SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 56
Baixar para ler offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อํานวยการสํานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
การบริหารความขัดแย้ง
รู้เท่าทันสถานการณ์ รู้เท่าทันคน มีความเชื่อมั่นในตนเอง เสียงดัง ด่วนสรุป ใจร้อน ตัดสินใจไว
ดุดัน กล้าได้กล้าเสีย ชอบเผชิญหน้า รบแหลกลาญ และต้องชนะเสมอ ชอบขู่ วิสัยทัศน์แคบ มอง
แต่มุมตัวเอง ต้องการความเคารพ ไม่สนใจรอบข้าง กลัวการเสียหน้า ชอบเป็นผู้นํา รักและปกป้อง
พวกพ้อง ทําได้ทุกอย่าง ชอบลงมือปฏิบัติ เปิดเผย ตรงไปตรงมา
สไตล์ของการจัดการความขัดแย้งสไตล์กระทิง (ทิศเหนือ ธาตุไฟ ฐานกาย)
ผลกระทบ
เป็นคนที่ค่อนข้างเผด็จการ ชอบควบคุมผู้อื่นให้คิดอย่างที่ตนเองต้องการ ความขัดแย้งจะถูก
ยกระดับ เพราะไม่ฟังใคร ถ้าไปเจอกับคนประเภทนี้ ให้โอกาสเขาพูด โดยที่เราเองก็ต้องมี
จุดยืนที่มั่นคง อธิบายความเห็นของเราให้ชัดเป็นคนที่มุ่งมั่นเกินไปจึงทําให้ละเลย ในเรื่องของ
สุขภาพจนล้มเจ็บอยู่บ่อยครั้ง
• ปัญหาสุขภาพที่ควรระวัง ได้แก่ โรคเครียด และโรคความดัน และโรคกระเพาะอาหาร
วิธีจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีที่เหมาะกับสังคมไทยจากสไตล์ต่าง ๆ ของแต่ละคน
ใส่ใจความรู้สึกผู้อื่น ชอบความสามัคคีไม่ชอบความขัดแย้ง มีอารมณ์อ่อนไหวง่าย โอบอ้อมอารี เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย เห็นอกเห็นใจผู้อื่นเสมอ มีไหวพริบดี วางตัวดี พูดจาดี มีความรับผิดชอบ และไม่นิยมความรุนแรง
สไตล์ของการจัดการความขัดแย้ง สไตล์หนู (ทิศใต้ธาตุนํ้า ฐานใจ ผู้หล่อเลี้ยง)
คุณลักษณะ
เป็นมิตร เป็นที่รักของทุกคน พูดเก่ง ประนีประนอม รอมชอมยอมทุก
คน มองทุกอย่างไม่เป็นปัญหา ไม่ชอบการเผชิญหน้า ไม่มีจุดยืน
ถนอมนํ้าใจ อะไรก็ได้ ขี้สงสาร ขี้เกรงใจ รักษาความสัมพันธ์ ไม่ปฏิเสธ
ผลกระทบ
ไม่มีจุดยืน เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ไม่มีอํานาจ เจอกับคนประเภทนี้ ต้องสื่อสาร อย่าเสนอทางออกเร็วไป ให้ยึดหลักความเป็นจริง
เป็นคนเข้าใจยาก อารมณ์มักขึ้นอยู่กับความรู้สึกของตนเองมากกว่าเหตุผลเสมอ เป็นคนคิดมากมักเก็บทุกสิ่งทุกอย่างมาคิดอยู่
เรื่อยไปพอใจกับการอยู่ในโลกแห่งจินตนาการของตนเองมากกว่าการอยู่ในโลกของความเป็นจริง
วิธีจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีที่เหมาะกับสังคมไทยจากสไตล์ต่าง ๆ ของแต่ละคน
นิสัยมั่นคง มุ่งมั่นสูง เชื่อมั่นในตนเองสูง จิตใจเข้มแข็ง มีความรับผิดชอบ ชอบหลักการ ทฤษฎี ข้อมูล
รายละเอียด ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ทําทุกอย่างตามขั้นตอน ดื้อถ้าไม่ชอบ ยึดติด รอบคอบ รักษา
ผลประโยชน์ มีวินัย มีขั้นมีตอน ติดกรอบ ชอบสันโดษ รักความยุติธรรมเป็นอย่างยิ่ง กลัวความล้มเหลว
ต้องการเวลาวิเคราะห์ มีเหตุผล ไม่ยืดหยุ่น เก็บความรู้สึกได้เป็นอย่างดีเป็นพวก วัตถุนิยม
สไตล์ของการจัดการความขัดแย้ง สไตล์หมี(ทิศตะวันตก ธาตุดิน ฐานคิด)
วิธีจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีที่เหมาะกับสังคมไทยจากสไตล์ต่าง ๆ ของแต่ละคน
ผลกระทบ
เครียด ไม่มีสุนทรียภาพ แข็งกระด้าง ไม่มีความสัมพันธ์กับผู้อื่น เป็นคนที่จะจดจําเรื่องราวความเจ็บปวด
ต่างๆในอดีต จนยากที่จะลืมเลือนหรือให้อภัยกับคนที่เคยทําร้ายตนได้ ไม่มีเวลาในแบบที่ต้องการ มี
ความลับเยอะเก็บความรู้สึกเก่งจนไม่สามารถ แสดงออกถึงความรู้สึกที่แท้จริงของตนเองได้ บางครั้งผู้ที่อยู่
ใกล้ชิดก็รู้สึกว่าชาวธาตุดินนั้นเป็นคนที่เข้าใจยาก และเข้าถึงได้ยากเจอคนประเภทนี้ อย่าทําให้ตกใจ ต้อง
ค่อย ๆ พูด ค่อย ๆ รับรู้ คอยให้กําลังใจ อย่าทําให้รู้สึกเสียหน้า
สไตล์ของการจัดการความขัดแย้ง
สไตล์อินทรีย์ (ทิศตะวันออก ธาตุลม ฐานจินตนาการ
ทุกอย่างเป็นไปได้ มีวิสัยทัศน์ มองภาพกว้าง ชอบจินตนาการ คิดนอกกรอบแบบสร้างสรรค์ ใจร้อน คิดเร็ว รายละเอียดไม่ชัดเจน
เปลี่ยนจุดยืนตลอด พร้อมแลกเปลี่ยน ได้อย่างเสียอย่าง จอม Project ใช้เหตุผลและสติปัญญาเป็นสําคัญ มากกว่าอารมณ์เสมอ
เป็นนักคิดและนักวางแผนที่ดี มีวาทศิลป์และมีคารมดี มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร เป็นคนที่มีอารมณ์ดี สนุกสนานร่าเริง มี
ความเป็นผู้นํา เด็ดเดี่ยว ตัดสินใจเก่งและเร็วทันต่อเหตุการณ์
ผลกระทบ มุ่งมั่นในการประสบความสําเร็จมากเกินไปจึงทําให้บางครั้งก็เกิดความผิดหวังได้ เป็นคนนิยมใฝ่หาความรู้ เกินไปจึงทํา
ให้กลายเป็นคนเฉื่อยชาและเชื่องช้า ขาดพลังในการดําเนินชีวิต การที่เป็นคนใช้ชีวิตอย่าง
คุ้มค่าจนบางครั้งไม่ได้ใส่ใจในเรื่องสุขภาพเท่าที่ควร อีกฝ่ายคิดว่าคนประเภทนี้ไม่จริงใจ เนื่องจากเขาไม่ฟัง อยากแต่จะให้งานจบเร็ว
ถ้าเจอคนประเภทนี้ต้องรวดเร็ว ทันคนประเภทนี้ เสนอทางเลือกต่าง ๆ ที่ต้องการ
• บอกไม่ได้ว่าสไตล์ไหนดีกว่า สไตล์ไหน ขึ้นอยู่ว่าจะใช้สไตล์นั้นในเหตุการณ์อะไร
• ในสังคมไทยอาจมีสไตล์อื่น ๆ อีกมากมายที่จะใช้จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
• ความสัมพันธ์ระหว่างคน ไม่สามารถยึดวิธีใดวิธีหนึ่งมาจัดการได้ เพราะอีกฝ่ายก็มีวิธีของเขาเช่นกัน
• ต้องมองให้ออกว่าอีกฝ่ายเป็นแบบใด ไม่ยึดวิธีตายตัว ต้องยอมรับว่าคนต่างกัน ใช้วิธีในการแก้ไขความ
ขัดแย้งที่ต่างกัน
• ต้องปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ เพราะเป้าหมายสูงสุดคือการหาทางออกโดยไม่ใช้ความรุนแรง
• อาจเป็นวิธีที่เราไม่ชอบและคิดว่าเป็นวิธีที่ถูกต้องโดยไม่เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์เพื่อให้
สถานการณ์ดีขึ้น
สไตล์ของคน
•เกิดขึ้นจากสาเหตุต่างๆได้ 3 ประการด้วยกัน คือ
• การรับรู้(Perception)ที่ต่างกันย่อมขัดกัน
• การมุ่งหวัง(Expectation)ที่ไม่เหมือนกัน ย่อมขัดกัน และ
• เมื่อ อํานาจ (Power)ไม่เสมอกัน ก็ย่อมขัดแย้งกันได้ง่าย
ความขัดแย้ง
• ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้เป็นปกติ ถ้ามีความรุนแรงก็ถือว่าไม่ปกติ
• ในสังคมไทย มีความขัดแย้งกันเรื่องรัฐธรรมนูญ ที่ต้องฉีกไปแล้ว 19 ฉบับ รัฐประหาร 24 ครั้ง สําเร็จ
13 ครั้ง กบฏ 11 ครั้ง และมีการปฏิวัติ 1 ครั้ง คือ ปฏิวัติสยาม เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
• ตั้งแต่ พ.ศ.2550 สังคมของไทยเกิดความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่คนจํานวนมากมีอารมณ์โกรธ และ
ร่วมกับพรรคการเมืองใหญ่
• สังคมไทยอยู่ภายใต้ความเสี่ยง? รัฐอ่อนแอ ระบบราชการแตกแยก กลไกผ่อนเบาความขัดแย้งทึกอัน
อ่อนกําลัง คงจะป้องกันการลั่นไก(TRIGGER)ได้ยาก
ความรุนแรง
(1) การขาดความยุติธรรมในสังคม
(2) วัฒนธรรมและโครงสร้างอํานาจ เป็นสังคมแนวดิ่ง
(3) กฎหมายและอํานาจรัฐ ไม่เอื้อให้ประชาชนมีเสรี
(4) การพัฒนาสมัยใหม่
(5) การขาดความรู้และทักษะในการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี
(6) วิธีคิด และการศึกษา มุ่งแต่จะแข่งขันเอาชนะกัน
สาเหตุแห่งความรุนแรงในสังคมไทย
•กฎมายมีไว้สําหรับให้มีความสงบสุขในบ้านเมือง มิใช่ว่ากฏหมายมีไว้สําหรับ
