SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 122
Baixar para ler offline
จริยธรรมทางการแพทย์
(Medical Ethics)
กับธรรมาภิบาล
นาเสนอโดย
พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธี และธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
หัวข้อนาเสนอ
 จริยธรรมมีความสาคัญอย่างไร
 จรรยาบรรณ และจริยธรรม คืออะไร
 ความหมายของจริยธรรมทางการแพทย์
 จริยธรรมทางการแพทย์ในจีน
 จริยธรรมทางการแพทย์ในประเทศตะวันตก
 จริยธรรมทางการแพทย์ในไทย
 สรุปหลักสาคัญของจริยธรรมทางการแพทย์
ธรรมาภิบาล
หลักความ
รับผิดชอบ
หลักความ
คุ้มค่า
หลักนิติธรรม
หลักการมี
ส่วนร่วม
หลักคุณธรรม
หลักความ
โปร่งใส
กฎหมาย ระเบียบ ประมวลจริยธรรม
การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ วัฒนธรรม
ความรับผิดชอบ ตอบสนองต่อความต้องการ
มีความโปร่งใส สร้างการมีส่วนร่วม
โครงสร้างและวิธีการ
ความสมดุลและเป็นธรรม ความ
สุจริต ความมีประสิทธิภาพ/ผล
สภาพแวดล้อม
เป้าหมาย
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
 จริยธรรมเป็นมาตรฐานของการปฏิบัติ (หรือบรรทัดฐานของสังคม) ที่กาหนดพฤติกรรม
 พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมาย “จริยศาสตร์” เป็นปรัชญา
สาขาหนึ่งว่าด้วยความประพฤติ และการครองชีวิต ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไร
ผิด หรืออะไรควร อะไรไม่ควร
 “จริยธรรม” ผู้รู้อธิบายแตกต่างกันออกไปตามสาขาวิชา สรุปคือ กฎเกณฑ์ความ
ประพฤติของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นจากธรรมชาติของมนุษย์เอง ความเป็นผู้มีปัญญา และ
เหตุผลหรือปรีชาญาณ ทาให้มนุษย์มีมโนธรรม และรู้จักไตร่ตรอง แยกแยะ ความดี
กับความชั่ว ถูกกับผิด ควรกับไม่ควร เป็นการควบคุมตัวเอง และเป็นการควบคุม
กันเองในกลุ่ม หรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุ่ม
 มาตรฐานของการปฏิบัติไม่ได้อธิบายพฤติกรรมจริงๆของ
เรา เนื่องจากคนมักจะละเมิดมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับกัน
อย่างแพร่หลาย
 เช่น คนส่วนใหญ่ยอมรับความคิดที่ว่า คนควรจะบอกความจริง แต่ก็
ยังคงมีอีกหลายคนยังโกหกอยู่ เราจึงมีความเห็นว่าความซื่อสัตย์สุจริต
เป็นมาตรฐานของการปฏิบัติ ปกป้องความซื่อสัตย์สุจริตในที่
สาธารณะ โดยการสอนเด็กนักเรียนของเราให้ซื่อสัตย์ และแสดง
ความไม่พอใจหรือรังเกียจการโกหก หลอกลวง
ศาสตร์หรือกฎ ของการปฏิบัติหน้าที่ของมนุษย์
 ศีลธรรมคือหน้าที่ของมนุษย์ "เพื่อต่อสู้กับผลกระทบที่อันตรายจาก
ความเห็นอกเห็นใจมนุษย์" (Beauchamp)
 จุดมุ่งหมายของศีลธรรมคือ "การมีส่วนที่ดีขึ้น หรืออย่างน้อยไม่แย่ลง
ในสถานการณ์ของมนุษย์" (Warnock)
 จริยธรรมมีจุดมุ่งหมาย “ในการค้นพบคุณสมบัติอื่น ๆ ที่เป็นของส่วน
หนึ่งของสิ่งที่ดี" (Moore)
คุณธรรม ศีลธรรม (Morality) คืออะไร
ข้อปฏิบัติทางจริยธรรม
(Code of Ethical conduct)
 ข้อปฏิบัติทางจริยธรรมเป็นเครื่องมือที่จะช่วยสร้าง และ
รักษาวัฒนธรรมของความซื่อสัตย์ อีกทั้งเป็นกฎที่ตั้ง
ขึ้นมาอย่างชัดเจน และรัดกุม เพื่อให้บุคลากรรู้ และ
เข้าใจถึงกรอบของพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังในที่ทางาน
ทาไมข้อปฏิบัติทางจริยธรรม
(Code of Ethical conduct) จึงสาคัญ ?
 จะช่วยให้บุคลากรในโรงพยาบาลทุกคนเป็นหนึ่งเดียวกัน โดย
การกาหนดความคาดหวังที่ทุกคนสามารถปฏิบัติตามโดยใช้
มาตรฐานทางพฤติกรรมเดียวกัน
 ช่วยในการสร้างความน่าเชื่อถือ และสร้างสภาพแวดล้อมในที่
ทางานให้ปลอดภัยและมีสุขภาพดี คนให้ความเคารพนับถือ
และยอมรับกัน เป็นสมาชิกในทีมที่เท่าเทียมกันในการส่งมอบ
การดูแลรักษา
จริยธรรมมีความสาคัญอย่างไร (1)
 การเพิ่มขึ้นของความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลและสถาบันทาง
การแพทย์ ระหว่างสถาบันทางการแพทย์และบุคลากร
ทางการแพทย์ ระหว่างแพทย์และผู้ป่วยที่มีมากขึ้น รุนแรง
มากขึ้น และมีความซับซ้อนมากขึ้น
การเพิ่มขึ้นของเทคโนโลยีสมัยใหม่ไม่เพียงแต่นามาซึ่งการ
พัฒนาในการรักษา แต่ยังได้สร้างภาระหนักทางเศรษฐกิจด้วย
(ประเด็นเรื่องการใช้งานที่เหมาะสม)
จริยธรรมมีความสาคัญอย่างไร (2)
หลักเกณฑ์ทางจริยธรรมใหม่ๆ และที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
จะต้องพัฒนาเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของการพัฒนา
สังคมและบริการทางการแพทย์
หลักเกณฑ์ใหม่ๆ นี้ได้รวมจริยธรรมทางการแพทย์แบบดั้งเดิม
กับหลักการสมัยใหม่และค่านิยมหรือความพอใจต่างๆ เข้า
ด้วยกัน
จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรม
แห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2526
จริยธรรมตามหลักสากล
ประมวลจริยธรรม(ผู้ตรวจการแผ่นดิน)
จรรยาข้าราชการ
จริยธรรมสังคม( ศาสนา ประเพณี วิถีชุมชน )
จริยธรรมในอาเซี่ยน
ความหมายของ “จริยธรรมทางการแพทย์”
จริยธรรมทางการแพทย์ เป็นส่วนหนึ่งของจริยศาสตร์ประยุกต์ ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของวิชาจริยศาสตร์ในวิชาปรัชญา วิชานี้นาเสนอวิธี
ปฏิบัติบนพื้นฐานหลักจริยธรรมว่าแพทย์และพยาบาลควรปฏิบัติต่อ
คนไข้อย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม แต่ละประเทศก็จะมีองค์
ความรู้ในสาขานี้แตกต่างกันบ้าง เหมือนกันบ้าง
 จริยธรรมทางการแพทย์ คือ ระบบของคุณธรรมจริยธรรมที่ใช้
ประเมินค่าและตัดสินการปฏิบัติของแพทย์
ความหมายของ “จริยธรรมทางการแพทย์”
จริยธรรมทางการแพทย์ เป็นส่วนหนึ่งของจริยศาสตร์ประยุกต์
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาจริยศาสตร์ในวิชาปรัชญา วิชานี้
นาเสนอวิธีปฏิบัติบนพื้นฐานหลักจริยธรรมว่าแพทย์และ
พยาบาลควรปฏิบัติต่อคนไข้อย่างไรจึงจะถูกต้องและ
เหมาะสม แต่ละประเทศก็จะมีองค์ความรู้ในสาขานี้แตกต่างกัน
บ้าง เหมือนกันบ้าง
 จริยธรรมทางการแพทย์ คือ ระบบของคุณธรรมจริยธรรมที่ใช้
ประเมินค่าและตัดสินการปฏิบัติของแพทย์
องค์ประกอบของจริยธรรมทางการแพทย์
 ความสัมพันธ์ของแพทย์กับคนไข้
 ความสัมพันธ์ของแพทย์กับแพทย์ด้วยกันเอง
 ความสัมพันธ์ของแพทย์กับระบบสุขภาพ
 ความสัมพันธ์ของแพทย์กับสังคม
“วิทยาศาสตร์ไม่สามารถแก้ป๎ญหาความขัดแย้งทาง
ศีลธรรม แต่สามารถช่วยให้มีกรอบที่แม่นยามากขึ้นในการ
อภิปรายเกี่ยวกับความขัดแย้งนั้น”
Heinz Pagels
หลักจริยธรรมทางการแพทย์ของนานาประเทศ 7 ประการ
1. หลักเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence)
2. หลักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย (Non-malfeasance)
3. หลักเคารพการตัดสินใจของผู้ป่วย (Autonomy)
4. หลักความเป็นธรรม/ยุติธรรมกับคนไข้ (Justice)
5. หลักการรักษาความลับของผู้ป่วย (Confidentiality)
6. หลักความซื่อสัตย์ (Fidelity) และ หลักซื่อตรงต่อคนไข้ (Truthfulness)
7. หลักรักษาศักดิ์ศรีคนไข้ (Dignity): จะทําอะไร ต้องไม่ให้คนไข้เสียศักดิ์ศรี
ของความเป็นคน
การศึกษาทางด้านจริยธรรมทางการแพทย์ใน
ต่างประเทศ
การพัฒนาของหลักเกณฑ์และแนวทางทางจริยธรรม
การส่งเสริมการปฏิบัติทางจริยธรรม
การป้องกันการละเมิดทางจริยธรรม
การรับรู้ของประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
การแก้ป๎ญหาของความขัดแย้งทางจริยธรรม
จริยธรรมทางการแพทย์ในจีน
 จริยธรรมทางการแพทย์แบบดั่งเดิมของจีนเน้นที่เรื่องคุณธรรม
และจริยธรรมมากกว่าความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
 มองคนไข้เหมือนเด็ก โดยเชื่อมโยงกับภาพของอุดมคติของ
ผู้ปกครอง ที่มีจิตใจดี มีเมตตา อาจจะคล้ายกับแนวความคิด
ของการปกครอง หรือการคุ้มครองในวัฒนธรรมของตะวันตก
จริยธรรมทางการแพทย์จีนใน ลัทธิขงจื๊อ (Confucianism)
 จริยธรรมและปรัชญาจีน พัฒนามาจากการสอนของขงจื๊อ(551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.)
