาหรับ
กลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ซึ่งกฎเกณฑ์มีการบังคับใช้และสามารถใช้บังคับได้
6) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and effectiveness) คือเป็น
กลไกที่มีประสิทธิภาพในการดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นด้านการจัด
กระบวนการทางาน การจัดองค์กร การจัดสรรบุคคลากร และมีการ
ควบคุมการใช้ทรัพยากรสาธารณะต่างๆ อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม มีการ
ดาเนินการและให้บริการสาธารณะที่ให้ผลลัพธ์อย่างคุ้มค่า
หลักธรรมภิบาลสากล
Corruption Perceptions Index (CPI)
 ดัชนีภาพลักษณ์คอรัปชั่น (CPI) จัดอันดับโดยองค์กร
เพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency
International: TI)
 เป็นองค์การนานาชาติ ก่อตั้งในประเทศเยอรมนี
 ได้เริ่มมีการจัดทาดัชนีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538
Corruption Perceptions Index (CPI)
ดัชนีภาพลักษณ์คอรัปชั่น
 เป็นการสารวจระดับความรู้สึก/การรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างต่อปัญหา
คอร์รัปชัน ในประเทศนั้นๆ
 ข้อมูลที่ใช้ในการจัดทา CPI เป็นข้อมูลจากการสารวจจากแหล่งข้อมูล
ต่างๆ
 สานักโพลล์ต่างๆ
 หน่วยงานวิจัยที่มีชื่อเสียง
 สถาบัน/องค์การระหว่างประเทศอิสระซึ่งยอมรับทั่วโลกแตกต่างกันไป ในแต่
ละปี เช่น Economist Intelligence Unit สานักแกลลัปโพลล์ สถาบัน
เพื่อการพัฒนาการบริหารการจัดการ IMD ที่ปรึกษาความเสี่ยงทางธุรกิจ
และทางการเมือง World Bank World Economic Forum
หน่วยงานในองค์การสหประชาชาติ เป็นต้น
องค์กรความโปร่งใสสากลมีเครื่องมือหรือดรรชนีวัดการ
คอรัปชั่นในระดับโลก 5 ตัวด้วยกัน
 ดรรชนีภาพลักษณ์คอรัปชั่น (Corruption Perceptions Index – CPI)
 เครื่องชี้วัดการคอรัปชั่นทั่วโลก (Global Corruption Barometer – GCB)
 ดัชนีการติดสินบน (Bribe Payers Index – BPI)ผลสารวจการคอรัปชั่น
ของโลก (Global Corruption Report – GCR )
 ผลสารวจความโปร่งใสทางการเงิน (Promoting Revenue
Transparency Project)
 ผลสารวจการต่อต้านคอรัปชั่น (Transparency in Reporting on Anti-
Corruption – TRAC)
14
Corruption Perceptions Index (CPI)
 ค่าคะแนนของ CPI เริ่มตั้งแต่ 0 คะแนน ถึง 10 คะแนน
โดย 0 คะแนน เป็นคะแนนต่าสุดหมายถึงเกิดการคอร์รัปชัน
สูงสุด ส่วน 10 คะแนน เป็นคะแนนสูงสุดหมายถึงมี
ภาพลักษณ์คอร์รัปชันน้อยที่สุดหรือมีความโปร่งใสใน การ
บริการสูงสุดสูงสุด (ค่า CPI ยิ่งสูง แปลว่าการคอร์รัป
ชัน ยิ่งต่่า)
ผลการจัดอันดับ Corruption Perceptions Index (CPI)
 ผลการจัดอันดับภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นโลกประจาปี พ.ศ. 2555 ประเทศไทยได้
ที่ 88 จาก 176 ประเทศทั่วโลกได้ 37 คะแนน จากคะแนนเต็มร้อย และอยู่
อันดับที่ 11 จาก 21 ประเทศในภูมิภาคเอเชีย
อันดับการทุจริตคอรัปชั่น
172012:คะแนน 3.7 อันดับ 88
18
3.7
ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์
คอร์รัปชันของประเทศไทย
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 - 2555
ผลการจัดอันดับ
Corruption Perceptions Index (CPI)
 การจัดอันดับประจาปี 2012 จาก 176 ประเทศทั่วโลก
 ปรากฏว่ามีเพียง 53 ประเทศเท่านั้นที่สอบผ่าน ที่