บังคับประชาชน ถ้ามุ่งหมายที่จะบังคับประชาชน ก็กลายเป็นเผด็จการ
กลายเป็นสิ่งที่บุคคลหมู่น้อยจะต้องบังคับบุคคลหมู่มาก
•ในทางตรงกันข้าม กฏหมายมีไว้สําหรับให้บุคคลส่วนมากมีเสรีและอยู่ได้ด้วย
ความสงบบางทีเราตั้งกฏหมายขึ้นมาก็ด้วยวิชาการซึ่งได้จากต่างประเทศ
เพราะว่าวิชาการกฎหมายนี้ก็เป็นวิชาการที่กว้างขวาง
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
www.elifesara.com
1. ทําให้เกิดความยุติธรรมในสังคม มีการจัดผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่อมลํ้า
2. ปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ด้วยอํานาจหรือความสัมพันธ์ทางดิ่ง ไปเป็นความสัมพันธ์ทางราบให้มากขึ้น เน้นความเป็น
ชุมชน ความเป็นประชาชน
3. ปฏิรูปกฎหมายให้ส่งเสริมความเป็นธรรมในสังคมและการสร้างประชาสังคม หรือให้มีธรรมนูญในสังคมชุมชน
4. ปรับปรุงแนวทางการพัฒนาประเทศ จากการเน้นกําไรสูงสุดของปัจเจกบุคคล มาเป็นการอยู่ร่วมกันด้วยสันติระหว่าง
มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมเป็นแนวทาง
5. สร้างความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี ควรส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยปฏิรูปการเรียนใหม่ ลดการเน้น
ท่องจํา และการแข่งขัน ไปสู่การฝึกปฏิบัติในการทํางานและการอยู่ร่วมกัน
6. การแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี ตลอดจนมีการคิดใหม่แบบโยนิโสมนสิการเพื่อคลี่คลายการคิดแบบสําเร็จรูปตามตัวแยก
ส่วน อันนําไปสู่ความรุนแรง
การระงับเหตุแห่งความรุนแรงในสังคมไทย
ภาครัฐจะพูดอยู่เสมอว่าทําถูกต้องตามขั้นตอน ตามกฎหมาย ตามกฎ
ระเบียบ ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทําถูกต้อง ทุกหน่วยงานทําถูกต้อง แล้วทําไม
วันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่
ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นําไปสู่ความยุติธรรมทางสังคม
จริงหรือไม่ ความถูกต้องตามกฎหมาย สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความ
ยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่ ทั้งที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนําไปสู่ความ
ยุติธรรมและความมีคุณธรรมจริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือแปลกแยก
ออกจากกัน
“ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย”
พระบรมราโชวาท
www.elifesara.com
•ข้อคิดสําหรับการตรากฎหมายและ การใช้กฎหมายต่อสําหรับผู้มีหน้าที่โดยตรง และสําหรับ
ประชาชนผู้มีความสนใจอยากรู้ในเบื้องต้น
•ปรัชญากฎหมายขององค์พระประมุขนั้นมีหลักการสําคัญที่สุดคือ
“กฎหมายมิใช่ ตัวของความยุติธรรม แต่กฎหมายจะต้องมีเป้ าหมายเพื่อความ
ยุติธรรม หรือเรียกว่า ความยุติธรรมจะต้องอยู่เหนือกฎหมายหรือเป็นใหญ่กว่า
กฎหมาย”
พระบรมราโชวาทฯใน“วันรพี”ของคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณ ตําหนักจิตรลดารโหฐาน ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๖
1. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
2. วิธีคิดแบบวิเคราะห์แยกแยะ
3. วิธีคิดแบบรู้เท่าทันสิ่งสรรพสิ่งทั้งปวง
4. วิธีคิดแก้ปัญหาแบบอริยสัจรู้สภาพปัญหา กําหนดเหตุของปัญหา การดับทุกข์และการปฏิบัติเพื่อกําจัดปัญหา
5. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรือคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย
6. วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก เป็นการมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง
7. วิธีคิดแบบคุณค่าแท้และคุณค่าเทียม เป็นวิธีคิดที่เกี่ยวข้องใกล้ชิดกับความต้องการ และการประเมินค่าของบุคคล
8. วิธีคิดบนพื้นฐานคุณธรรม เป็นวิธีคิดที่รู้จักนําเอาประสบการณ์ที่ผ่านพบมาคิดปรุงแต่งไปในทางที่ดีงาม
9. วิธีคิดแบบอยู่กับปัจจุบัน
10. วิธีคิดแบบการมองความจริงในทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง
คิดแบบโยนิโสมนสิการ
ป
ั ญหา ในป
ั จจุบัน
•การใช้ความรุนแรงยังดํารงอยู่
•ขาดความเข้าใจและทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
•ขาดการวางรากฐานสันติวัฒนธรรมในเยาวชน
•การดําเนินการแต่ละองค์กรยังต่างคนต่างทํา
•ขาดการสนับสนุนนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม และงบประมาน
•ขาดองค์กรผลักดันแผนงานและกระแสสันติวิธีให้เป็นกระแสหลัก
รากเหง้าของป
ั ญหา
•ประวัติศาสตร์ การครอบครอง และการต้องการเป็นอิสระ
•วัฒนธรรม จากสังคมที่ไม่ชอบการเผชิญหน้า สู่ความรุนแรง
•ความเชื่อ ศาสนา และ ค่านิยม
•ความไว้วางใจ จาก ผลประโยชน์ทับซ้อน สู่ ความไม่ไว้วางใจใครในทางสังคม
•การศึกษา : การแข่งขันมากเกินไป และ การสร้างทีมงานน้อยเกินไป
•การเมือง : จาก ประชาธิปไตยแบบตัวแทน สู่ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
จากความขัดแย้งเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล ปี 2535 ความขัดแย้งเกี่ยวกับท่อก๊าซยาดานา ปี 2540 และความ
ขัดแย้งเกี่ยวกับโรงไฟฟ้ าถ่านหินบ่อนอก ปี 2542 จะนะ และระยอง ปี 2520 จากตัวอย่างทั้งสามนี้เห็นได้ว่าช่วงแรก ๆ
ของการเริ่มพยายามจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีได้ประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น
1. การพยายามของบางกลุ่มที่จะไม่เปลี่ยนและจะใช้วิธีเดิม ๆ ที่อิงกับอํานาจ การให้คุณให้โทษ
2. ไม่มีการสอบถามว่าไม่เห็นด้วยเนื่องจากอะไร ฝ่ายรัฐไม่เชื่อว่าสามารถเรียนรู้จากคนอื่นระดับชาวบ้านได้
3. ทางการ รวมทั้งหน่วยงานทางวิชาการคิดว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เพราะขาดทักษะการจัดการบางอย่าง โดยคิดว่า
เป็นความรู้สากลอย่างหนึ่ง จึงแก้ปัญหาโดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาสอน
4. การพูดคุยกันไม่ได้ดําเนินการด้วยความไว้ใจกัน แต่จะระแวงกันตลอดเวลา
5. ยังนิยมใช้เทคนิคการประชาสัมพันธ์ให้ฝ่ายตัวเองดูว่าชอบธรรม พร้อมกับข่มขู่อีกฝ่าย แทนที่จะพยายามหาทาง
ออกร่วมกัน
การจัดการความขัดแย้งของรัฐยังทําแบบเดิมๆ
การใช้อํานาจ
การใช้อํานาจและกําลังแก้ปัญหา จะนําไปสู่ความไม่พอใจและไม่ร่วมมือ เกิดต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองจะสูง
การใช้อํานาจระงับเหตุการณ์วุ่นวาย ต้องมั่นใจว่าอํานาจที่ใช้นั้นถูกต้องตามกฎหมาย และเป็นอํานาจที่ตนเองมีอยู่จริง
ผู้บริหารแบบ “ใช้อํานาจ” มักจะใช้วิธีแบบแพ้-ชนะ เพราะเชื่อว่า “เมื่อฉันมีอํานาจ ฉันต้องชนะ”
ผู้บริหารที่ชอบใช้อํานาจจะมีเมื่อเข้ารับตําแหน่งใหม่ จะแสดงให้คนเห็นว่าตนเองมีอํานาจ เป็นการข่มขู่ให้ยอมรับ เมื่อ
สถานการณ์ไม่แน่นอน จะแสดงอํานาจออกมาเพื่อให้คนเห็นว่าตัวเองยังมีอํานาจอยู่
www.elifesara.com
21
Peace in Thailand
การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ
• มิติเชิงการป้องกันความขัดแย้ง
• มิติเชิงการแก้ไขความขัดแย้ง
• มิติเชิงปรองดองการ ฟื้นคืนดี สู่สันติสุข