 ลัทธิขงจื้อทําให้เกิดเป็นค่านิยมหลักของวัฒนธรรมจีน
 แพทย์ศาสตร์ เป็นศิลปะของการมีมนุษยธรรม ที่จะเน้นการดูแลเกี่ยวกับผู้ป่วยและ
การปลูกคุณความดีด้วยตนเองของแพทย์
 ขงจื๊อนั้นถือว่า ความเมตตาเป็นที่มาหรือเป็นพื้นฐานของคุณธรรมทั้งปวง เน้นให้
มนุษย์สร้างชีวิตที่ดีงามตั้งแต่แรกเกิด
 ชาวจีนยึดมั่นในหลักมนุษยธรรม ให้มีความเมตตากรุณาต่อทุกชีวิต และปลูกฝ๎งให้
เด็ก ๆ รักในความเป็นธรรม เห็นอกเห็นใจ พร้อมทั้งเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อมนุษย์ เมื่อ
เด็กฝ๎งใจในคุณธรรมแล้ว เด็กผู้นั้นก็จะมีชีวิตที่ดีงามตลอดไป
หลักคาสอนของขงจื๊อที่สาคัญ ๆ มีดังนี้
1. เมตตา (ยิ้ง)
2. ทาตัวให้เป็นตัวอย่าง (สิ่งที่ตนไม่ชอบ ก็อย่าหยิบให้ผู้อื่น)
3. กตัญํูกตเวที (เจ้ากับบ่าว พ่อกับลูก รู้ศักดิ์ศรี รู้หน้าที่)
4. ส่งเสริมการศึกษา (ไม่เกี่ยงคนรวยหรือคนจน)
5. เรียกร้องคุณธรรมในการปกครอง และอารยธรรมในวงสังคม
“แพทย์ที่ดีไม่ควรใส่ใจกับสถานะ ความมั่งคั่ง หรืออายุ หรือไม่
ควรคิดว่าบุคคลนั้นเป็นที่น่าสนใจหรือไม่สวย ไม่ว่าเขาจะเป็น
ศัตรูหรือเพื่อน หรือเป็นคนจีนหรือชาวต่างชาติ หรือท้ายที่สุด
เขาเป็นคนไม่มีการศึกษาหรือมีการศึกษา เขาควรจะพบเจอ
ทุกๆ คนในพื้นที่เท่ากัน และเขาควรปฏิบัติกับทุกๆคนราวกับ
ว่าเขาเป็นญาติที่ใกล้ชิดของเขา”
Sun Simiao
เป็นนักคิดทางการแพทย์, นักปรัชญา, แพทย์รักษาชีวิต
มีชื่อเสียงทางแพทย์แผนจีน และได้รับขนานนามว่า
“China's King of Medicine”
จริยธรรมทางการแพทย์ในประเทศตะวันตก
ฮิปพอคราทีส (Hippocrates) เกิดประมาณ 460 ปีก่อนคริสตกาล
เป็นชาวกรีก ได้ขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งการแพทย์ตะวันตก”
 คาสัตย์สาบานฮิปพอคราทีส (Hippocratic Oath) - เป็นหลักเกณฑ์
ของจริยธรรมทางการแพทย์ที่เก่าแก่ที่สุด 4th Century BC
แพทย์ยุโรปสมัยก่อนต้องกล่าวคําปฏิญาณของฮิปโปเครติสก่อนที่จะเริ่ม
ประกอบวิชาชีพเสมอและป๎จจุบันได้นําคําปฏิญาณตนนี้ เป็นแนวทางใน
การกําหนดข้อบังคับทางจริยธรรมในวิชาชีพแพทย์ทั่วโลก
สาระสาคัญของคาปฏิญาณของฮิปโปคราตีส (The Hippocratic Oath)
1. ให้ความเคารพแก่ครูอาจารย์และแสดงออกถึงความกตัญํู โดยการดูแล
ทุกข์สุขของตัวอาจารย์และครอบครัว
2. ดารงรักษาไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ของวิชาชีพและแนวทางการดาเนินชีวิต
3. ไม่มีทิฐิในการรักษาผู้ป่วย กรณีใดที่ตนขาดความรู้ ความชานาญ ก็ไม่ลังเล
ที่จะเชิญผู้รู้และชานาญกว่ามาดูแลรักษาแทน แพทย์ไม่พึงให้ร้ายและ
ทะเลาะวิวาทกันเองอันเป็นการเสื่อมเสียเกียรติ
4. ไม่ทาแท้งให้แก่สตรีใดๆ
5. ไม่กระทาในสิ่งที่เป็นผลร้ายต่อผู้ป่วย แม้ว่าจะได้รับการขอร้อง รวมถึงไม่
แนะนาในสิ่งที่ผิด
6. การรักษาความลับของผู้ป่วยไม่แพร่งพรายเรื่องราวของผู้ป่วยให้แก่ผู้อื่น
7. การสารวมระมัดระวังที่จะไม่ประพฤติผิดทางเพศ
“..ข้าสาบานต่อทวยเทพว่า ข้าจะเคารพครูผู้ประสาทวิชาเยี่ยงพ่อแม่ มีอะไรก็
จะแบ่งให้ครูกินและใช้ จะใส่ใจสอนลูกหลานของครูเหมือนพี่น้องของข้าเอง
จะทาการรักษาเพื่อประโยชน์ต่อคนไข้ ให้ดีที่สุดเท่าที่ความสามารถและ
ดุลพินิจของข้าจะทาได้ จะไม่ทาอะไรให้เกิดผลร้ายแก่คนไข้ จะไม่ให้ยาเบือ
หรือทาให้ใครตายแม้ว่าเขาจะร้องขอ จะไม่เอาอะไรสอดให้ผู้หญิงเพื่อทาแท้ง
และไม่สอนให้ใครทาด้วย จะดารงชีพและประกอบวิชาชีพอย่างซื่อตรง อะไรที่
ตัวเองทาไม่เป็นจะไม่ทา แต่จะละไว้ให้คนที่เขาเชี่ยวชาญกว่าทา จะเข้าบ้าน
คนไข้ก็เพื่อประโยชน์ของคนไข้เท่านั้น จะห้ามใจไม่ให้ไขว้เขวหรือยอมตามสิ่ง
ยั่วยวนและจะไม่หาความเพลิดเพลินทาง กามากับคนไข้ ไม่ว่าหญิงหรือชาย
เสรีชนหรือทาส จะรักษาความลับของคนไข้ ถ้าข้าทาตามนี้ได้ก็ขอให้ข้าเจริญ
ถ้าข้าทาตรงกันข้ามก็ขอให้ข้าฉิบหาย... เพี้ยง”
ฮิปโปคราตีสกล่าวถึงจิตสานึกของแพทย์และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ ดังนี้
“ ผู้ที่เป็นแพทย์ต้องประกอบด้วยคุณลักษณะของความไม่มี
อคติแบ่งแยก เป็นผู้มีศีลธรรม มีความสุภาพอ่อนโยน แต่ง
กายเหมาะสม มีวิธีการคิดด้วยเหตุด้วยผลอย่างเป็นระบบ มี
การตัดสินใจที่ดี บุคลิกภาพสงบน่าเชื่อถือ มีความประพฤติที่
ดีงาม มีสติป๎ญญาสามารถแยกแยะความดีและความชั่วสิ่งที่
จําเป็นสําหรับชีวิต เป็นผู้มีความดีโดยที่มนุษย์ทั่วไปพึงมี
แพทย์พึงตระหนักในจิตสานึกและพัฒนาตนเอง ส่วนคุณลักษณะที่แพทย์ไม่พึงมีพึงเป็น ได้แก่ ความเป็นผู้ขาด
ความอดทน หยาบคาย ละโมบ มักมากในกาม ไม่ซื่อสัตย์ และขาดหิริโอตัปปะ คือความละอายเกรงกลัวต่อสิ่งที่ผิด
สังคมตะวันตกแนะนาให้ผู้อยู่ในสาขาแพทย์และพยาบาลปฏิบัติต่อผู้ป่วยดังนี้
เน้นประโยชน์ผู้ป่วยสูงสุด และเน้นไม่ให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายใดๆ เพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยมีสิทธิ์อันชอบธรรมที่จะรู้สาเหตุและอาการป่วยของตัวเองและเลือกวิธี