ได้คะแนนเกิน 50 คะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน
 ในขณะที่อีก 123 ประเทศ มีคะแนนต่ากว่าครึ่งหนึ่ง
ผลการจัดอันดับ Corruption Perceptions Index (CPI)
 ประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ และนิวซีแลนด์สามารถ
ครองแชมป์อันดับหนึ่ง (ได้90 คะแนนจาก 100
คะแนน)
 อันดับสุดท้ายที่ได้คะแนนต่าที่สุด ได้แก่ อัฟกานิสถาน
เกาหลีเหนือ และโซมาเลีย ได้ 8 คะแนนจาก 100
คะแนน
ผลการจัดอันดับ Corruption Perceptions Index (CPI)
 ในภูมิภาคเอเชีย สิงคโปร์ยังคงได้คะแนนนาเป็นอันดับหนึ่งได้
87 คะแนน
 มีเพียง 7 ประเทศเท่านั้นที่มีคะแนนเกินครึ่ง คือสิงคโปร์
ฮ่องกง ญี่ปุ่น ฎูฎาน ไต้หวัน เกาหลีใต้ และบรูไน
 อีก 14 ประเทศรวมทั้งประเทศไทยยังคงมีคะแนนต่ากว่าครึ่ง
ผลสารวจการวัดความคิดเห็นการคอรัปชั่น
ในประเทศไทย
(Global Corruption Barometer)
1 ใน 2 ปีที่ผ่านมาระดับของการคอรัปชั่นในไทยมีการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ ?
ผลการสารวจ
38%
28%
25%
8%
1%
เพิ่มขึ้นมาก
เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย
ลดลงมาก
ลดลงเพียงเล็กน้อย
เหมือนเดิม
2. คุณมีความคิดเห็นว่าการคอรัปชั่นเป็นปัญหา
ในภาครัฐในไทยในระดับไหน ?
44%
21%
30%
4%
1%
ผลการสารวจ
เป็นปัญหาร้ายแรง
เป็นปัญหา
เป็นปัญหาเล็กน้อย
ไม่ได้เป็นปัญหา
ไม่ได้เป็นปัญหาเลย
3. รัฐบาลดาเนินการปฏิบัติงานโดยไม่กี่หน่วยงานใหญ่ใน
ผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของตัวเองหรือไม่ ?
ผลการสารวจ
16%
42%
35%
1%
6%
ไม่ทั้งหมด
ค่อนข้างจะ
อยู่ในขอบเขตจากัด
เป็นส่วนมาก
โดยทั้งหมด
4. คุณคิดว่าประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของรัฐบาล
ไทยในการต่อสู้ต่อต้านกับการคอรัปชั่นเป็นอย่างไร ?
ผลการสารวจ
17%
25%
32%
23%
2%
ไม่มีประสิทธิภาพ
มากไม่มีประสิทธิภาพ
มีทั้งได้ผลและไม่ได้ผล
มีประสิทธิภาพ
มีประสิทธิภาพมาก
5. ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่รู้สึกว่าสถาบันต่างๆ เหล่านี้
ทุจริต / ทาความเสียหายอย่างมากในประเทศไทย
หน่วยงาน เปอร์เซ็นต์
พรรคการเมือง 68%
สภาผู้แทนราษฎร /สมาชิกสภา
นิติบัญญัติ
45%
ทหาร 23%
เอ็นจีโอ 18%
สื่อ 20%
หน่วยงานทางศาสนา 12%
หน่วยงาน เปอร์เซ็นต์
องค์กรธุรกิจ 37%
ระบบการศึกษา 32%
ตุลาการ/ศาล 18%
บริการทางการแพทย์และ
สุขภาพ
21%
ตารวจ 71%
เจ้าหน้าที่ของรัฐและข้าราชการ 58%
6. คุณหรือคนในครอบครัวของคุณเคยจ่ายเงินสินบนให้
หนึ่งในแปดบริการในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาหรือไม่ ?
หน่วยงานที่รายงานว่า
มีการจ่ายสินบน
เปอร์เซ็นต์
ตารวจ 37%
บริการที่มีการลงทะเบียนหรือการ
บริการ ที่ได้ใบอนุญาต
4%
สาธารณูปโภค 2%
รายได้จากภาษี 3%
บริการที่ดิน 19%
บริการทางการศึกษา 9%
ตุลาการ 14%
บริการทางการแพทย์และสุขภาพ 2%
7. คุณเห็นด้วยว่าประชาชนทั่วไป
สามารถต่อต้านการคอรัปชั่นได้ ?
ระดับความคิดเห็น เปอร์เซ็นต์
เห็นด้วยอย่างยิ่ง 8%
เห็นด้วย 64%
ไม่เห็นด้วย 18%
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 11%
รายงานดัชนีหลักนิติธรรมประจาปี 2012
 รายงานดัชนีหลักนิติธรรม (The Rule of Law Index) ซึ่งจัดทา
โดยโครงการยุติธรรมโลก (World Justice Project: WJP)