www.elifesara.com
การป
้ องกันความขัดแย้ง
•การสื่อสารที่ดี (การพูด การฟัง การแสดงออกทางกาย)
•สร้างการมีส่วนร่วม (การประชุมปรึกษาหารือ รับฟังความคิดเห็น)
•สร้างความเป็นหุ้นส่วนในการทํางานร่วมกัน
•การทําแผนที่ความขัดแย้ง (มีสิ่งใดบ้างที่ทําแล้วจะเกิดความขัดแย้ง จุดยืนที่ต่างกัน)
•วัฎจักรของความขัดแย้ง
•รู้สาเหตุความขัดแย้ง
•เปิดให้มีพื้นที่ในการพูดคุยกัน (ตัดสินใจด้วยฉันทามติ)
การตัดสินใจด้วยฉันทามติ
•พยายามไม่ให้เกิดความบาดหมาง
•สามารถนําคําตอบรวมเข้าด้วยกันเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่นําไปใช้การได้
•ทุกคนร่วมคิด ออกความคิดเห็น และถูกนํามาใช้
•ความเห็นต่างมิใช่เป็นอุปสรรค แต่เป็นประโยชน์
•คนไม่เห็นด้วย เมื่อเสร็จแล้วให้เวลาเป็นเครื่องทดสอบ
•ให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นอย่างเพียงพอ เข้าใจความคิดระหว่างกัน ก่อนที่จะจบ/DM
แม้จะใช้เวลานาน ทุกคนได้ร่วมตัดสินใจร่วมกัน
ประโยชน์ ของการตัดสินใจร่วมกันด้วยกระบวนการฉันทามติ
•ทุกคนสนับสนุนผลการตัดสินใจ และเป็นหุ้นส่วนความคิด
•ให้คําตอบในการแก้ปัญหาที่คนส่วนใหญ่พึงพอใจ
•มีการเอื้อเฟื้ อ เกื้อกูล ในการสื่อสารระหว่างกัน
•เกิดการรับฟัง และทําความเข้าใจในประเด็นปัญหาจากทุกฝ่าย
•นําไปสู่การปฏิบัติที่ยอมรับ และปฏิบัติได้
•หาคนเป็นผู้ Lead นํา และทําหน้าที่ Facilitator พร้อมทั้งมีกฎกติการ่วมกัน
•การอํานวยการประชุม
•การเจรจาต่อรอง
•การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
•การอนุญาโตตุลาการ
•การมีส่วนร่วม
•กระบวนการยุติธรรม
การแก้ไขความขัดแย้ง
•การสร้างพื้นที่ให้เอื้อต่อการอยู่ร่วมกัน
•การเยียวยา
•การขอโทษ
•การให้อภัย
•การยกโทษให้
การฟื้ นคืนดีสู่สันติสุข
KPI
ที่มาของความขัดแย้ง ต่างค่านิยม อุดมการณ์
วัฒนธรรมต่างกัน
ความสัมพันธ์ไม่ดี
ปัญหาข้อมูล
ความจริงและข่าวสาร
ผลประโยชน์ขัดกัน
และความต้องการ
ปัญหาจากโครงสร้าง
อารมณ์ที่รุนแรง
การรับรู้คลาดเคลื่อน
สื่อสาร ไม่ดี
ทัศนคติตายตัว
พฤติกรรมเชิงลบ
ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน
ค่านิยมต่างกัน
ประสบการณ์ต่างกัน
พื้นฐานการศึกษาต่างกัน
วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน
การแย่งชิงอํานาจ
ความไม่เท่าเทียมกัน ความไม่ยุติธรรม
กฎหมาย การปกครอง
ข้อมูลน้อย ผิดพลาด แปลข้อมูลไม่ตรงกัน
ความแตกต่างในการเก็บและศึกษา
การแย่งชิงผลประโยชน์
ทรัพย์สิน ทรัพยากร
ความเท่าเทียมกัน
วิธีการ
28
เวลา
ความรุ
น
แรง
สงคราม การปะทะกันอย่างแท้จริง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงสันติภาพอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
1. Conflict Resolution (Peacemaking) การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
เป็นการลดความขัดแย้งหรือความรุนแรงชั่วขณะ ใช้กับเรื่อง เช่น เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง
และการเจรจาเพื่อระงับปัญหาที่จะเกิดขึ้นเฉพาะหน้า เช่น
- การเจรจาไกล่เกลี่ย (Negotiation)เพื่อหลีกเลี่ยงการหยุดงาน
- การพูดคุยเพื่อสันติภาพ (Peace Talks)เช่น การหยุดยิงในพื้นที่เป็นเวลา 3 เดือน
ลักษณะของการจัดการความขัดแย้ง มี 3 ลักษณะ
2. Conflict Management (Peace Keeping) รักษาให้เกิดความสงบ
ไม่ได้เป็นการแก้ปัญหาแต่เป็นการจัดการความรุนแรงให้อยู่ในกรอบที่พอรับได้ ที่ไม่ไปกระทบกับ
เรื่องอื่น ๆ มากเกินไป
เช่นการจัดการความรุนแรงในจังหวัดชายแดนใต้ หรือต่างประเทศที่มีความรุนแรง
ให้มีการสูญเสียที่น้อยลง เพราะเชื่อว่าความกดดันทางสังคมจะลดน้อยลงตามความสูญเสียที่ลดลง
ที่สังคมพอรับได้
ลักษณะของการจัดการความขัดแย้ง มี 3 ลักษณะ
3. Conflict Transformation (Peace Building) การแปรเปลี่ยน
เป็นเป้าหมายสําคัญที่สุด
ต้องเข้าใจสาเหตุของความโกรธ ความขัดแย้ง และความรุนแรง
และไปแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ เพื่อให้เกิดสันติวัฒนธรรม
จากนั้นสันติวัฒนธรรมจะกระจายออกไปเอง เพื่อจะลดความโกรธ และความขัดแย้ง
ลักษณะของการจัดการความขัดแย้ง มี 3 ลักษณะ
32
นายอันโตนิอู กุแตเรซ
อดีตนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส
และประธาน European Union Council
บทบัญญัติในกฎบัตรสหประชาชาติ หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7 ปัญหา
ปญหาความขัดแยงภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการ
ประกอบกัน
• ความไมเปนธรรมในสังคม
• ความแตกตางทางเชื้อชาติ ศาสนา เผาพันธุ
• การบริหารการปกครองทองถิ่น
• กฎหมายของรัฐหรือองคกรบังคับใชกฎหมาย ออนแอ
• ภูมิรัฐศาสตรที่ไมเอื้ออํานวยใหอํานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา
ครอบคลุมพื้นที่อยางเต็มประสิทธิภาพ(กรณีศึกษาเช่น อาเจห์ ติมอร์ อินโดนีเชีย หรือความขัดแย้งใน
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย)
www.elifesara.com
•เมื่อได้ยินคําว่าสันติวิธี คนอาจรู้สึกว่าเป็นวิธีการที่ไม่คุ้นเคยหรือดูจะยากลําบากในการปฏิบัติ
•แต่เมื่อรู้ความหมายที่แท้จริงแล้ว จะทราบทันทีว่าเป็นวิธีการที่ไม่ว่าใครก็ปฏิบัติได้ด้วยความ
สันติที่ไม่ใช้ความรุนแรงใดๆ
•กระบวนการสันติวิธีจึงไม่จําเป็นต้องมาฝึกการใช้อาวุธ อาศัยแต่เพียงร่างกายเปล่าๆและ
จิตใจที่มุ่งมั่น ตั้งใจที่จะกระทํา เมื่อเป็นเช่นนี้ ใครๆก็เข้ามามีส่วนร่วมได้ แม้แต่เด็กเล็กและ
คนชรา หรือผู้ที่ไม่มีอํานาจใดๆ
สันติวิธี
www.elifesara.com
1.ให้ความเคารพทุกคนเท่ากัน :
ในสังคมไทยค่อนข้างหายาก เช่น คนจน ชาวเขา เนื่องจากเป็นสังคมที่เคยมีการแบ่งแยก
ฐานะด้วยกฎหมายมาช้านาน
เพราะเราไม่ให้ความเคารพคนอื่นเราจึงไม่รับฟังความคิดเห็นคนอื่นด้วย ส่งผล
ให้เกิดความขัดแย้งที่ไม่สามารถแก้ไขได้
สันติวัฒนธรรม (Culture of Peace) หัวใจของการจัดการความขัดแย้ง
2. การเอาใจเขามาใส่ใจเรา :
เป็นสิ่งที่ทําให้เราเข้าใจได้ว่าทําไมอีกฝ่ายถึงโกรธ ไม่พอใจ
เพราะถ้าไม่เข้าใจว่าเขาโกรธเพราะอะไร เราจะไม่สามารถแก้ไขความขัดแย้งได้
เช่น รัฐบาลที่คิดเอาเองเกี่ยวกับภาคใต้ แต่ไม่ลงไปสอบถามว่าจริง ๆ แล้วความต้องการของเขา
คืออะไรจนท้ายที่สุดปัญหาเลยจุดที่จะพูดกันได้ไปแล้ว
สันติวัฒนธรรม (Culture of Peace) หัวใจของการจัดการความขัดแย้ง
3. รู้จักการให้อภัย :
ทั้งสองฝ่ายจะต้องพยายามเข้าใจกัน ไม่ใช่ยึดว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิด
4. อยู่ร่วมกันอย่างสันติ :
คือการร่วมกันแก้ไขปัญหาด้วยการพูดคุยกันและใช้เหตุผลสาธารณะ ในสังคมต้องมี
เหตุผลร่วมกันเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ ปัญหาไม่สามารถแก้ไขได้ ถ้าเราไม่รู้จักเคารพผู้อื่น
สันติวัฒนธรรม (Culture of Peace) หัวใจของการจัดการความขัดแย้ง
- เกิดขึ้นได้หากเห็นคุณค่าของทุกคนเท่ากัน
- ไม่มองเขาต่างไปจากเรา
- ไม่มองคนอื่นมีฐานะตํ่ากว่าเรา เพราะถ้ามองแบบนั้น เราจะไม่ฟังความเห็นของเขา
สันติวัฒนธรรม มีโอกาสเกิดขึ้นในสังคมไทยได้หรือไม่?