รักษาตามความเหมาะสม
การรักษาด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรมตามสมมุติฐานโรค ทุกคนต่างมีเกียรติและ
สมควรได้รับการปฏิบัติต่อกันอย่างมีเกียรติ
แพทย์และพยาบาลไม่ปิดอาการป่วยต่อผู้ป่วย ควรให้ผู้ป่วยรับรู้ความหนักเบา
ของอาการตามจริง ดูความเหมาะสมอื่นประกอบ เช่น สภาพจิตผู้ป่วย
หลักปฏิบัติเหล่านี้แล้ว ผู้บรรยายวิชานี้ จะนําองค์ความรู้จากศาสนาและ
วัฒนธรรมท้องถิ่นให้เห็นว่าคล้ายคลึงหรือแตกต่างจากองค์ความรู้ในประเทศ
ตะวันตกอย่างไร เพื่อให้ผู้ป่วยได้ประโยชน์สูงสุดจากการดูแลรักษาของแพทย์
และพยาบาล
คุณธรรม 10 ประการ (จรรยาบรรณแพทย์)ตะวันตก
 มีเมตตาจิตแก่คนไข้ไม่เลือกชั้นวรรณะ
 มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ยกตนข่มท่าน
 มีความละอาย เกรงกลัวต่อบาป
 มีความละเอียดรอบคอบ สุขุม มีสติใคร่ครวญเหตุผล
 ไม่โลภเห็นแก่ลาภของผู้ป่วยแต่ฝ่ายเดียว
 ไม่โอ้อวดวิชาความรู้ให้ผู้อื่นหลงเชื่อ
 ไม่เป็นคนเกียจคร้าน เผอเรอ มักง่าย
 ไม่ลุอานาจแก่อคติ 4 คือความลาเอียงด้วย ความรัก ความโกรธ ความกลัว ความ
หลง (โง่)
 ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งที่เป็นโลกธรรม 8 คือ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข และความเสื่อม
 ไม่มีสันดานชอบความมัวเมาในหมู่อบายมุข
จริยธรรมสาหรับแพทย์มุสลิม
(Islamic Code of Medical Ethics) (1)
จากพระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน
1. ต้องมีความเชื่อในพระผู้เป็นเจ้าและคําสอนของศาสนาอิสลาม
2. ต้องปฏิบัติตัวตามแนวทางดังกล่าวในทุกๆด้านของการดําเนินชีวิต
3. มีความกตัญํูรู้คุณ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ ผู้อาวุโส
4. ถ่อมตน สงบเสงี่ยมเจียมตน มีความเมตตา กรุณา อดทน มีใจกว้าง
5. ปฏิบัติตนให้อยู่ในแนวทางที่ถูกต้อง และขอความช่วยเหลือจากพระผู้เป็น
เจ้าอยู่เสมอ
6. หาความรู้ ความชํานาญทางวิชาชีพให้ทันต่อเหตุการณ์พร้อมรับคําแนะนํา
และช่วยเหลือจากผู้มีประสบการณ์มากกว่าอยู่ตลอดเวลา
7. ปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับแห่งวิชาชีพอย่างครัดเคร่ง
8. พึงระลึกอยู่เสมอว่าทั้งร่างกายและจิตใจผู้ป่วยนั้นเป็นสิ่งที่พระเจ้าประทานมาการ
เยียวยาผู้ป่วยจึงต้องอยู่ในแนวทางคําสอนของศาสนา
9. พึงระลึกว่า พระเจ้าเป็นผู้ประทานชีวิต และผู้ที่จะถอดชีวิตได้คือพระองค์ หรือ
โดยอนุมัติจากพระองค์
10. พึงสังวรว่า ทุกย่างก้าวและทุกอริยาบทของเรานั้นพระผู้เป็นเจ้าเห็นและเฝ้าดูอยู่
11. ไม่กระทําการอันใดถึงแม้จะเป็นเสียงส่วนใหญ่หรือเป็นการขอร้องจากผู้ป่วย ถ้า
สิ่งนั้นขัดต่อหลักทางนําของพระผู้เป็นเจ้า
12. ไม่แนะนําหรือนําสิ่งที่เป็นอันตรายมาใช้
จริยธรรมสาหรับแพทย์มุสลิม
(Islamic Code of Medical Ethics) (2)
13. ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ทุกหมู่เหล่าโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ ฐานะ เชื้อชาติ ศาสนา ผิวสี
14. ให้คําแนะนําที่จําเป็นโดยพิจารณาจากสภาพรวมคือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
15. พึงรักษาความลับของผู้ป่วย
16. พึงใช้กริยามารยาทที่เหมาะสมในการติดต่อสนทนา ตลอดจนในการให้บริการต่างๆ ให้
มีบุคคลที่สามอยู่ด้วยในการตรวจผู้ป่วยต่างเพศ
17. ไม่วิจารณ์เพื่อนแพทย์ด้วยกันต่อหน้าผู้ป่วยหรือบุคลากรทางการแพทย์อื่นๆ
18. ไม่คิดค่าตอบแทนต่างๆในการตรวจรักษาเพื่อนแพทย์หรือญาติใกล้ชิดของแพทย์ด้วยกัน
19. พึงใช้สติป๎ญญาอันรอบคอบ(จากที่พระผู้เป็นเจ้าให้มา)ในการตัดสินใจในการงานต่างๆ
จริยธรรมสาหรับแพทย์มุสลิม
(Islamic Code of Medical Ethics) (3)
“ คนเราจะตัดสินใจและกระทาการใดๆ ได้ดีที่สุด
เมื่อยึดหลัก 2 ประการ คือ
ด้วยเจตนาที่ดีที่สุด
โดยใช้ปัญญาให้เต็มที่”
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)
จริยธรรมทางการแพทย์ในไทย
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระ
บิดาแห่งการแพทย์ไทย และพระบิดาแห่งการสังคมสงเคราะห์ ได้สั่ง
สอนนักเรียนแพทย์ให้ยึดมั่นในอุดมคติ ดังนี้
จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงสอนแพทย์ทุกคนให้รู้จัก
“อ่อนน้อม ถ่อมตน ทุกคนมีดี อย่าไปดูถูกใคร” ศ.คลินิก นพ.ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์
อดีตกรรมการแพทยสภา และคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เห็นว่า ถ้าทุก
คนประพฤติดีต่อกันด้วยไมตรี ให้เกียรติกัน ทั้งแพทย์ ผู้ป่วย และญาติก็จะเกิด
ความสัมพันธ์อันดี จึงได้น้อมนากระแสพระราชดารัสมาให้แพทย์ และบุคลากรใน
ศิริราชได้นาไปปฏิบัติ เชื่อว่า จะช่วยลดปัญหาการฟ้ องร้องระหว่างแพทย์กับผู้ป่วยและ
ญาติได้
ในเวลาต่อมาแพทยสภาได้นาพระบรมราโชวาทนั้น มาสร้างเป็นหลักสูตร “ธรรมาภิบาลสาหรับผู้บริหารทางการแพทย์(ปธพ.)”