 โครงการยุติธรรมโลก ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงผลกาไร
 จัดทาดัชนีหลักนิติธรรมขึ้นเป็นปีที่ 3 โดยทาการ
สัมภาษณ์พลเมือง 97,000 คนและผู้เชี่ยวชาญด้าน
กระบวนการยุติธรรมอีก 2,500 คนใน 97 ประเทศ เพื่อ
เก็บข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาแนวคิดด้านกฎหมายที่
สาคัญ
รายงานดัชนีหลักนิติธรรมประจาปี 2012
 ปัจจัยที่นามาพิจารณาในการจัดลาดับประเทศ ได้แก่
- การจากัดอานาจของรัฐบาล (Limited government powers)
- การปลอดจากทุจริต (Absence of corruption)
- มีความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย (Order and security)
- สิทธิขั้นพื้นฐาน (Fundamental rights)
- รัฐที่มีความโปร่งใส (Open government)
- การบังคับใช้กฎหมาย (Regulatory enforcement)
- กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง (Civil justice)
- กระบวนการยุติธรรมทางอาญา (Criminal justice)
ประเทศไทย
 ประเทศไทยมีดัชนีหลักนิติธรรมด้านประสิทธิภาพของ
กระบวนการยุติธรรมในทางอาญา อยู่ในลาดับที่ 35 ของโลก
และลาดับ 7 ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้กลางค่อนไปทางสูง
 แต่ความขัดแย้งภาคพลเมืองและเหตุรุนแรงทางการเมืองยังคง
เป็นปัญหาใหญ่ในสังคมไทย รวมไปถึงการทุจริตคอร์รัปชันที่
แพร่หลายทั้งในฝ่ายนิติบัญญัติ และตารวจ
 ไทยได้รับคะแนนต่าที่สุดอยู่ในมิติของกระบวนการยุติธรรมทาง
แพ่ง อยู่ในอันดับ 80 ส่วนหนึ่งเป็นเพราะความล่าช้าในการ
ดาเนินคดี และความยากลาบากในการบังคับใช้ตามคาสั่งศาล
ญี่ปุ่น
 ญี่ปุ่นจัดอันดับในหมู่ผู้ปฏิบัติที่ได้อันดับสูงที่สุดในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกและภูมิภาคแปซิฟิกในมิติส่วนใหญ่
 ศาลของญี่ปุ่นเป็นหนึ่งได้จัดอันดับว่าดีที่สุดในโลก
 ประสิทธิภาพของหน่วยงานกากับดูแลของญี่ปุ่นถูกจัดอยู่ใน
อันดับที่ 2 ของโลก
 การรักษาความปลอดภัยอยู่ในระดับสูง อันดับที่ 7 ของโลก
 มีประสิทธิภาพในระบบยุติธรรมทางอาญาในอันดับที่ 23 ของ
โลก ถึงแม้ว่าจะมีการฝ่าฝืนหลักนิติธรรมที่ยังคงเป็นปัญหา
มาเลเซีย
 รัฐบาลมีความรับผิดชอบมากเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศที่มีรายได้ระดับบน
จนถึงกลาง
 ยังคงมีการแทรกแซงทางการเมือง และการยกโทษให้
 ระบบของศาลแพ่งอยู่ในลาดับ 39 และลาดับ 8 ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้บน
จนถึงกลาง
 ด้านความปลอดภัยของประชาชน มาเลเซียได้คะแนนดีเป็นครั้งแรก
 การละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยเจ้าหน้าที่ตารวจยังมีปัญหา
 การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการถูกจากัด
 การละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานอยู่ในอันดับที่ 73
 อิสรภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออกที่ยังคงเป็นปัญหาอยู่
Price Water- House Coopers
 การทุจริต ผู้ถูกสารวจบอกว่าแนวโน้มอนาคตจะมีมากขึ้น
 อายุ 36-55 70%
 เพศ ชาย 85 %
 ลักษณะการทุจริต ทาคนเดียว 68 %
 ตาแหน่งในองค์กร ผู้บริหารขึ้นไป 86 %
 อายุงานในองค์กร 2-5 ปี 36 % มากกว่า 10 ปี 22%
 หน้าที่การงาน 1.ฝ่ายการเงิน 2. ฝ่ายปฏิบัติการ 3. ฝ่ายขาย
ที่มาสำรวจอำชญำกรรมเศรษฐกิจทั่วโลก(Global Economic Crime Survey)