•คนที่มีอํานาจน้อยไม่พอใจกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่อยากจะจัดการกับสถานการณ์ที่
เกิดขึ้น
•สันติวิธีคือ การไม่จับอาวุธขึ้นมาสู้ ต้องไม่สับสนระหว่างสันติวิธีในฐานะการจัดการความขัดแย้ง
ที่เป็นอยู่โดยสันตวิธี
•การเรียกร้องความเป็นธรรมโดยสันติวิธี เช่น การชุมนุมทั้งหลาย เป็นการจัดการความ
ขัดแย้งโดยสันติวิธีของคนที่มองว่ากําลังถูกกระทําอย่างไม่เป็นธรรม และสิ่งนี้คือสันติวิธีในบริบทของ
ประชาชนที่ต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรมโดยสันติวิธี
ลักษณะของการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
• การเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่คิดว่าไม่เป็นธรรม เช่น การชุมชน
ปิดการจราจร เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องความไม่เท่าเทียมในเรื่องอื่น
• Civil Disobedience การไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม มี 3 ระดับ ในแต่ละระดับ มีความหมาย
ต่างกัน ดังนี้
1. Civil Law กฎหมายแพ่ง ถ้าเป็นการกระทําที่ขัดต่อกฎหมายแพ่ง (ดื้อแพ่ง เป็นวิธีการแสดงออก
ของประชาสังคมต่อกฎหมายแพ่ง)
2. Civil ในแง่ของการเป็นคนมีวัฒนธรรม (ประท้วงแบบอารยะธรรม อารยะขัดขืน)
3. Civil ในฐานะประชาสังคม (Civilian)ราชการจะไม่ทําอย่างนี้ ไม่สามารถดื้อแพ่งตนเองได้
เนื่องจากในกรณีนี้เรากําลังประท้วงกฎหมายของรัฐ การทําผิดกฎหมายเพื่อความเป็นธรรม ไม่สามารถทํา
ได้ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยกเว้นเจ้าหน้าที่ทําในฐานะประชาชน
การไม่ทําตามกฎหมาย ถือเป็ นสันติวิธีหรือไม่
•เป็นสันติวิธีเพราะว่า เป็นการทําผิดเพื่อส่วนรวมและพร้อมที่จะรับโทษที่ตามมา เป้าหมายเพื่อ
คุณธรรมในการปกครอง
•เป็นการให้ความรู้แก่สังคมว่าสิ่งที่เป็นอยู่นั้นไม่เป็นธรรมจึงต้องออกมาชุมนุมประท้วง ไม่ใช่
เป็นการก่อกวนในทางลบ
•กฎหมายบางอย่างสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ด้วยการกดดันของประชาชน เช่น การเหยียด
เพศ การเหยียดเชื้อชาติ การเหยียดสีผิว ในบางประเทศ ที่เคยเป็นกฎหมายหลักของประเทศนั้น
ๆ รวมถึงปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทย
•การแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีโดยไม่ใช้ความรุนแรง ในสังคมไทยนั้นมีมากกว่าความรุนแรงทางกาย
เช่น ล้อเลียนในสิ่งที่อีกฝ่ายให้ความเคารพ ทําให้อีกฝ่ายรู้สึกเจ็บใจ ต้องให้เกียรติกันและกัน
การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
• สังคมประชาธิปไตยจะจัดการความขัดแย้งในสังคมตัวเอง และกับประเทศประชาธิปไตยอื่นโดยใช้สันติ
วิธีได้ดีกว่า
• ในสังคมศาสตร์ว่าประชาธิปไตยน่าเชื่อถือสูงสุด เนื่องจากประเทศที่เป็นประชาธิปไตยประชาชนมีอํานาจ
มีสิทธิที่จะออกเสียงเพื่อยับยั้งนโยบายของรัฐได้ เพราะไม่มีใครอยากให้เกิดการสูญเสียในครอบครัว
ตนเอง เช่น การทําสงครามระหว่างสหรัฐอเมริกาและเวียดนาม
• ภายในประเทศก็เช่นกันกลไกต่าง ๆ สันติวิธี เป็นกลไกของสังคมประชาธิปไตย เราเรียกร้องสังคม
ประชาธิปไตยเนื่องจากสันตวิธีและประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่จะต้องควบคู่กันไป
สันติวิธี กับ ประชาธิปไตย (The Democratic-Peace)
1. การประท้วงหรือชักจูง (Protest and Persuasion)
เป็นการแสดงเชิงสัญลักษณ์ส่วนใหญ่ เพื่อแสดงให้เห็นว่า เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
มีการชักจูงคู่ขัดแย้งหรือสาธารณชนให้มาสนใจหรือเห็นด้วยกับประเด็นของตน เช่น
การติดธงเขียวสนับสนุนร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540
การขึ้นเวทีปราศรัย
การจุดเทียนระลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ต่างๆ เป็นต้น
หลักการของสันติวิธี มี 3 วิธี
2. การไม่ให้ความร่วมมือ (Noncooperation)
คือการจงใจที่จะถอนหรือปฏิเสธที่จะให้ความร่วมมือกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดๆที่
ผู้ใช้สันติวิธีเห็นว่ามีความเกี่ยวข้องกับปัญหาความขัดแย้ง หรือเป็นต้นตอของความ
ขัดแย้ง
การไม่ให้ความร่วมมือนี้สามารถทําได้หลายทาง เช่น การนัดหยุดงาน การไม่ซื้อ
ไม่ขาย เป็นต้น
หลักการของสันติวิธี มี 3 วิธี(ต่อ)
• “ อหิงสา ” เป็นคําที่มาคู่กับมหาตมะ คานธี ขณะที่อารยะขัดขืนเกี่ยวข้องกับการละเมิดกฎหมาย และยอมแสดงความ
บริสุทธิ์ โดยพยายามแสดงให้เห็นว่ากฏหมายนี้ไม่เป็นธรรมเพื่อท้ายที่สุดจะนําไปสู่การแก้ไขกฏหมาย
• สันติวิธี คือการดําเนินการโดยไม่ใช้ความรุนแรงโดยเฉพาะความรุนแรงทางกายภาพวิธี
• “สันติวิธีไม่ใช่เรื่องที่เป็นความลับ แต่สามารถใช้วิธีการต่างๆที่พิศดารพันลึกในการจัดการกับปัญหาได้โดยไม่ใช้ความ
รุนแรง และนักสันติวิธีมีหน้าที่ดึงเอาความรู้เหล่านี้ขึ้นมาให้คนเห็น เป็นความรู้ที่สร้างขึ้นมาเพื่อวิพากษ์วิจารณ์ให้เกิด
ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวสังคมความรู้ในสันติวิธีไม่ได้มาจากความเพ้อฝัน แต่เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ผ่านการพิสูจน์
มาแล้วว่ามันทําได้”
จากหนังสือ Nonviolence สันติวิธี เส้นทางสู่สันติภาพ (ชัยวัฒน์ สถาอานันท์)
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกําจัดตัวบุคคล
ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ อย่านําสันติไปเป็นเครื่องมือในการใช้กําลังโดยอ้างเพื่อความมั่นคง
www.elifesara.com
พระราชดํารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า
“ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ
ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ
ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทําลายชาติของ
ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้กอบ
กู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอมเสียสละ
ส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจําใจอยู่เนืองนิจ จึงขอให้พี่น้อง
ชาวไทยทั้งหลาย จงบําเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทนและ
กล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลําบากยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพ
บุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจนบัดนี้”
“... ถ้าไม่สามัคคี ก็บอกแล้วว่าประเทศจะประสบความหายนะ ไม่ใช่คําหายนะแต่ก็คล้าย ๆ
กันว่า ถ้าไม่สามัคคีกัน ไม่ปรองดองกัน ประเทศชาติล้ม ถ้าล้มก็ผลของการล้มนั้นมี
หลายอย่าง ถ้าร่างกายก็ร่างกาย กระดูกหักและต้องเข้ารักษาที่รักษานาน ๆ ไม่มีสิ้นสุด
ถ้าไม่ระวังประเทศชาติก็ล่ม เมื่อล่มเราจะไปอยู่ที่ไหน คือล่ม ล่มก็หมายถึงว่าลงไป จม
ล่มจม ถ้าเราไม่ระวังประเทศชาติล่มจม...”
“พระกระแสรับสั่ง-พระราชดํารัส-พระบรมราโชวาท” ของพระองค์ท่าน เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม ในพระราชพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณและสวนสนาม จนมาถึงวันอังคารที่ 4 ธันวาคม
“... พูดถึงว่าเมืองไทย บ่นว่าเดือด ที่จริงไม่ได้เดือด แต่คนน่ะเดือด คนมันทําเดือด ทําให้คน
เดือดร้อน แล้วเวลาเดือดร้อนเนี่ยมันไม่สบาย นํ้าเดือดมีประโยชน์ต้มไข่ได้ แต่ว่าถ้าเดือดเฉย ๆ
ไม่มีประโยชน์ ทําให้คนเดือดร้อน นี่สิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็เมื่อคนทําให้เดือดร้อน ที่ว่า
สิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็บ่น บ่นว่าประเทศลุกเป็นไฟ ก็ต้องระวังไม่ให้ลุกเป็นไฟ เพราะว่าจะทํา
ให้ล่มจม ล่มจมนี้ที่ต่างประเทศเขาบอกว่า เมืองไทยจะล่ม จะจม ความจริงยังไม่ล่ม แล้วก็ไม่จม
แต่ถ้าไม่ระวังก็จะล่มจม ฉะนั้น ก็จะต้องระมัดระวัง ทุกวันนี้ไม่ปรองดองกัน เมื่อไม่ปรองดองก็มีรู
ก็จะล่ม จะล่มจมลงไป...”
พระราชดํารัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯวันอังคารที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
“...บ้านเมืองจะมี ความมั่นคงเป็นปรกติสุขอยู่ได้ ก็ด้วยนานาสถาบันอันเป็นหลักของประเทศ
และคนไทยทุกหมู่เหล่า มีความสมัครสมานปรองดองกันดี และรู้จักปฏิบัติหน้าที่ให้ประสาน
ส่งเสริมกัน ความพร้อมเพรียงของทุกฝ่ายทุกคน ที่มีความสํานึกแน่ชัดในหน้าที่ความรับผิดชอบ และ
ตั้งใจปฏิบัติตนปฏิบัติงานให้ดี ให้ประสานสอดคล้องกันนี้ จัดเป็นความสามัคคีอย่างหนึ่ง คือ
ความสามัคคีในชาติ ทุกคนในชาติจะได้ตั้งตนตั้งใจให้อยู่ในความสามัคคีดังกล่าว ประโยชน์
และความสุขจะบังเกิดขึ้น พร้อมทั้งแก่ส่วนตัว และส่วนรวม ประเทศชาติของเราจะสามารถ
รักษาความเป็นปรกติ มั่นคง พร้อมทั้งพัฒนาให้รุดหน้าไปได้ดังปรารถนา...”
(พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดํารัส คือ ในพิธีสวนสนามและการถวายสัตย์ปฏิญาณของกองทหารรักษาพระองค์ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2550)
ประสบการณ์ในอดีตจะเป็นคําตอบว่าจะเกิดอะไรในอนาคต
www.elifesara 52
•
ศึกษารูปแบบในการจัดการปัญหาที่ผ่านมาในอดีตของต่างประเทศและของไทย
ในหลวง ร.9 กับสันติวิธี
ผู้นําเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้นําเชิงสันติวิธีที่ประสบความสําเร็จทรงแก้ไขวิกฤติการณ์ด้วยสันติวิธี
ในกรอบของความชอบธรรม ตามครรลองของรัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตย
ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยที่เผชิญปัญหาวิกฤติของประเทศมาหลายครั้ง แต่ทรง
แก้ไขได้ทุกครั้ง ทั้งที่พระองค์ทรงไม่มีโอกาสศึกษา อบรม เตรียมตัว เพื่อเป็นพระประมุขของประเทศมา
ก่อน
เมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะวิกฤติไม่อาจอาศัยรัฐธรรมนูญได้ ต้องอาศัยพระปรีชาญาณของพระองค์โดยแท้ ซึ่ง
พระบรมราชวินิจฉัยก็เหมาะสมกับภาวการณ์และโอกาสเสมอมา
www.elifesara.com
ผู้นําเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
•ตัวอย่างการแก้ไขวิกฤตด้วยสันติวิธีของในหลวง
เมื่อคืนวันที่ 20 พฤษภาคม 2535 (พฤษภาทมิฬ) ทรงเรียกผู้นําสองขั้วที่นํามวลชนเข้าหํ้าหั่นถึง
ขั้นเจ็บตายคาราชดําเนิน เข้าเฝ้าฯ และขอให้ทั้งสองฝ่ายหยุดสู้ นายพลทั้งคู่กราบแทบฝ่าพระ
บาทยินยอมกระทําตามโดยไม่มีเงื่อนไข ความสงบคืนสู่แผ่นดินไทยอย่างเหลือเชื่อ
• คุณธรรมเด่นที่ใช้ : ความเป็นผู้ตื่น ความเมตตา ความยุติธรรม
www.elifesara.com
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคําถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
การตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมายการตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมายsukanya khakit
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารTaraya Srivilas
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติTaraya Srivilas
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 

Mais procurados (20)

Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
การตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมายการตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมาย
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
ข้อสอบ O net คณิตศาสตร์ (ประถม)
ข้อสอบ O net คณิตศาสตร์ (ประถม)ข้อสอบ O net คณิตศาสตร์ (ประถม)
ข้อสอบ O net คณิตศาสตร์ (ประถม)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 

Semelhante a การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก

สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...Klangpanya
 

Semelhante a การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก (7)

สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เ...