โดยความร่วมมือจัดทาโครงการของสถาบันพระปกเกล้า (https://www.thairath.co.th/content/737131)
แพทย์เป็นวิชาชีพที่มีโอกาสสร้างบุญกุศลได้อยู่ตลอดเวลา
หากมองการเรียนแพทย์ในเชิงพุทธศาสตร์ตามหลักพรหมวิหาร
4 คือ
o เมตตา (ปรารถนาให้คนไข้มีความสุข)
o กรุณา (ปรารถนาให้คนไข้พ้นทุกข์)
o มุฑิตา (ยินดีเมื่อคนไข้หายป่วย) และ
o อุเบกขา (ทาใจ เมื่อช่วยอย่างสุดฝีมือแล้ว)
7 ลักษณะที่สาคัญของแพทย์ในอุดมคติ
ความเชื่อมั่น : “ความเชื่อมั่นของแพทย์จะช่วยให้ฉันมีความมั่นใจ”
ความเห็นอกเห็นใจ : "หมอพยายามเข้าใจสิ่งที่ฉันรู้สึกทางร่างกายและอารมณ์และสื่อสารความ
เข้าใจนั้นให้ฉัน”
มีเมตตากรุณา : "หมอเป็นห่วง เอาใจใส่ เมตตาและใจดี”
รู้ลักษณะส่วนบุคคล : "หมอสนใจในตัวผมมากกว่าการเป็นเพียงผู้ป่วย มีการพูดคุยโต้ตอบกับฉัน
และฉันแต่ละบุคคลได้”
เป็นที่น่าเคารพ : " หมอใส่ใจกับสิ่งที่ฉันบอกอย่างจริงจังและพยายามรักษาฉัน"
ละเอียดรอบคอบ : "หมอมีความน่าเชื่อถือและหนักแน่น”
จาก WebMD Health News
7 ลักษณะที่ตรงกันข้ามกับแพทย์ในอุดมคติ
ขี้อาย
ไม่เอาใจใส่
หลอกลวง/ทาให้เข้าใจผิด
เมินเฉย/ไร้ความรู้สึก
ไม่เห็นอกเห็นใจ/ไม่สนใจ
ไม่สุภาพ
รีบเร่ง
5 คุณลักษณะของแพทย์ในอุดมคติ (Five-star doctor) โดย WHO
1. เป็นผู้รักษาที่ดี (Care provider)
 แพทย์จะต้องดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจและด้านสังคม
 แพทย์จะต้องแน่ใจว่าการรักษาครอบคลุมและเต็มรูปแบบ (การรักษา, การป้องกันหรือฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย)
 แพทย์ต้องแน่ใจว่าการรักษามีคุณภาพสูงสุด
2. เป็นผู้ที่ทาการตัดสินใจที่ดี (Decision maker)
 แพทย์จะต้องใช้การตัดสินใจที่สมเหตุสมผลในแง่ของประสิทธิภาพและค่าใช้จ่ายได้
 แพทย์จะต้องเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด
 ในขณะที่มีข้อจากัดทางด้านทรัพยากรสาหรับการรักษาจะต้องนาออกมาใช้งานร่วมกันอย่างเป็นธรรมเพื่อ
ประโยชน์ของทุกคนในชุมชน
*WHO -World Health Organization, Geneva, Switzerland
3. เป็นผู้ที่สามารถสื่อสารได้อย่างดี (Communicator)
 แพทย์ในอุดมคติจะต้องมีการสื่อสารที่ดีเยี่ยมเพื่อที่จะชักจูงบุคคล ครอบครัว และคนในชุมชนให้
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต่างๆ และหมั่นดูแลตัวเองเพื่อรักษาสุขภาพ
4. เป็นผู้นาชุมชน (Community leader)
 แพทย์จะไม่เพียงแต่รักษาผู้ที่ต้องการรับการรักษาเท่านั้น แต่จะเป็นผู้นาชุมชนด้วยการส่งเสริมการ
จัดกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพชุมชนซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อคนจานวนมากด้วย
คุณลักษณะ 5 ประการของแพทย์ในอุดมคติ
(Five-star doctor) โดย WHO
5. เป็นผู้บริหารที่ดี (Manager)
 แพทย์จะต้องมีทักษะในการบริหารจัดการเพื่อดาเนินการหน้าที่เหล่านี้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
 การแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อที่จะทาให้การตัดสินใจดีขึ้นและการร่วมกันทางาน
กับทีมที่มีการรวมตัวของนักวิชาชีพหลายสาขาเพื่อร่วมมือกันส่งเสริม
สุขภาพที่ดีและการพัฒนาทางด้านสังคม
คุณลักษณะ 5 ประการของแพทย์ในอุดมคติ
(Five-star doctor) โดย WHO
คุณลักษณะ 5 ประการของแพทย์ในอุดมคติ
(Five-star doctor) โดย WHO
มหาวิทยาลัยที่ผลิตแพทย์จะมีบทบาทที่สาคัญในการเตรียมความพร้อมของแพทย์
ในอนาคตให้มีคุณลักษณะตาม ” Five-star doctor ” เพื่อให้แพทย์ได้แสดงขีด
ความสามารถในการสนับสนุนเชิงรุกเพื่อสร้างระบบสุขภาพในอนาคต
1) หลักเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence) และ
2) หลักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย (Non-malfeasance) (1)
 แพทย์จะทําอะไรก็ต้องเพื่อประโยชน์ของคนไข้เท่านั้น ให้มีความเมตตาต่อทุกชีวิต เห็นอกเห็น
ใจ
พร้อมทั้งเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อมนุษย์
 สิ่งที่จะดําเนินการจะต้องไม่ก่อให้เกิดผลร้ายกับคนไข้ ทั้งทางกายหรือจิตใจ
 คิดในสิ่งที่ดี (Think good)
 คุณอาจจะไม่ได้พูดอะไรเลย แต่คนอื่นยังคงสามารถอ่านคุณจาก ใบหน้า สําเนียง ภาษา
กาย/ท่าทาง
 การแสดงออกของคุณเป็นการแสดงออกของความคิดของคุณด้วย
 เมื่อคุณเงียบ คุณอาจจะยังบอกอะไรบางอย่างอยู่
 พูดในสิ่งที่ดี (Talk/Say good) - คาพูด
 ศิลปะของการสื่อสารเป็นพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และ
คนไข้
 ทาในสิ่งที่ดี (Do good) – การปฏิบัติ การแสดงออก
 การอุทิศตน ทุ่มเท
 เขียนในสิ่งที่ดี (Write good)
คาถาม : เรามักจะรู้เสมอว่าอะไรคือสิ่งที่ดีสาหรับผู้ป่วย
หรือไม่ ? (มุมมองของผู้ป่วยอาจจะแตกต่างจากเราก็ได้)
1) หลักเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence) และ
2) หลักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย (Non-malfeasance) (2)
3) หลักเคารพการตัดสินใจของผู้ป่วย (Autonomy)
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาต่าง ๆ ด้วยตนเอง
ความสามารถที่จะคิด ตัดสินใจ ปฏิบัติ
4) หลักความเป็นธรรม/ยุติธรรมกับคนไข้ (Justice)
การจัดหาบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกันตามความจาเป็นโดยไม่คานึงถึง
ฐานะทาง เศรษฐกิจ ชนชั้นทางสังคม ความเชื่อทางศาสนา หรือสีผิว
5) หลักการรักษาความลับของผู้ป่วย (Confidentiality)
ระมัดระวังในการนาข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วยไปบอกเล่าให้ผู้อื่น
ข้อจากัดของการเอื้อประโยชน์ให้คนไข้ (Beneficence)
ต้องเคารพในการตัดสินใจของผู้ป่วย และการ
ตัดสินใจของแพทย์อาจแตกต่างกัน
ต้องแน่ใจว่าสุขภาพไม่ได้ถูกซื้อในราคาที่สูงเกินไป
ต้องพิจารณาสิทธิของผู้อื่นด้วย
6) หลักความซื่อสัตย์ (Fidelity) และ หลักซื่อตรงต่อ
คนไข้ (Truthfulness)
 จะทําอะไรต้องเปิดเผยตรงไปตรงมา ไม่โกหกผู้ป่วย
 ต้องบอกคนไข้ก่อนว่าสิ่งที่จะทํามีข้อดีข้อเสียอะไร
 การบอกความจริงกับคนไข้
 การจัดหาบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกันตามความจําเป็นโดยไม่คํานึงถึงฐานะ
ทาง เศรษฐกิจ ชนชั้นทางสังคม ความเชื่อทางศาสนา หรือสีผิว
7. หลักรักษาศักดิ์ศรีคนไข้ (Dignity):
 จะทําอะไร ต้องไม่ให้คนไข้เสียศักดิ์ศรีของความเป็นคน
 ทั้งผู้ป่วยและแพทย์มีสิทธิที่จะมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสารวจทางด้านจริยธรรมในวิชาชีพของแกลลัพ โพล (Gallup Poll)
 บริษัท แกลลัพ เป็นหนึ่งในสานักโพลที่มีชื่อเสียงของอเมริกา ได้สารวจข้อมูลใน
ประเทศต่างๆ มากกว่า 160 ประเทศ
 ชาวอเมริกันได้รับการขอร้องให้คะแนนความซื่อสัตย์และจริยธรรมของวิชาชีพต่างๆ
เป็นประจาทุกปีตั้งแต่ปี 1990
 ผลโพลล์นี้รวบรวมความคิดเห็นโดยการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์กับตัวอย่างที่ถูกสุ่ม
จาก 805 คน โดยในจานวนนี้เป็นผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ใน 50 รัฐ
ของสหรัฐอเมริกาและโคลัมเบีย
ผลการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความซื่อสัตย์/
ความจริงใจ และจริยธรรมใน 11 วิชาชีพ ปี ค.ศ.