การทุจริตกับการบริหารผิดพลาด
 การบริหารผิดพลาดมีความเสียหายมากกว่า อาจถึงขั้นเลิก
กิจการ
 คนที่มีโอกาสโกง คือคนที่มีอานาจ ใกล้ชิดช่องทางใช้เงิน ซื้อ
ตาแหน่ง
 ต้องสร้างสภาพแวดล้อมและการควบคุมที่ดี
 มีการประเมินความเสี่ยง
 มีกิจกรรมควบคุมชัดเจน
 มีระบบข้อมูล รายงานการสื่อสารที่สามารถติดตาม
ประเมินผล
จากการสารวจคนไทย
 จานวนไม่น้อยกาลังสร้างค่านิยมวัฒนธรรมที่ผิดๆ
พยายามส่งทัศนคติที่ว่า “การทุจริตโกงกินไม่เป็นไร
ขอให้กินแล้วแบ่งปันให้บ้างก็ใช้ได้
 ค่านิยมคนไทยนิยมคนรวย
 การโกงกินมาจากการเอารัดเอาเปรียบ หลบเลี่ยง
ภาษีที่ต้องจ่ายรัฐ
 ประเภททุจริตฉ้อโกงการใช้ทรัพย์สินในทางที่ผิด
 ในแต่ละกราฟปัจจัยย่อยจะแสดงโดยรัศมีจากศูนย์กลางของวงกลมไปรอบ
นอก ศูนย์กลางของแต่ละวงกลมสอดคล้องกับความเป็นไปได้ต่าสุดสาหรับ
แต่ละปัจจัยย่อย (0.00) ขอบด้านนอกของวงกลมให้คะแนนความเป็นไป
ได้สูง (1.00)
2. Scores for all WJP Rule of Law Index sub-factors
2. Scores for all WJP Rule of Law Index sub-
factors
ความรับผิดชอบของรัฐบาล (Accountable government)
1.2 อานาจรัฐบาลที่ถูกจากัดโดยกฎหมาย
2.4 ไม่มีการ
คอรัปชั่น
ฝ่ายนิติบัญญัติ
2.3 ไม่มีการทุจริต
โดยเจ้าหน้าที่ตารวจ
และทหาร
2.2 ไม่มีการ
คอรัปชั่นฝ่ายตุลาการ
2.1 ไม่มีการคอรัปชั่น
ฝ่ายบริหาร
1.7 การเปลี่ยนแปลงเรื่องของอานาจ
กฎหมาย
1.3 อานาจรัฐบาลที่ถูกจากัด
โดยศาลยุติธรรม
1.4 การตรวจสอบที่เป็น
อิสระและการสอบทาน
1.5 เจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับ
อานาจประพฤติตัวไม่เหมาะสม
1.6 อานาจรัฐบาลอาจมีการตรวจสอบโดย
เอกชน
2. Scores for all WJP Rule of Law Index sub-
factors
การรักษาความปลอดภัยและสิทธิพื้นฐาน (Security and Fundamental Rights)
3.1 ไม่มี
อาชญากรรม4.8 สิทธิแรงงานขั้นพื้นฐาน
3.1 ความขัดแย้งของประชาชน
ถูกจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 ผู้คนไม่หันไปใช้
ความรุนแรง เพื่อแก้ไข
ความขับข้องใจส่วนบุคคล
4.1 การรักษามีความเท่าเทียมกัน
และไม่มีการเลือกปฏิบัติ
4.2 สิทธิในการใช้ชีวิตและความ
ปลอดภัยของบุคคล
4.3 เนื่องจากกระบวนการของกฎหมาย4.4 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก
4.5 อิสรภาพของความเชื่อและศาสนา
4.6 การแทรกแซงความส่วนตัว
ตามอาเภอใจ
4.7 อิสระของการชุมนุม
และการสมาคม
2. Scores for all WJP Rule of Law Index sub-
factorsรัฐบาลเปิดและการบังคับใช้กฎหมาย
(Open government and regulatory enforcement)
5.2 กฎหมายมีความเสถียร
5.1 กฎหมายมีการเผยแพร่
6.5 รัฐบาลไม่ได้เวนคืน
โดยไม่มีความเหมาะสม
6.4 เนื่องจากกระบวนการ
ใน การดาเนินการบริหาร
6.3 การดาเนินการตาม
กฎหมายโดยไม่ล่าช้า
เกินสมควร
6.2 กฎระเบียบของรัฐบาลถูกนาไปใช้
โดยไม่มีผลจากอิทธิพลที่ไม่เหมาะสม
6.1 กฎระเบียบของรัฐบาลถูกบังคับใช้
อย่างมีประสิทธิภาพ
5.4 ข้อมูลข่าวสารของราชการ
หาได้ง่าย
5.3 สิทธิในการยื่นคาร้องและ
การมีส่วนร่วมของประชาชน
2. Scores for all WJP Rule of Law Index sub-factors
การให้ความยุติธรรม (Delivery of Justice)
7.1 ประชาชนสามารถเข้าถึงความยุติธรรมทางแพ่งในราคาที่เหมาะสม
7.2ความยุติธรรมต่อประชาชนเป็นอิสระจากการเลือกปฏิบัติ8.7 เนื่องจากกระบวนการของกฎหมาย
7.3 ความยุติธรรมต่อประชาชน
เป็นอิสระจากการคอรัปชั่น