 

Mais de Taraya Srivilas

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 

Mais de Taraya Srivilas (20)

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อํานวยการสํานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com การบริหารความขัดแย้ง
  • 2.
  • 3.
  • 4. รู้เท่าทันสถานการณ์ รู้เท่าทันคน มีความเชื่อมั่นในตนเอง เสียงดัง ด่วนสรุป ใจร้อน ตัดสินใจไว ดุดัน กล้าได้กล้าเสีย ชอบเผชิญหน้า รบแหลกลาญ และต้องชนะเสมอ ชอบขู่ วิสัยทัศน์แคบ มอง แต่มุมตัวเอง ต้องการความเคารพ ไม่สนใจรอบข้าง กลัวการเสียหน้า ชอบเป็นผู้นํา รักและปกป้อง พวกพ้อง ทําได้ทุกอย่าง ชอบลงมือปฏิบัติ เปิดเผย ตรงไปตรงมา สไตล์ของการจัดการความขัดแย้งสไตล์กระทิง (ทิศเหนือ ธาตุไฟ ฐานกาย) ผลกระทบ เป็นคนที่ค่อนข้างเผด็จการ ชอบควบคุมผู้อื่นให้คิดอย่างที่ตนเองต้องการ ความขัดแย้งจะถูก ยกระดับ เพราะไม่ฟังใคร ถ้าไปเจอกับคนประเภทนี้ ให้โอกาสเขาพูด โดยที่เราเองก็ต้องมี จุดยืนที่มั่นคง อธิบายความเห็นของเราให้ชัดเป็นคนที่มุ่งมั่นเกินไปจึงทําให้ละเลย ในเรื่องของ สุขภาพจนล้มเจ็บอยู่บ่อยครั้ง • ปัญหาสุขภาพที่ควรระวัง ได้แก่ โรคเครียด และโรคความดัน และโรคกระเพาะอาหาร วิธีจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีที่เหมาะกับสังคมไทยจากสไตล์ต่าง ๆ ของแต่ละคน
  • 5. ใส่ใจความรู้สึกผู้อื่น ชอบความสามัคคีไม่ชอบความขัดแย้ง มีอารมณ์อ่อนไหวง่าย โอบอ้อมอารี เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย เห็นอกเห็นใจผู้อื่นเสมอ มีไหวพริบดี วางตัวดี พูดจาดี มีความรับผิดชอบ และไม่นิยมความรุนแรง สไตล์ของการจัดการความขัดแย้ง สไตล์หนู (ทิศใต้ธาตุนํ้า ฐานใจ ผู้หล่อเลี้ยง) คุณลักษณะ เป็นมิตร เป็นที่รักของทุกคน พูดเก่ง ประนีประนอม รอมชอมยอมทุก คน มองทุกอย่างไม่เป็นปัญหา ไม่ชอบการเผชิญหน้า ไม่มีจุดยืน ถนอมนํ้าใจ อะไรก็ได้ ขี้สงสาร ขี้เกรงใจ รักษาความสัมพันธ์ ไม่ปฏิเสธ ผลกระทบ ไม่มีจุดยืน เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ไม่มีอํานาจ เจอกับคนประเภทนี้ ต้องสื่อสาร อย่าเสนอทางออกเร็วไป ให้ยึดหลักความเป็นจริง เป็นคนเข้าใจยาก อารมณ์มักขึ้นอยู่กับความรู้สึกของตนเองมากกว่าเหตุผลเสมอ เป็นคนคิดมากมักเก็บทุกสิ่งทุกอย่างมาคิดอยู่ เรื่อยไปพอใจกับการอยู่ในโลกแห่งจินตนาการของตนเองมากกว่าการอยู่ในโลกของความเป็นจริง วิธีจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีที่เหมาะกับสังคมไทยจากสไตล์ต่าง ๆ ของแต่ละคน
  • 6. นิสัยมั่นคง มุ่งมั่นสูง เชื่อมั่นในตนเองสูง จิตใจเข้มแข็ง มีความรับผิดชอบ ชอบหลักการ ทฤษฎี ข้อมูล รายละเอียด ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ทําทุกอย่างตามขั้นตอน ดื้อถ้าไม่ชอบ ยึดติด รอบคอบ รักษา ผลประโยชน์ มีวินัย มีขั้นมีตอน ติดกรอบ ชอบสันโดษ รักความยุติธรรมเป็นอย่างยิ่ง กลัวความล้มเหลว ต้องการเวลาวิเคราะห์ มีเหตุผล ไม่ยืดหยุ่น เก็บความรู้สึกได้เป็นอย่างดีเป็นพวก วัตถุนิยม สไตล์ของการจัดการความขัดแย้ง สไตล์หมี(ทิศตะวันตก ธาตุดิน ฐานคิด) วิธีจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีที่เหมาะกับสังคมไทยจากสไตล์ต่าง ๆ ของแต่ละคน ผลกระทบ เครียด ไม่มีสุนทรียภาพ แข็งกระด้าง ไม่มีความสัมพันธ์กับผู้อื่น เป็นคนที่จะจดจําเรื่องราวความเจ็บปวด ต่างๆในอดีต จนยากที่จะลืมเลือนหรือให้อภัยกับคนที่เคยทําร้ายตนได้ ไม่มีเวลาในแบบที่ต้องการ มี ความลับเยอะเก็บความรู้สึกเก่งจนไม่สามารถ แสดงออกถึงความรู้สึกที่แท้จริงของตนเองได้ บางครั้งผู้ที่อยู่ ใกล้ชิดก็รู้สึกว่าชาวธาตุดินนั้นเป็นคนที่เข้าใจยาก และเข้าถึงได้ยากเจอคนประเภทนี้ อย่าทําให้ตกใจ ต้อง ค่อย ๆ พูด ค่อย ๆ รับรู้ คอยให้กําลังใจ อย่าทําให้รู้สึกเสียหน้า
  • 7. สไตล์ของการจัดการความขัดแย้ง สไตล์อินทรีย์ (ทิศตะวันออก ธาตุลม ฐานจินตนาการ ทุกอย่างเป็นไปได้ มีวิสัยทัศน์ มองภาพกว้าง ชอบจินตนาการ คิดนอกกรอบแบบสร้างสรรค์ ใจร้อน คิดเร็ว รายละเอียดไม่ชัดเจน เปลี่ยนจุดยืนตลอด พร้อมแลกเปลี่ยน ได้อย่างเสียอย่าง จอม Project ใช้เหตุผลและสติปัญญาเป็นสําคัญ มากกว่าอารมณ์เสมอ เป็นนักคิดและนักวางแผนที่ดี มีวาทศิลป์และมีคารมดี มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร เป็นคนที่มีอารมณ์ดี สนุกสนานร่าเริง มี ความเป็นผู้นํา เด็ดเดี่ยว ตัดสินใจเก่งและเร็วทันต่อเหตุการณ์ ผลกระทบ มุ่งมั่นในการประสบความสําเร็จมากเกินไปจึงทําให้บางครั้งก็เกิดความผิดหวังได้ เป็นคนนิยมใฝ่หาความรู้ เกินไปจึงทํา ให้กลายเป็นคนเฉื่อยชาและเชื่องช้า ขาดพลังในการดําเนินชีวิต การที่เป็นคนใช้ชีวิตอย่าง คุ้มค่าจนบางครั้งไม่ได้ใส่ใจในเรื่องสุขภาพเท่าที่ควร อีกฝ่ายคิดว่าคนประเภทนี้ไม่จริงใจ เนื่องจากเขาไม่ฟัง อยากแต่จะให้งานจบเร็ว ถ้าเจอคนประเภทนี้ต้องรวดเร็ว ทันคนประเภทนี้ เสนอทางเลือกต่าง ๆ ที่ต้องการ
  • 8. • บอกไม่ได้ว่าสไตล์ไหนดีกว่า สไตล์ไหน ขึ้นอยู่ว่าจะใช้สไตล์นั้นในเหตุการณ์อะไร • ในสังคมไทยอาจมีสไตล์อื่น ๆ อีกมากมายที่จะใช้จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี • ความสัมพันธ์ระหว่างคน ไม่สามารถยึดวิธีใดวิธีหนึ่งมาจัดการได้ เพราะอีกฝ่ายก็มีวิธีของเขาเช่นกัน • ต้องมองให้ออกว่าอีกฝ่ายเป็นแบบใด ไม่ยึดวิธีตายตัว ต้องยอมรับว่าคนต่างกัน ใช้วิธีในการแก้ไขความ ขัดแย้งที่ต่างกัน • ต้องปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ เพราะเป้าหมายสูงสุดคือการหาทางออกโดยไม่ใช้ความรุนแรง • อาจเป็นวิธีที่เราไม่ชอบและคิดว่าเป็นวิธีที่ถูกต้องโดยไม่เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์เพื่อให้ สถานการณ์ดีขึ้น สไตล์ของคน
  • 9. •เกิดขึ้นจากสาเหตุต่างๆได้ 3 ประการด้วยกัน คือ • การรับรู้(Perception)ที่ต่างกันย่อมขัดกัน • การมุ่งหวัง(Expectation)ที่ไม่เหมือนกัน ย่อมขัดกัน และ • เมื่อ อํานาจ (Power)ไม่เสมอกัน ก็ย่อมขัดแย้งกันได้ง่าย ความขัดแย้ง
  • 10. • ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้เป็นปกติ ถ้ามีความรุนแรงก็ถือว่าไม่ปกติ • ในสังคมไทย มีความขัดแย้งกันเรื่องรัฐธรรมนูญ ที่ต้องฉีกไปแล้ว 19 ฉบับ รัฐประหาร 24 ครั้ง สําเร็จ 13 ครั้ง กบฏ 11 ครั้ง และมีการปฏิวัติ 1 ครั้ง คือ ปฏิวัติสยาม เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 • ตั้งแต่ พ.ศ.2550 สังคมของไทยเกิดความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่คนจํานวนมากมีอารมณ์โกรธ และ ร่วมกับพรรคการเมืองใหญ่ • สังคมไทยอยู่ภายใต้ความเสี่ยง? รัฐอ่อนแอ ระบบราชการแตกแยก กลไกผ่อนเบาความขัดแย้งทึกอัน อ่อนกําลัง คงจะป้องกันการลั่นไก(TRIGGER)ได้ยาก ความรุนแรง