2014
3 อันดับสูงสุด
2 อันดับต่าสุด
ที่มา http://www.gallup.com/poll/145214/Rate-Nurses-Doctors-Highly.aspx
ผลการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความซื่อสัตย์/
ความจริงใจ และจริยธรรมใน 22 วิชาชีพ ปี ค.ศ.
2016
3 อันดับสูงสุด
ที่มา http://news.gallup.com/poll/200057/americans-rate-healthcare-providers-high-honesty-ethics.aspx
ผลการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความซื่อสัตย์/
ความจริงใจ และจริยธรรมใน 22 วิชาชีพ ปี ค.ศ.
2016
ที่มา http://news.gallup.com/poll/200057/americans-rate-healthcare-providers-high-honesty-ethics.aspx
2 อันดับต่าสุด
คณะบุคคล/สถาบัน/
หน่วยงานต่างๆ
ระดับความเชื่อมั่น
รวม เชื่อมั่น
มาก
ค่อนข้าง
เชื่อมั่น
ไม่ค่อย
เชื่อมั่น
ไม่เชื่อ
มั่น
ไม่มี
ความ
เห็น
ไม่รู้จัก
• แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ 100.0 17.9 63.3 10.3 2.2 6.0 0.3
• แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน 100.0 17.5 60.9 9.5 1.7 9.7 0.7
• ทหาร 100.0 13.3 59.7 13.7 3.3 9.6 0.4
• โทรทัศน์ 100.0 7.8 62.1 16.3 2.6 10.8 0.4
• ข้าราชการพลเรือน 100.0 5.9 61.1 14.9 2.6 13.2 2.3
• ผู้ว่าราชการจังหวัด 100.0 9.9 56.2 10.1 2.4 14.1 7.3
• ตํารวจ 100.0 6.2 51.1 23.9 8.9 9.6 0.3
• สมาชิกสภาท้องถิ่น 100.0 4.1 51.7 21.8 6.0 14.9 1.5
• องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 100.0 4.2 51.5 21.2 6.3 15.5 1.3
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อการทางานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ
(สารวจโดย สานักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า ปี 2553)
คณะบุคคล/สถาบัน/
หน่วยงานต่างๆ
ระดับความเชื่อมั่น
รวม เชื่อมั่น
มาก
ค่อนข้าง
เชื่อมั่น
ไม่ค่อย
เชื่อมั่น
ไม่เชื่อ
มั่น
ไม่มี
ความ
เห็น
ไม่รู้จัก
• เจ้าหน้าที่ที่ดิน 100.0 4.2 50.5 18.8 5.1 19.5 1.9
• หนังสือพิมพ์ 100.0 3.7 49.5 22.3 4.1 19.6 0.8
• เจ้าหน้าที่ศุลกากร 100.0 4.3 43.5 14.5 3.3 25.2 9.2
• วิทยุกระจ่ายเสียงทั่วไป 100.0 2.9 42.5 18.3 3.9 30.2 2.2
• วิทยุชุมชน 100.0 2.6 36.9 20.2 5.3 32.1 2.9
“ให้แพทย์ รู้จักอ่อนน้อม ถ่อมตน ทุกคนมีดี
อย่าไปดูถูกใคร ถ้าประพฤติดีต่อกันด้วยไมตรี
ให้เกียรติกัน ทั้งแพทย์ ผู้ป่วย และญาติ
ก็จะเกิดความสัมพันธ์อันดี”
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ปรัชญาของการสื่อสารทางการแพทย์คือ “การสื่อสารระหว่าง
แพทย์และผู้ป่วยที่ดีจะทาให้เกิดผลการรักษาที่ดี มีความร่วมมือ
และความพึงพอใจทั้งแพทย์และผู้ป่วยดีขึ้น”
(Brown JB, Stewort M, & Ryan BJ, 2003; Kjellgren,Ahlner, &
Säljö, 1995; Stewart et al., 1999)
ข่าว : เผยเรื่องร้องเรียนกว่าครึ่ง แพทย์-พยาบาลไม่ใส่ใจ
สื่อสารผู้ป่วย
 เรื่องที่ประชาชนร้องเรียนมากที่สุดต่อสาธารณสุขคือ การสื่อสารของบุคลากร
สาธารณสุข ซึ่งอาจพูดน้อยหรือไม่ให้ข้อมูลต่างๆ ต่อประชาชน ทาให้เกิดความเข้าใจ
ผิดทางการบริการ
 เรื่องร้องเรียนการให้บริการของโรงยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขจากประชาชน
ในปี 2555 พบว่า 17 เรื่อง สาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมการบริการ และร้อยละ
50 เกิดจากการขาดการสื่อสารที่เหมาะสม
 งานด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกจากจะดูแลรักษาผู้ป่วยแล้ว ยังมีบทบาทใน
การให้ข้อมูลความรู้แก่ประชาชน ป้องกันไม่ให้เจ็บป่วย ดังนั้นหมอและพยาบาลควร
ให้ความสาคัญกับการสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพด้วย
(ข่าวจากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 1 ก.ค. 2556)
หมอที่พูดดีกับคนไข้ ก็เท่ากับรักษาเขาไปแล้วกว่าครึ่ง“…คนเราประกอบด้วยส่วนจิตและส่วนกาย ถ้าหมอเข้าใจเช่นนี้เวลาตรวจคนไข้ ก็ต้อง
ดูแลทั้งสองส่วนนี้ เร็วๆนี้ ผู้เขียนไปโรงพยาบาลจังหวัดนครปฐม ต้องรอนายแพทย์นาน
ถึงเกือบ 3 ชั่วโมง แต่เมื่อได้พบแพทย์แล้ว ที่ต้องรอนานนั้นไม่บ่นเลย เพราะได้พบ
แพทย์ที่ให้ความสนใจต่อคนไข้อย่างจริงจัง ไม่ได้ทาแบบให้แล้วเสร็จไป หมอหนุ่มคนนี้
อธิบายวิธีคิดและวิธีที่จะรักษา ตลอดจนส่งไปตรวจเลือด หัวใจ ปอด เพื่อขจัดข้อสงสัย
อื่นๆออกไป เพื่อจะได้รักษาได้อย่างถูกต้อง”
• “ผู้เขียนเดินเข้าไปอย่างคนเจ็บ แต่เดินกลับออกมาอย่างคนหายเจ็บ เพราะได้รับการเยียวยาทั้งกายและใจ”
เทศน์โดย ธัมมนันทาภิกษุณี จากหนังสือ 108 ข้อคิด เพื่อชีวิตที่มีสุข จัดพิมพ์โดย มูลนิธิพุทธสาวิกา ๑ กันยายน ๒๕๕๓
อาชีพที่สามารถเคลื่อนย้ายไปทางานได้อย่างเสรี ในสายการแพทย์
 อาชีพพยาบาล (Nursing Services) อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners)อาชีพแพทย์
(Medical Practitioners)
 จากตลาดการให้บริการประชาชน 67 ล้านคน เป็น 600 ล้านคน
 คุณภาพผู้ทางานสายแพทย์จะเป็นอย่างไร
 จะรักษามาตรฐานของผู้จบวิชาชีพแพทย์ได้อย่างไร ที่มิให้เกิดการอ่อนด้อยในเรื่องมาตรฐาน
ขององค์กรในการผลิตคน และการบริการ
 บางวิชาชีพของไทยเริ่มจะเข้าสู่วิกฤตการขาดแคลนอาจารย์ เช่น ทันตแพทย์
 จะระวังดูแลในเรื่องมาตรฐานของคนจากประเทศต่างๆ ในอาเซียนที่เข้ามาประกอบอาชีพใน
ไทยได้อย่างไร
http://www.thai-aec.com/ หรือ http://www.facebook.com/thailandaec
เราจะเตรียมการรับมืออย่างไรดี
เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง
จับตาฟิลิปปินส์และเวียดนาม จากข้อมูล
 สภาวการณ์ขาดแคลนนักรังสีเทคนิคไทย
จํานวนมาก
 ไทยมีอัตราค่าตอบแทนที่สูงกว่าอย่างมีนัยสําคัญ
 การเปิดให้มีการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานมีฝีมือ
 ระบบการศึกษาที่ใกล้เคียงกัน
 มีใบประกอบโรคศิลปะ