7.4 ความยุติธรรมต่อประชาชนเป็น
อิสระจากอิทธิพลของรัฐบาลที่เหมาะสม
7.5 ความยุติธรรมต่อประชาชนไม่ขึ้นอยู่
กับความล่าช้าที่ไม่มีเหตุผล
7.6 ความยุติธรรมต่อประชาชนถูกบังคับ
ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
7.7 ADRs (ตราสารที่เปลี่ยนมือได้)สามารถ
เข้าถึง, เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ
8.1 ระบบการตรวจสอบความผิดทางอาญา
มีประสิทธิภาพ
8.2 ระบบการพิจารณาความผิดทางอาญา
ทันเวลาและมีประสิทธิภาพ
8.3 ระบบราชทัณฑ์มีประสิทธิภาพ
8.4 ระบบความผิดทางอาญา
เป็นอิสระจากการเลือกปฏิบัติ
8.5 ระบบความผิดทางอาญา
เป็นอิสระจากการคอรัปชั่น
8.6 ระบบความผิดทางอาญา
เป็นอิสระจากอิทธิพลของรัฐ
ที่ไม่เหมาะสม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mais procurados (20)

แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

Destaque

ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยPadvee Academy
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยTaraya Srivilas
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสTaraya Srivilas
 
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์WiseKnow Thailand
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสTaraya Srivilas
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมTaraya Srivilas
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคงธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคงTaraya Srivilas
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...นายจักราวุธ คำทวี
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่Chalermpon Dondee
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรองบทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรองTeetut Tresirichod
 
สภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ
สภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศสภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ
สภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศtumetr
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Destaque (20)

ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคงธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
 
เสวนาต่อต้านคอร์รัปชั่นภาครัฐ วุฒิสภา
เสวนาต่อต้านคอร์รัปชั่นภาครัฐ วุฒิสภาเสวนาต่อต้านคอร์รัปชั่นภาครัฐ วุฒิสภา
เสวนาต่อต้านคอร์รัปชั่นภาครัฐ วุฒิสภา
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 
Ba.453 ch5
Ba.453 ch5Ba.453 ch5
Ba.453 ch5
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรองบทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
 
สภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ
สภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศสภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ
สภาพแวดล้อมในการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Mais de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Mais de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

การทุจริตอรัปชั่นของไทย