  • 11. (1) การขาดความยุติธรรมในสังคม (2) วัฒนธรรมและโครงสร้างอํานาจ เป็นสังคมแนวดิ่ง (3) กฎหมายและอํานาจรัฐ ไม่เอื้อให้ประชาชนมีเสรี (4) การพัฒนาสมัยใหม่ (5) การขาดความรู้และทักษะในการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี (6) วิธีคิด และการศึกษา มุ่งแต่จะแข่งขันเอาชนะกัน สาเหตุแห่งความรุนแรงในสังคมไทย
  • 12. •กฎมายมีไว้สําหรับให้มีความสงบสุขในบ้านเมือง มิใช่ว่ากฏหมายมีไว้สําหรับ บังคับประชาชน ถ้ามุ่งหมายที่จะบังคับประชาชน ก็กลายเป็นเผด็จการ กลายเป็นสิ่งที่บุคคลหมู่น้อยจะต้องบังคับบุคคลหมู่มาก •ในทางตรงกันข้าม กฏหมายมีไว้สําหรับให้บุคคลส่วนมากมีเสรีและอยู่ได้ด้วย ความสงบบางทีเราตั้งกฏหมายขึ้นมาก็ด้วยวิชาการซึ่งได้จากต่างประเทศ เพราะว่าวิชาการกฎหมายนี้ก็เป็นวิชาการที่กว้างขวาง พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖ www.elifesara.com
  • 13. 1. ทําให้เกิดความยุติธรรมในสังคม มีการจัดผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่อมลํ้า 2. ปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ด้วยอํานาจหรือความสัมพันธ์ทางดิ่ง ไปเป็นความสัมพันธ์ทางราบให้มากขึ้น เน้นความเป็น ชุมชน ความเป็นประชาชน 3. ปฏิรูปกฎหมายให้ส่งเสริมความเป็นธรรมในสังคมและการสร้างประชาสังคม หรือให้มีธรรมนูญในสังคมชุมชน 4. ปรับปรุงแนวทางการพัฒนาประเทศ จากการเน้นกําไรสูงสุดของปัจเจกบุคคล มาเป็นการอยู่ร่วมกันด้วยสันติระหว่าง มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมเป็นแนวทาง 5. สร้างความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี ควรส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยปฏิรูปการเรียนใหม่ ลดการเน้น ท่องจํา และการแข่งขัน ไปสู่การฝึกปฏิบัติในการทํางานและการอยู่ร่วมกัน 6. การแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี ตลอดจนมีการคิดใหม่แบบโยนิโสมนสิการเพื่อคลี่คลายการคิดแบบสําเร็จรูปตามตัวแยก ส่วน อันนําไปสู่ความรุนแรง การระงับเหตุแห่งความรุนแรงในสังคมไทย
  • 14. ภาครัฐจะพูดอยู่เสมอว่าทําถูกต้องตามขั้นตอน ตามกฎหมาย ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทําถูกต้อง ทุกหน่วยงานทําถูกต้อง แล้วทําไม วันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่ ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นําไปสู่ความยุติธรรมทางสังคม จริงหรือไม่ ความถูกต้องตามกฎหมาย สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความ ยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่ ทั้งที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนําไปสู่ความ ยุติธรรมและความมีคุณธรรมจริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือแปลกแยก ออกจากกัน “ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย” พระบรมราโชวาท www.elifesara.com
  • 15. •ข้อคิดสําหรับการตรากฎหมายและ การใช้กฎหมายต่อสําหรับผู้มีหน้าที่โดยตรง และสําหรับ ประชาชนผู้มีความสนใจอยากรู้ในเบื้องต้น •ปรัชญากฎหมายขององค์พระประมุขนั้นมีหลักการสําคัญที่สุดคือ “กฎหมายมิใช่ ตัวของความยุติธรรม แต่กฎหมายจะต้องมีเป้ าหมายเพื่อความ ยุติธรรม หรือเรียกว่า ความยุติธรรมจะต้องอยู่เหนือกฎหมายหรือเป็นใหญ่กว่า กฎหมาย” พระบรมราโชวาทฯใน“วันรพี”ของคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ ตําหนักจิตรลดารโหฐาน ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๖
  • 16. 1. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย 2. วิธีคิดแบบวิเคราะห์แยกแยะ 3. วิธีคิดแบบรู้เท่าทันสิ่งสรรพสิ่งทั้งปวง 4. วิธีคิดแก้ปัญหาแบบอริยสัจรู้สภาพปัญหา กําหนดเหตุของปัญหา การดับทุกข์และการปฏิบัติเพื่อกําจัดปัญหา 5. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรือคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย 6. วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก เป็นการมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง 7. วิธีคิดแบบคุณค่าแท้และคุณค่าเทียม เป็นวิธีคิดที่เกี่ยวข้องใกล้ชิดกับความต้องการ และการประเมินค่าของบุคคล 8. วิธีคิดบนพื้นฐานคุณธรรม เป็นวิธีคิดที่รู้จักนําเอาประสบการณ์ที่ผ่านพบมาคิดปรุงแต่งไปในทางที่ดีงาม 9. วิธีคิดแบบอยู่กับปัจจุบัน 10. วิธีคิดแบบการมองความจริงในทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง คิดแบบโยนิโสมนสิการ
  • 17. ป ั ญหา ในป ั จจุบัน •การใช้ความรุนแรงยังดํารงอยู่ •ขาดความเข้าใจและทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง •ขาดการวางรากฐานสันติวัฒนธรรมในเยาวชน •การดําเนินการแต่ละองค์กรยังต่างคนต่างทํา •ขาดการสนับสนุนนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม และงบประมาน •ขาดองค์กรผลักดันแผนงานและกระแสสันติวิธีให้เป็นกระแสหลัก
  • 18. รากเหง้าของป ั ญหา •ประวัติศาสตร์ การครอบครอง และการต้องการเป็นอิสระ •วัฒนธรรม จากสังคมที่ไม่ชอบการเผชิญหน้า สู่ความรุนแรง •ความเชื่อ ศาสนา และ ค่านิยม •ความไว้วางใจ จาก ผลประโยชน์ทับซ้อน สู่ ความไม่ไว้วางใจใครในทางสังคม •การศึกษา : การแข่งขันมากเกินไป และ การสร้างทีมงานน้อยเกินไป •การเมือง : จาก ประชาธิปไตยแบบตัวแทน สู่ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
  • 19. จากความขัดแย้งเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล ปี 2535 ความขัดแย้งเกี่ยวกับท่อก๊าซยาดานา ปี 2540 และความ ขัดแย้งเกี่ยวกับโรงไฟฟ้ าถ่านหินบ่อนอก ปี 2542 จะนะ และระยอง ปี 2520 จากตัวอย่างทั้งสามนี้เห็นได้ว่าช่วงแรก ๆ ของการเริ่มพยายามจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีได้ประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น 1. การพยายามของบางกลุ่มที่จะไม่เปลี่ยนและจะใช้วิธีเดิม ๆ ที่อิงกับอํานาจ การให้คุณให้โทษ 2. ไม่มีการสอบถามว่าไม่เห็นด้วยเนื่องจากอะไร ฝ่ายรัฐไม่เชื่อว่าสามารถเรียนรู้จากคนอื่นระดับชาวบ้านได้ 3. ทางการ รวมทั้งหน่วยงานทางวิชาการคิดว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เพราะขาดทักษะการจัดการบางอย่าง โดยคิดว่า เป็นความรู้สากลอย่างหนึ่ง จึงแก้ปัญหาโดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาสอน 4. การพูดคุยกันไม่ได้ดําเนินการด้วยความไว้ใจกัน แต่จะระแวงกันตลอดเวลา 5. ยังนิยมใช้เทคนิคการประชาสัมพันธ์ให้ฝ่ายตัวเองดูว่าชอบธรรม พร้อมกับข่มขู่อีกฝ่าย แทนที่จะพยายามหาทาง ออกร่วมกัน การจัดการความขัดแย้งของรัฐยังทําแบบเดิมๆ
  • 20. การใช้อํานาจ การใช้อํานาจและกําลังแก้ปัญหา จะนําไปสู่ความไม่พอใจและไม่ร่วมมือ เกิดต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองจะสูง การใช้อํานาจระงับเหตุการณ์วุ่นวาย ต้องมั่นใจว่าอํานาจที่ใช้นั้นถูกต้องตามกฎหมาย และเป็นอํานาจที่ตนเองมีอยู่จริง ผู้บริหารแบบ “ใช้อํานาจ” มักจะใช้วิธีแบบแพ้-ชนะ เพราะเชื่อว่า “เมื่อฉันมีอํานาจ ฉันต้องชนะ” ผู้บริหารที่ชอบใช้อํานาจจะมีเมื่อเข้ารับตําแหน่งใหม่ จะแสดงให้คนเห็นว่าตนเองมีอํานาจ เป็นการข่มขู่ให้ยอมรับ เมื่อ สถานการณ์ไม่แน่นอน จะแสดงอํานาจออกมาเพื่อให้คนเห็นว่าตัวเองยังมีอํานาจอยู่ www.elifesara.com