 ประเทศไทยน่าอยู่ คนไทยมีน้ําใจ อัธยาศัยดี
เราจะเตรียมการรับมืออย่างไรดี
เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง
เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง จึงน่าเป็นไปได้ว่า นักรังสีเทคนิคจากฟิลิปปินส์มี
โอกาสสูงที่สุดที่จะเข้ามาทํางานในไทย โอกาสรองลงไปคือเวียดนาม
จะกีดกันหรือจะสนับสนุนหรืออย่างไรก็ได้ เมื่อคิดว่าเราจะเสียเปรียบ แสดง
ว่าต้องเอาเปรียบใช่ไหม นั่นไม่ใช่วัตถุประสงค์ของประชาคมอาเซียน มิตร
ประเทศของเราทั้งนั้น เพื่อน win เรา win น่าจะเป็นแนวทางที่ดี แต่
win ด้วยกันมีอะไรบ้างต้องช่วยกันคิด
เราจะเตรียมการรับมืออย่างไรดี
เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง
 ดังนั้น เมื่อประชาคมอาเซียนมาถึง จึงน่าเป็นไปได้ว่า นักรังสีเทคนิคจากฟิลิปปินส์มีโอกาส
สูงที่สุดที่จะเข้ามาทางานในไทย โอกาสรองลงไปคือเวียดนาม
 จะกีดกันหรือจะสนับสนุนหรืออย่างไรก็ได้เมื่อคิดว่าเราจะเสียเปรียบ แสดงว่าต้องเอา
เปรียบใช่ไหม นั่นไม่ใช่วัตถุประสงค์ของประชาคมอาเซียน มิตรประเทศของเราทั้งนั้น
เพื่อน win เรา win น่าจะเป็นแนวทางที่ดี แต่ win ด้วยกันมีอะไรบ้างต้องช่วยกัน
คิด
กรณีของบทบาทพยาบาลในฐานะผู้ช่วยเหลือแพทย์
 แพทย์บางคนละเลยการปฏิบัติหน้าที่ที่แพทย์จะต้องทําเอง และมอบหมายให้
พยาบาลทําเช่น เมื่อผ่าตัดเสร็จ สั่งให้พยาบาลเย็บแผลต่อเพราะตนจะรีบไปทา
ธุระอื่น บอกให้พยาบาลจ่ายยาไปตามที่เห็นสมควร ทั้งๆที่เป็นผู้ป่วยหนัก เหล่านี้
ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง พยาบาลเองก็อึดอัดที่จะปฏิบัติตามคําสั่งแพทย์ในกรณี
ดังกล่าว เพราะหากเกิดความเสียหายขึ้นพยาบาลต้องร่วมรับผิดด้วย ป๎ญหานี้จะ
แก้ไขอย่างไร ?
 พยาบาลติดต่อเพื่อให้แพทย์มาดูผู้ป่วย แต่แพทย์ไม่มา
จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม พยาบาลจะทําอย่างไร ?
(ป๎ญหานี้เป็นเรื่องที่อาจเกิดจากสาเหตุต่างๆกัน ส่วนหนึ่งเป็นเรื่อง
ของระบบบริหาร ส่วนหนึ่งเกิดจากความบกพร่องของแพทย์เอง
ซึ่งจะต้องแยกเป็นส่วนๆ ไป)
สหรัฐฯสอบสวนโครงการทดลองทางการแพทย์ ในคดี
ละเมิดจริยธรรมแพทย์
มีการสอบสวนแพทย์ของสหรัฐฯ ที่มีการใช้มนุษย์ลองยาเข้าข่าย
ละเมิดจริยธรรมและมนุษยธรรม ส่งผลให้ผู้บริสุทธิ์ได้รับผลกระทบ
ด้านสุขภาพและชีวิต
มีการฉีดเซลล์มะเร็งเข้าสู่ร่างกายวัยรุ่นชายอายุ 19 ปี ซึ่งป่วย
เรื้อรัง เพื่อสังเกตอาการทางร่างกาย แต่เจ้าหน้าที่กลับบอก
อาสาสมัครว่าเป็นการทดลองตัวยารวมถึงการพ่นเชื้อไวรัสไข้หวัด
ใหญ่สายพันธุ์เอเชียเข้าจมูกนักโทษ การฉีดเชื้อไวรัสซิฟิลิส และ
โกโนเรียแก่ผู้ป่วยโรคประสาท
http://www.thairath.co.th/content/oversea/152503
แพทย์สภายัน ตัดไข่เด็ก ผิด (1)
 บรรดาตุ๊ด แต๋ว กะเทย ที่อยากจะเปลี่ยนเพศจากชายเป็นหญิง พากันหันไปใช้วิธีการ
ตัดลูกอัณฑะหรือ “ตัดไข่” ทิ้ง จนกลายเป็นแฟชั่นฮิต โดยเสียค่าใช้จ่ายเพียง 4,000-
5,000 บาท ถูกกว่าการผ่าตัดแปลงเพศ “เฉาะจิ๋ม” ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นเงินหลาย
แสนบาท โดยเชื่อว่าการตัดไข่ทิ้งจะทาให้รูปร่างผิวพรรณดี มีความ เป็นหญิงมาก
ขึ้น กอปรกับมีกระแสข่าวว่า จะมีกฎหมายให้บรรดาบุคคลประเภทสอง สามารถ
ใช้คานาหน้าว่า “น.ส.” ได้ ทาให้บรรดาผู้ปกครองของบรรดาตุ๊ด แต๋วและกะเทย
วัยกระเตาะเหล่านี้ เกิดความวิตกกังวลและเป็นห่วงลูกหลาน ว่าอาจมีอันตรายต่อ
ชีวิตในอนาคต
http://tnews.teenee.com/crime/21912.html
แพทย์สภายัน ตัดไข่เด็ก ผิด (2)
ต้องกาชับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ให้เข้มงวดใน
เรื่องดังกล่าวเพราะการผ่าตัดอัณฑะในเด็ก ที่ยังไม่ บรรลุนิติ
ภาวะน่าเป็นห่วง นอกจากนี้ จะต้องตรวจดูกฎหมายให้เข้มงวด
ไม่ใช่นึกจะทําก็ทํา ยืนยันว่าโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข ไม่มีการให้บริการลักษณะนี้ การกระทําของแพทย์
ลักษณะนี้น่าถูกตําหนิ ต่างกับกรณีที่แพทย์ถูกฟ้องร้อง เพื่อ
ปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือ ชีวิตคน ที่ควรให้การช่วยเหลือ
http://tnews.teenee.com/crime/21912.html
แพทย์สภาระบุหมอที่เลือกรักษาคนไข้ไร้จรรยาบรรณ
เพราะผิดทางอาญา ในการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
 กรณีที่โรงพยาบาล........งดตรวจและรักษาเจ้าหน้าที่บางอาชีพว่า
“หลักการทั่วไปในเรื่องของจริยธรรมและเสรีภาพการประกอบวิชาชีพแพทย์ตามรัฐ
ธรรมนูญที่กําหนดไว้หากมีผู้บาทเจ็บในภาวะฉุกเฉินซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต แพทย์
จะปฎิเสธการรักษาไม่ได้ถึงแม้ผู้บาดเจ็บจะเป็นศัตรูเป็นผู้ร้ายก็ต้อง ทําการรักษาตามหลัก
จริยธรรม แต่หากได้รับบาดเจ็บที่ไม่ใช่ภาวะฉุกเฉินไม่ถึงขั้นเป็นอันตรายต่อชีวิต แพทย์
สามารถปฎิเสธการรักษาได้โดยการให้ไปรักษาที่โรงพยาบาลอื่นแทน
รวมทั้งหากเป็นการรักษาที่เกินความสามารถของแพทย์ แพทย์ก็สามารถที่จะปฏิเสธการ
รักษาได้
http://www.thaibizcenter.com/hotnewsdetail.asp?newsid=688
ตัวอย่างหลักจรรยาบรรณทางจริยธรรม (Code of Ethical conduct) -
โรงพยาบาลเมาท์ ไซนาย (The Mount Sinai Hospital) สหรัฐอเมริกา
จากการจัดอันดับโรงพยาบาลที่ดีที่สุดของประเทศ (Best Hospitals 2014-
15) ซึ่งจัดอันดับโดย U.S. News & World Report เมาท์ ไซนายเป็น
โรงพยาบาลที่ได้รับการจัดอันดับเป็นอันดับที่ 16 จากเกือบ 5,000
โรงพยาบาลทั่วประเทศ และยังถูกจัดอันดับในอีกหลายๆ ด้านที่เชี่ยวชาญ
พิเศษ เช่น ติดอันดับใน 10 ด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ระบบทางเดินอาหาร
โรคหัวใจ และหูคอจมูก
มีการเปิดสอนโรงเรียนแพทย์ Icahn School of Medicine at Mount Sinai
ผู้ที่จะนาหลักจรรยาบรรณทางจริยธรรม
(Code of Ethical conduct) ไปใช้คือใคร ?
 สมาชิกทุกคนในคณะกรรมการบริหาร
 ผู้บริหาร
 พนักงานของโรงพยาบาล
 แพทย์
 พนักงานชั่วคราว
 อาสาสมัคร
 นักเรียนนักศึกษา
 นักวิจัย
วิธีการตรวจสอบหลักจรรยาบรรณทางจริยธรรม
กลุ่มผู้บริหารระดับสูงของโรงพยาบาลเมาท์ ไซนายมีความรับผิดชอบโดยรวม
ในการตรวจสอบการนําหลักจรรยาบรรณนี้ไปปฏิบัติภายในโรงพยาบาล
ฝ่ายทรัพยากรบุคคลเป็นเจ้าของทางด้านการบริหารของหลักจรรยาบรรณนี้
โดยอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของข้อตกลงตามหลักจรรยาบรรณของ
คณะกรรมการที่ปรึกษาซึ่งมีตัวแทนจากฝ่ายทรัพยากรบุคคล, ฝ่ายกฎหมาย,
ด้านการแพทย์, ความหลากหลายและสิทธิมนุษยชน ฝ่ายการสื่อสาร ฝ่าย
การเงินและผู้บริหารระดับสูง
คณะกรรมการทั้งหลายเหล่านี้จะทบทวนหลักข้อตกลงนี้เป็นประจําทุกปี
และจะมีการเปิดประชุมโดยประธาน รองประธานอาวุโส และฝ่าย
พัฒนาองค์กร
ความรับผิดชอบของบุคลากรทุกคน
ต่อหลักจรรยาบรรณทางจริยธรรม
 อ่านและปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณนี้
 ให้ทําความคุ้นเคย เข้าใจและปฏิบัติตามขั้นพื้นฐานตามกฎหมายและข้อกําหนดด้านกฎระเบียบ
ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของตัวเอง
 ยึดมั่นตามมาตรฐานจริยธรรมสูงสุดเมื่อทําหน้าที่ในนามของเมาท์ ไซนาย
 เคารพค่านิยมทางวัฒนธรรมและความเชื่อทางศาสนาของผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัว
เพื่อนร่วมงาน ทีมงานและผู้มาเยือน
 ป้องกันและ / หรือละเว้นจากการเลือกปฏิบัติหรือการคุกคามใด ๆ รวมทั้งการล่วงละเมิดหรือ
ข่มเหงทางด้านเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือทางเพศ
 ละเว้นจากการขัดแย้งทางผลประโยชน์และ / หรือใช้ตําแหน่งเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว
 รายงานการทําผิด/ฝ่าฝืนทางกฎหมายหรือมาตรฐานทางจริยธรรมที่เป็นไปได้
หรือที่เกิดขึ้นจริง
คาถามมาตรฐานในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
(Compliance Questions)
 ความซื่อสัตย์ ความรู้สึกร่วมและวิจารณญาณที่ดีเป็นตัวชี้แนะที่ดีที่สุดของคุณในการกําหนดว่าการกระทํา
ของคุณเป็นไปตามมาตรฐานที่คาดหวังสําหรับพฤติกรรมทางด้านจริยธรรมและที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
แต่ถ้าคุณพบว่าตัวเองอยู่ในสถานการณ์ที่คุณไม่แน่ใจ ให้ถามตัวเองด้วยคาถามเหล่านี้
 การกระทาของฉันสอดคล้องกับความต้องการตามแนวทางปฏิบัติของเมาท์ ไซนาย และ
กฎหมายหรือกฎระเบียบหรือไม่ ?
 การกระทาของฉัน (เพื่อคนอื่น ๆ ) เข้าข่ายลักษณะ ของความไม่ถูกต้องหรือเป็นการ
กระทาที่ผิดกฎหมายหรือไม่ ?
 การกระทานี้จะทาลายชื่อเสียงแก่พนักงานคนอื่นๆ หรือแก่เมาท์ ไซนายหรือไม่ ถ้ามีการ
เปิดเผยอย่างเต็มที่ให้กับประชาชน?
 ฉันสามารถปกป้อง/แก้ต่างการกระทาของฉันให้แก่หัวหน้างานของฉัน พนักงานอื่น ๆ
และให้ประชาชนทั่วไปได้หรือไม่ ?
 การกระทาของฉันขัดแย้งกับข้อพึงปฏิบัติส่วนบุคคลของฉันหรือไม่ ?
โมเดลบูรณาการจริยธรรม (Integrated Ethics Model)
 ในขณะที่ “คุณภาพ (Quality) ได้กลายเป็นคําฮิตสําหรับองค์กรดูแลสุขภาพใน
หลายปีผ่านมา แต่องค์กรส่วนใหญ่ยังให้ความสําคัญค่อนข้างน้อยในเรื่อง
“คุณภาพทางจริยธรรม (Ethics Quality)”
 โมเดลนี้แสดงให้เห็นถึงการออกจากพื้นฐานจากวิธีการแบบดั้งเดิมกับจริยธรรมใน
องค์กรด้านการดูแลสุขภาพ เป็นโมเดลใหม่เพื่อพัฒนาคุณภาพเกี่ยวกับจริยธรรมใน
องค์กรดูแลสุขภาพ
 โมเดลนี้ถูกพัฒนาโดยศูนย์เพื่อจริยธรรมในการให้บริการด้านสุขภาพแห่งชาติ (The
National Center for Ethics in Health Care) ในกรมประชาสงเคราะห์ทหาร
ผ่านศึกของสหรัฐอเมริกา (United States Government„s Department of
Veterans Affairs)
โมเดลบูรณาการจริยธรรม (IntegratedEthics Model)(ต่อ)
โมเดลนี้ช่วยให้องค์กรสามารถจัดลําดับความสําคัญ การ
ส่งเสริม การวัดและการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานที่
เกี่ยวข้องกับจริยธรรมอย่างเป็นระบบ
หัวใจหลักของโมเดลนี้คือ จริยธรรมเป็นส่วนที่สาคัญ
เพื่อให้เกิดคุณภาพ
คุณภาพทางจริยธรรม (Ethics Quality)
 คุณภาพทางจริยธรรม หมายถึง การปฏิบัติทั่วทั้งองค์กรที่มีความสอดคล้องกับการยอมรับ
อย่างกว้างขวางจากมาตรฐานทางจริยธรรม บรรทัดฐาน หรือความคาดหวังสําหรับองค์กร
และพนักงาน
 แนวทางการปฏิบัติเหล่านี้จะถูกกําหนดไว้ใน
 คําแถลงพันธกิจ (Mission) และ ค่านิยม (Value) ขององค์กร
 ประมวลจรรยาบรรณ (Code of ethics)
 แนวทาการทํางานอย่างมืออาชีพ (Professional guidelines)
 คําแถลงมติ (Consensus statements)
 เอกสารแสดงความคิดเห็น (Position Papers)
 นโยบายสาธารณะและนโยบายสถาบัน (Public and institutional policies)
 คุณภาพทางจริยธรรมอาจได้รับการประเมินโดยผ่านทางโครงสร้าง กระบวนการ และการ
วัดผล
คุณภาพทางจริยธรรม (Ethics Quality) (ต่อ)
 ตัวอย่าง สมมติว่าผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด จากมุมมองของคุณภาพทางเทคนิค
การดาเนินการถูกดาเนินการอย่างสมบูรณ์และจากมุมมองของคุณภาพการให้บริการ
ผู้ป่วยเป็นที่น่าพอใจด้วยการดูแลอย่างดีที่เขาได้รับ ดังนั้นการดูแลในกรณีนี้มี
คุณภาพสูงใช่มั้ย ?