  • 21. 21 Peace in Thailand การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ • มิติเชิงการป้องกันความขัดแย้ง • มิติเชิงการแก้ไขความขัดแย้ง • มิติเชิงปรองดองการ ฟื้นคืนดี สู่สันติสุข www.elifesara.com
  • 22. การป ้ องกันความขัดแย้ง •การสื่อสารที่ดี (การพูด การฟัง การแสดงออกทางกาย) •สร้างการมีส่วนร่วม (การประชุมปรึกษาหารือ รับฟังความคิดเห็น) •สร้างความเป็นหุ้นส่วนในการทํางานร่วมกัน •การทําแผนที่ความขัดแย้ง (มีสิ่งใดบ้างที่ทําแล้วจะเกิดความขัดแย้ง จุดยืนที่ต่างกัน) •วัฎจักรของความขัดแย้ง •รู้สาเหตุความขัดแย้ง •เปิดให้มีพื้นที่ในการพูดคุยกัน (ตัดสินใจด้วยฉันทามติ)
  • 23. การตัดสินใจด้วยฉันทามติ •พยายามไม่ให้เกิดความบาดหมาง •สามารถนําคําตอบรวมเข้าด้วยกันเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่นําไปใช้การได้ •ทุกคนร่วมคิด ออกความคิดเห็น และถูกนํามาใช้ •ความเห็นต่างมิใช่เป็นอุปสรรค แต่เป็นประโยชน์ •คนไม่เห็นด้วย เมื่อเสร็จแล้วให้เวลาเป็นเครื่องทดสอบ •ให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นอย่างเพียงพอ เข้าใจความคิดระหว่างกัน ก่อนที่จะจบ/DM แม้จะใช้เวลานาน ทุกคนได้ร่วมตัดสินใจร่วมกัน
  • 24. ประโยชน์ ของการตัดสินใจร่วมกันด้วยกระบวนการฉันทามติ •ทุกคนสนับสนุนผลการตัดสินใจ และเป็นหุ้นส่วนความคิด •ให้คําตอบในการแก้ปัญหาที่คนส่วนใหญ่พึงพอใจ •มีการเอื้อเฟื้ อ เกื้อกูล ในการสื่อสารระหว่างกัน •เกิดการรับฟัง และทําความเข้าใจในประเด็นปัญหาจากทุกฝ่าย •นําไปสู่การปฏิบัติที่ยอมรับ และปฏิบัติได้ •หาคนเป็นผู้ Lead นํา และทําหน้าที่ Facilitator พร้อมทั้งมีกฎกติการ่วมกัน
  • 27. KPI ที่มาของความขัดแย้ง ต่างค่านิยม อุดมการณ์ วัฒนธรรมต่างกัน ความสัมพันธ์ไม่ดี ปัญหาข้อมูล ความจริงและข่าวสาร ผลประโยชน์ขัดกัน และความต้องการ ปัญหาจากโครงสร้าง อารมณ์ที่รุนแรง การรับรู้คลาดเคลื่อน สื่อสาร ไม่ดี ทัศนคติตายตัว พฤติกรรมเชิงลบ ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน ค่านิยมต่างกัน ประสบการณ์ต่างกัน พื้นฐานการศึกษาต่างกัน วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน การแย่งชิงอํานาจ ความไม่เท่าเทียมกัน ความไม่ยุติธรรม กฎหมาย การปกครอง ข้อมูลน้อย ผิดพลาด แปลข้อมูลไม่ตรงกัน ความแตกต่างในการเก็บและศึกษา การแย่งชิงผลประโยชน์ ทรัพย์สิน ทรัพยากร ความเท่าเทียมกัน วิธีการ
  • 29. 1. Conflict Resolution (Peacemaking) การแก้ปัญหาความขัดแย้ง เป็นการลดความขัดแย้งหรือความรุนแรงชั่วขณะ ใช้กับเรื่อง เช่น เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และการเจรจาเพื่อระงับปัญหาที่จะเกิดขึ้นเฉพาะหน้า เช่น - การเจรจาไกล่เกลี่ย (Negotiation)เพื่อหลีกเลี่ยงการหยุดงาน - การพูดคุยเพื่อสันติภาพ (Peace Talks)เช่น การหยุดยิงในพื้นที่เป็นเวลา 3 เดือน ลักษณะของการจัดการความขัดแย้ง มี 3 ลักษณะ
  • 30. 2. Conflict Management (Peace Keeping) รักษาให้เกิดความสงบ ไม่ได้เป็นการแก้ปัญหาแต่เป็นการจัดการความรุนแรงให้อยู่ในกรอบที่พอรับได้ ที่ไม่ไปกระทบกับ เรื่องอื่น ๆ มากเกินไป เช่นการจัดการความรุนแรงในจังหวัดชายแดนใต้ หรือต่างประเทศที่มีความรุนแรง ให้มีการสูญเสียที่น้อยลง เพราะเชื่อว่าความกดดันทางสังคมจะลดน้อยลงตามความสูญเสียที่ลดลง ที่สังคมพอรับได้ ลักษณะของการจัดการความขัดแย้ง มี 3 ลักษณะ
  • 31. 3. Conflict Transformation (Peace Building) การแปรเปลี่ยน เป็นเป้าหมายสําคัญที่สุด ต้องเข้าใจสาเหตุของความโกรธ ความขัดแย้ง และความรุนแรง และไปแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ เพื่อให้เกิดสันติวัฒนธรรม จากนั้นสันติวัฒนธรรมจะกระจายออกไปเอง เพื่อจะลดความโกรธ และความขัดแย้ง ลักษณะของการจัดการความขัดแย้ง มี 3 ลักษณะ
  • 33. บทบัญญัติในกฎบัตรสหประชาชาติ หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7 ปัญหา ปญหาความขัดแยงภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการ ประกอบกัน • ความไมเปนธรรมในสังคม • ความแตกตางทางเชื้อชาติ ศาสนา เผาพันธุ • การบริหารการปกครองทองถิ่น • กฎหมายของรัฐหรือองคกรบังคับใชกฎหมาย ออนแอ • ภูมิรัฐศาสตรที่ไมเอื้ออํานวยใหอํานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา ครอบคลุมพื้นที่อยางเต็มประสิทธิภาพ(กรณีศึกษาเช่น อาเจห์ ติมอร์ อินโดนีเชีย หรือความขัดแย้งใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย) www.elifesara.com
  • 34. •เมื่อได้ยินคําว่าสันติวิธี คนอาจรู้สึกว่าเป็นวิธีการที่ไม่คุ้นเคยหรือดูจะยากลําบากในการปฏิบัติ •แต่เมื่อรู้ความหมายที่แท้จริงแล้ว จะทราบทันทีว่าเป็นวิธีการที่ไม่ว่าใครก็ปฏิบัติได้ด้วยความ สันติที่ไม่ใช้ความรุนแรงใดๆ •กระบวนการสันติวิธีจึงไม่จําเป็นต้องมาฝึกการใช้อาวุธ อาศัยแต่เพียงร่างกายเปล่าๆและ จิตใจที่มุ่งมั่น ตั้งใจที่จะกระทํา เมื่อเป็นเช่นนี้ ใครๆก็เข้ามามีส่วนร่วมได้ แม้แต่เด็กเล็กและ คนชรา หรือผู้ที่ไม่มีอํานาจใดๆ สันติวิธี www.elifesara.com
  • 35. 1.ให้ความเคารพทุกคนเท่ากัน : ในสังคมไทยค่อนข้างหายาก เช่น คนจน ชาวเขา เนื่องจากเป็นสังคมที่เคยมีการแบ่งแยก ฐานะด้วยกฎหมายมาช้านาน เพราะเราไม่ให้ความเคารพคนอื่นเราจึงไม่รับฟังความคิดเห็นคนอื่นด้วย ส่งผล ให้เกิดความขัดแย้งที่ไม่สามารถแก้ไขได้ สันติวัฒนธรรม (Culture of Peace) หัวใจของการจัดการความขัดแย้ง
  • 36. 2. การเอาใจเขามาใส่ใจเรา : เป็นสิ่งที่ทําให้เราเข้าใจได้ว่าทําไมอีกฝ่ายถึงโกรธ ไม่พอใจ เพราะถ้าไม่เข้าใจว่าเขาโกรธเพราะอะไร เราจะไม่สามารถแก้ไขความขัดแย้งได้ เช่น รัฐบาลที่คิดเอาเองเกี่ยวกับภาคใต้ แต่ไม่ลงไปสอบถามว่าจริง ๆ แล้วความต้องการของเขา คืออะไรจนท้ายที่สุดปัญหาเลยจุดที่จะพูดกันได้ไปแล้ว สันติวัฒนธรรม (Culture of Peace) หัวใจของการจัดการความขัดแย้ง
  • 37. 3. รู้จักการให้อภัย : ทั้งสองฝ่ายจะต้องพยายามเข้าใจกัน ไม่ใช่ยึดว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิด 4. อยู่ร่วมกันอย่างสันติ : คือการร่วมกันแก้ไขปัญหาด้วยการพูดคุยกันและใช้เหตุผลสาธารณะ ในสังคมต้องมี เหตุผลร่วมกันเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ ปัญหาไม่สามารถแก้ไขได้ ถ้าเราไม่รู้จักเคารพผู้อื่น สันติวัฒนธรรม (Culture of Peace) หัวใจของการจัดการความขัดแย้ง
  • 38. - เกิดขึ้นได้หากเห็นคุณค่าของทุกคนเท่ากัน - ไม่มองเขาต่างไปจากเรา - ไม่มองคนอื่นมีฐานะตํ่ากว่าเรา เพราะถ้ามองแบบนั้น เราจะไม่ฟังความเห็นของเขา สันติวัฒนธรรม มีโอกาสเกิดขึ้นในสังคมไทยได้หรือไม่?
  • 39. •คนที่มีอํานาจน้อยไม่พอใจกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่อยากจะจัดการกับสถานการณ์ที่ เกิดขึ้น •สันติวิธีคือ การไม่จับอาวุธขึ้นมาสู้ ต้องไม่สับสนระหว่างสันติวิธีในฐานะการจัดการความขัดแย้ง ที่เป็นอยู่โดยสันตวิธี •การเรียกร้องความเป็นธรรมโดยสันติวิธี เช่น การชุมนุมทั้งหลาย เป็นการจัดการความ ขัดแย้งโดยสันติวิธีของคนที่มองว่ากําลังถูกกระทําอย่างไม่เป็นธรรม และสิ่งนี้คือสันติวิธีในบริบทของ ประชาชนที่ต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรมโดยสันติวิธี ลักษณะของการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
  • 40. • การเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่คิดว่าไม่เป็นธรรม เช่น การชุมชน ปิดการจราจร เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องความไม่เท่าเทียมในเรื่องอื่น • Civil Disobedience การไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม มี 3 ระดับ ในแต่ละระดับ มีความหมาย ต่างกัน ดังนี้ 1. Civil Law กฎหมายแพ่ง ถ้าเป็นการกระทําที่ขัดต่อกฎหมายแพ่ง (ดื้อแพ่ง เป็นวิธีการแสดงออก ของประชาสังคมต่อกฎหมายแพ่ง) 2. Civil ในแง่ของการเป็นคนมีวัฒนธรรม (ประท้วงแบบอารยะธรรม อารยะขัดขืน) 3. Civil ในฐานะประชาสังคม (Civilian)ราชการจะไม่ทําอย่างนี้ ไม่สามารถดื้อแพ่งตนเองได้ เนื่องจากในกรณีนี้เรากําลังประท้วงกฎหมายของรัฐ การทําผิดกฎหมายเพื่อความเป็นธรรม ไม่สามารถทํา ได้ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยกเว้นเจ้าหน้าที่ทําในฐานะประชาชน การไม่ทําตามกฎหมาย ถือเป็ นสันติวิธีหรือไม่
  • 41. •เป็นสันติวิธีเพราะว่า เป็นการทําผิดเพื่อส่วนรวมและพร้อมที่จะรับโทษที่ตามมา เป้าหมายเพื่อ คุณธรรมในการปกครอง •เป็นการให้ความรู้แก่สังคมว่าสิ่งที่เป็นอยู่นั้นไม่เป็นธรรมจึงต้องออกมาชุมนุมประท้วง ไม่ใช่ เป็นการก่อกวนในทางลบ •กฎหมายบางอย่างสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ด้วยการกดดันของประชาชน เช่น การเหยียด เพศ การเหยียดเชื้อชาติ การเหยียดสีผิว ในบางประเทศ ที่เคยเป็นกฎหมายหลักของประเทศนั้น ๆ รวมถึงปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทย •การแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีโดยไม่ใช้ความรุนแรง ในสังคมไทยนั้นมีมากกว่าความรุนแรงทางกาย เช่น ล้อเลียนในสิ่งที่อีกฝ่ายให้ความเคารพ ทําให้อีกฝ่ายรู้สึกเจ็บใจ ต้องให้เกียรติกันและกัน การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
  • 42. • สังคมประชาธิปไตยจะจัดการความขัดแย้งในสังคมตัวเอง และกับประเทศประชาธิปไตยอื่นโดยใช้สันติ วิธีได้ดีกว่า • ในสังคมศาสตร์ว่าประชาธิปไตยน่าเชื่อถือสูงสุด เนื่องจากประเทศที่เป็นประชาธิปไตยประชาชนมีอํานาจ มีสิทธิที่จะออกเสียงเพื่อยับยั้งนโยบายของรัฐได้ เพราะไม่มีใครอยากให้เกิดการสูญเสียในครอบครัว ตนเอง เช่น การทําสงครามระหว่างสหรัฐอเมริกาและเวียดนาม • ภายในประเทศก็เช่นกันกลไกต่าง ๆ สันติวิธี เป็นกลไกของสังคมประชาธิปไตย เราเรียกร้องสังคม ประชาธิปไตยเนื่องจากสันตวิธีและประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่จะต้องควบคู่กันไป สันติวิธี กับ ประชาธิปไตย (The Democratic-Peace)
  • 43. 1. การประท้วงหรือชักจูง (Protest and Persuasion) เป็นการแสดงเชิงสัญลักษณ์ส่วนใหญ่ เพื่อแสดงให้เห็นว่า เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย มีการชักจูงคู่ขัดแย้งหรือสาธารณชนให้มาสนใจหรือเห็นด้วยกับประเด็นของตน เช่น การติดธงเขียวสนับสนุนร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 การขึ้นเวทีปราศรัย การจุดเทียนระลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ต่างๆ เป็นต้น หลักการของสันติวิธี มี 3 วิธี
  • 44. 2. การไม่ให้ความร่วมมือ (Noncooperation) คือการจงใจที่จะถอนหรือปฏิเสธที่จะให้ความร่วมมือกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดๆที่ ผู้ใช้สันติวิธีเห็นว่ามีความเกี่ยวข้องกับปัญหาความขัดแย้ง หรือเป็นต้นตอของความ ขัดแย้ง การไม่ให้ความร่วมมือนี้สามารถทําได้หลายทาง เช่น การนัดหยุดงาน การไม่ซื้อ ไม่ขาย เป็นต้น หลักการของสันติวิธี มี 3 วิธี(ต่อ)
  • 45. • “ อหิงสา ” เป็นคําที่มาคู่กับมหาตมะ คานธี ขณะที่อารยะขัดขืนเกี่ยวข้องกับการละเมิดกฎหมาย และยอมแสดงความ บริสุทธิ์ โดยพยายามแสดงให้เห็นว่ากฏหมายนี้ไม่เป็นธรรมเพื่อท้ายที่สุดจะนําไปสู่การแก้ไขกฏหมาย • สันติวิธี คือการดําเนินการโดยไม่ใช้ความรุนแรงโดยเฉพาะความรุนแรงทางกายภาพวิธี • “สันติวิธีไม่ใช่เรื่องที่เป็นความลับ แต่สามารถใช้วิธีการต่างๆที่พิศดารพันลึกในการจัดการกับปัญหาได้โดยไม่ใช้ความ รุนแรง และนักสันติวิธีมีหน้าที่ดึงเอาความรู้เหล่านี้ขึ้นมาให้คนเห็น เป็นความรู้ที่สร้างขึ้นมาเพื่อวิพากษ์วิจารณ์ให้เกิด ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวสังคมความรู้ในสันติวิธีไม่ได้มาจากความเพ้อฝัน แต่เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ผ่านการพิสูจน์ มาแล้วว่ามันทําได้” จากหนังสือ Nonviolence สันติวิธี เส้นทางสู่สันติภาพ (ชัยวัฒน์ สถาอานันท์)
  • 46. สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกําจัดตัวบุคคล ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ “สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต) ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ อย่านําสันติไปเป็นเครื่องมือในการใช้กําลังโดยอ้างเพื่อความมั่นคง www.elifesara.com
  • 47.
  • 48. พระราชดํารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า “ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทําลายชาติของ ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้กอบ กู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอมเสียสละ ส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจําใจอยู่เนืองนิจ จึงขอให้พี่น้อง ชาวไทยทั้งหลาย จงบําเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทนและ กล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลําบากยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพ บุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจนบัดนี้”
  • 49. “... ถ้าไม่สามัคคี ก็บอกแล้วว่าประเทศจะประสบความหายนะ ไม่ใช่คําหายนะแต่ก็คล้าย ๆ กันว่า ถ้าไม่สามัคคีกัน ไม่ปรองดองกัน ประเทศชาติล้ม ถ้าล้มก็ผลของการล้มนั้นมี หลายอย่าง ถ้าร่างกายก็ร่างกาย กระดูกหักและต้องเข้ารักษาที่รักษานาน ๆ ไม่มีสิ้นสุด ถ้าไม่ระวังประเทศชาติก็ล่ม เมื่อล่มเราจะไปอยู่ที่ไหน คือล่ม ล่มก็หมายถึงว่าลงไป จม ล่มจม ถ้าเราไม่ระวังประเทศชาติล่มจม...” “พระกระแสรับสั่ง-พระราชดํารัส-พระบรมราโชวาท” ของพระองค์ท่าน เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม ในพระราชพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณและสวนสนาม จนมาถึงวันอังคารที่ 4 ธันวาคม
  • 50. “... พูดถึงว่าเมืองไทย บ่นว่าเดือด ที่จริงไม่ได้เดือด แต่คนน่ะเดือด คนมันทําเดือด ทําให้คน เดือดร้อน แล้วเวลาเดือดร้อนเนี่ยมันไม่สบาย นํ้าเดือดมีประโยชน์ต้มไข่ได้ แต่ว่าถ้าเดือดเฉย ๆ ไม่มีประโยชน์ ทําให้คนเดือดร้อน นี่สิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็เมื่อคนทําให้เดือดร้อน ที่ว่า สิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็บ่น บ่นว่าประเทศลุกเป็นไฟ ก็ต้องระวังไม่ให้ลุกเป็นไฟ เพราะว่าจะทํา ให้ล่มจม ล่มจมนี้ที่ต่างประเทศเขาบอกว่า เมืองไทยจะล่ม จะจม ความจริงยังไม่ล่ม แล้วก็ไม่จม แต่ถ้าไม่ระวังก็จะล่มจม ฉะนั้น ก็จะต้องระมัดระวัง ทุกวันนี้ไม่ปรองดองกัน เมื่อไม่ปรองดองก็มีรู ก็จะล่ม จะล่มจมลงไป...” พระราชดํารัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯวันอังคารที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
  • 51. “...บ้านเมืองจะมี ความมั่นคงเป็นปรกติสุขอยู่ได้ ก็ด้วยนานาสถาบันอันเป็นหลักของประเทศ และคนไทยทุกหมู่เหล่า มีความสมัครสมานปรองดองกันดี และรู้จักปฏิบัติหน้าที่ให้ประสาน ส่งเสริมกัน ความพร้อมเพรียงของทุกฝ่ายทุกคน ที่มีความสํานึกแน่ชัดในหน้าที่ความรับผิดชอบ และ ตั้งใจปฏิบัติตนปฏิบัติงานให้ดี ให้ประสานสอดคล้องกันนี้ จัดเป็นความสามัคคีอย่างหนึ่ง คือ ความสามัคคีในชาติ ทุกคนในชาติจะได้ตั้งตนตั้งใจให้อยู่ในความสามัคคีดังกล่าว ประโยชน์ และความสุขจะบังเกิดขึ้น พร้อมทั้งแก่ส่วนตัว และส่วนรวม ประเทศชาติของเราจะสามารถ รักษาความเป็นปรกติ มั่นคง พร้อมทั้งพัฒนาให้รุดหน้าไปได้ดังปรารถนา...” (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดํารัส คือ ในพิธีสวนสนามและการถวายสัตย์ปฏิญาณของกองทหารรักษาพระองค์ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2550)
  • 54. ผู้นําเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้นําเชิงสันติวิธีที่ประสบความสําเร็จทรงแก้ไขวิกฤติการณ์ด้วยสันติวิธี ในกรอบของความชอบธรรม ตามครรลองของรัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตย ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยที่เผชิญปัญหาวิกฤติของประเทศมาหลายครั้ง แต่ทรง แก้ไขได้ทุกครั้ง ทั้งที่พระองค์ทรงไม่มีโอกาสศึกษา อบรม เตรียมตัว เพื่อเป็นพระประมุขของประเทศมา ก่อน เมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะวิกฤติไม่อาจอาศัยรัฐธรรมนูญได้ ต้องอาศัยพระปรีชาญาณของพระองค์โดยแท้ ซึ่ง พระบรมราชวินิจฉัยก็เหมาะสมกับภาวการณ์และโอกาสเสมอมา www.elifesara.com
  • 55. ผู้นําเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว •ตัวอย่างการแก้ไขวิกฤตด้วยสันติวิธีของในหลวง เมื่อคืนวันที่ 20 พฤษภาคม 2535 (พฤษภาทมิฬ) ทรงเรียกผู้นําสองขั้วที่นํามวลชนเข้าหํ้าหั่นถึง ขั้นเจ็บตายคาราชดําเนิน เข้าเฝ้าฯ และขอให้ทั้งสองฝ่ายหยุดสู้ นายพลทั้งคู่กราบแทบฝ่าพระ บาทยินยอมกระทําตามโดยไม่มีเงื่อนไข ความสงบคืนสู่แผ่นดินไทยอย่างเหลือเชื่อ • คุณธรรมเด่นที่ใช้ : ความเป็นผู้ตื่น ความเมตตา ความยุติธรรม www.elifesara.com