 คาตอบคือ ก็ไม่จาเป็น หากลองคิดดูว่าถ้าผู้ป่วยไม่เคยได้รับการแจ้งหรือได้รับข้อมูลที่
ผิด ๆ เกี่ยวกับขั้นตอนที่เขาได้รับการรักษานี้จะบ่งบอกถึงปัญหาที่มีคุณภาพจริยธรรม
ระดับของคุณภาพทางจริยธรรม
(Levels of Ethics Quality)
 คุณภาพทางจริยธรรมเป็นผลผลิตของการมีปฏิกิริยาต่อ
กันและกันของปัจจัยทั้ง 3 ระดับ คือ
(1) การตัดสินใจและการกระทา (Decisions & actions)
(2) ระบบและกระบวนการ (Systems & processes)
(3) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม (Environment & culture)
ร่วมกันทั้งสามระดับกาหนดคุณภาพทางจริยธรรมของ
องค์กร
ระดับของคุณภาพทางจริยธรรม
(Levels of Ethics Quality) (ต่อ)
 บริเวณพื้นผิวของภูเขาน้าแข็งทางจริยธรรมนี้ อยู่ในตาแหน่งที่
สามารถสังเกตการตัดสินใจและกระทาได้อย่างง่าย
และกิจกรรมต่างๆ ที่ไหลจากพวกเขาในการปฏิบัติใน
ชีวิตประจาวันขององค์กรและการเป็นพนักงาน
 พื้นที่ข้างใต้ภูเขาน้าแข็งนั้นเป็นส่วนของ ระบบขององค์กร
และกระบวนการผลักดันการตัดสินใจ ปัจจัยเหล่านี้
เป็นองค์กรที่ไม่สามารถมองเห็นได้อย่างง่ายดายใน
ตัวเอง แต่จะเห็นได้ชัดเมื่อใครคนหนึ่งมองระบบขององค์กร
และกระบวนการตัดสินใจ เช่น มองโดยการตรวจสอบรูปแบบ
และทิศทางสาหรับจริยธรรมในการขอคาปรึกษาด้านจริยธรรม
ระดับของคุณภาพทางจริยธรรม
(Levels of Ethics Quality) (ต่อ)
 ส่วนลึกใต้ภูเขาน้าแข็งลงไปอีกเป็นที่อยู่ของ
สภาพแวดล้อมทางจริยธรรมขององค์กรและ
วัฒนธรรมซึ่งมีอิทธิพลอย่างมาก
 แต่ไม่สามารถมองเห็นได้ โดยมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติ
ด้านจริยธรรมโดยรวม ระดับที่ลึกที่สุดนี้ประกอบด้วย
คุณค่า ความเข้าใจ ข้อสมมติฐาน นิสัยและข้อความที่
ไม่ได้พูด (สิ่งที่ผู้คนในองค์กรรู้ แต่ไม่ค่อยทาอย่าง
ชัดเจน) ระดับนี้เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งเพราะมันเป็น
รากฐานสาหรับทุกสิ่งทุกอย่าง อีกทั้งเพราะระดับนี้
สามารถเปิดเผยได้โดยต้องผ่านการสารวจอย่าง
รอบคอบและระมัดระวังซึ่งเป็นสิ่งที่มักจะมองข้าม
ขอบเขตเนื้อหาของจริยธรรมสาหรับการให้บริการด้านสุขภาพ
(Domains of Health Care Ethics)
ขอบเขตเนื้อหานี้ได้รับการออกแบบเพื่อให้ครอบคลุมประเด็นทางจริยธรรมที่ต้องเผชิญกับทุกประเภท
ขององค์กรด้านการดูแลสุขภาพ ซึ่งรวมถึงโรงพยาบาลสาหรับดูแลผู้ป่วย โรงพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้ นฟู
คลินิกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล สถานดูแลผู้สูงอายุ และระบบบริการสุขภาพ ประกอบด้วยเนื้อหาเหล่านี้
 การทาการตัดสินใจร่วมกันกับผู้ป่วย (องค์กรจะส่งเสริมให้มีการตัดสินใจร่วมกันระหว่างแพทย์และผู้ป่วย
ได้ดีมากน้อยเพียงใด)
 วิธีปฏิบัติทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (องค์กรจะมีวิธีจัดการด้านจริยธรรมของการดูแล
ผู้ป่วยที่ใกล้ระยะสุดท้ายได้ดีมากน้อยเพียงใด)
 วิธีปฏิบัติทางจริยธรรมที่จุดเริ่มต้นของชีวิต (องค์กรจะส่งเสริมการปฏิบัติทางจริยธรรมเกี่ยวกับช่วงก่อน
ตั้งครรภ์ ช่วงตั้งครรภ์ และระยะระหว่างคลอดได้ดีมากน้อยเพียงใด)
 สิทธิความเป็นส่วนตัวและการรักษาความลับของผู้ป่วย (องค์กรมีวิธีการปกป้องสิทธิความเป็นส่วนตัวและ
การรักษาความลับของผู้ป่วยได้ดีมากน้อยเพียงใด)
ขอบเขตของความรู้ของจริยธรรมสาหรับการให้บริการด้านสุขภาพ
(Domains of Health Care Ethics) (ต่อ)
 ความเป็นมืออาชีพในการดูแลผู้ป่วย (องค์กรมีวิธีการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมสาหรับการ
เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพได้ดีมากน้อยเพียงใด)
 การปฏิบัติทางจริยธรรมในการจัดสรรทรัพยากร (องค์กรมีวิธีแสดงให้เห็นถึงความเป็นธรรมใน
การจัดสรรทรัพยากรผ่านโปรแกรม การให้บริการและผู้ป่วยได้ดีมากน้อยเพียงใด)
 จริยธรรมในการดาเนินธุรกิจและการจัดการ (องค์กรมีวิธีส่งเสริมมาตรฐานด้านจริยธรรมให้สูง
ในการดาเนินธุรกิจและวิธีการบริหารจัดการมากน้อยเพียงใด)
 จริยธรรมในการวิจัย (องค์กรมีวิธีการเพื่อให้แน่ใจว่าพนักงานของบริษัทปฏิบัติตามมาตรฐานทาง
จริยธรรมที่ใช้กับการปฏิบัติงานวิจัยมากน้อยเพียงใด)
 การปฏิบัติทางจริยธรรมในสถานที่ทางานที่เกิดขึ้นทุกวัน (องค์กรมีวิธีสนับสนุนพฤติกรรมทาง
จริยธรรมในการทางานร่วมกันในงานประจาวันมากน้อยเพียงใด)
การใช้แนวทางตามกฎพื้นฐาน (Rules-Based Approaches)
และการปลูกฝั งค่านิยม (Values-Based Approaches) เพื่อมุ่งสู่จริยธรรม
การสื่อสารมาตรฐานทางกฎหมายขั้นต่าที่พนักงานจาเป็นจะต้องปฏิบัติ
ตรวจสอบพฤติกรรมของพนักงานในการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐาน
เหล่านี้
กระบวนการของสถาบันเพื่อรายงานข้อมูลพนักงานที่ไม่ปฏิบัติตาม
การลงโทษพนักงานที่กระทาผิดกฎระเบียบ
หน้าที่หลักของโมเดลบูรณาการจริยธรรม
(Integrated Ethics Core Functions)
 โมเดลนี้ปรับปรุงคุณภาพทางจริยธรรมโดยมีจุดมุ่งหมายทั้ง 3 ระดับ คือ
(1) ระดับการตัดสินใจและการกระทา
(2) ระดับระบบและกระบวนการ
(3) ระดับสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม
 โดยปรับปรุงผ่าน 3 หน้าที่หลัก ดังต่อไปนี้
1. การให้คาปรึกษาด้านจริยธรรม (Ethics consultation)
2. การป้องกันปัญหาทางด้านจริยธรรม (Preventive ethics)
3. ภาวะผู้นาเชิงจริยธรรม (Ethical leadership)
การให้คาปรึกษาด้านจริยธรรม (Ethics consultation)
: ตอบสนองต่อคาถามทางจริยธรรมในการดูแลสุขภาพ
 เมื่อต้องทาการตัดสินใจ/ดาเนินการใดๆ ข้อกังวลทางจริยธรรมมักจะเกิดขึ้นแผนงานทาง
ด้านจริยธรรมต้องมีวิธีการที่มีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองต่อความกังวลเหล่านี้ให้กับสมาชิกในทีม
ผู้ป่วยและครอบครัวที่เกี่ยวข้องได้
 วันนี้แทบทุกโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกามีบริการให้คาปรึกษาด้านจริยธรรมและเป็นส่วนสาคัญ
ต่อการให้บริการสุขภาพ แต่มีความผันแปรอย่างมากในแง่ของความรู้ ทักษะและกระบวนการที่
นามาใช้ในการปฏิบัติงานให้คาปรึกษาด้านจริยธรรม
 การให้คาปรึกษาทางด้านจริยธรรมอาจจะเป็นเพียงด้านบริการด้านสุขภาพที่เราอนุญาตให้
พนักงานที่ไม่จาเป็นต้องปฏิบัติตรงตามมาตรฐานวิชาชีพทั้งหมด และอาจมีคุณสมบัติและความ
เชี่ยวชาญที่แตกต่างกันที่จะให้เข้าไปเกี่ยวข้องอย่างมากในการตัดสินใจที่สาคัญที่มักจะตัดสินชีวิต
และความตายได้
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
Dew Thamita
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
Nattakorn Sunkdon
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
guest9e1b8
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
supaporn2516mw
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
Thanyamon Chat.
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
supap6259
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
Phakawat Owat
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
Nattakorn Sunkdon
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
jariya namwichit
 

Mais procurados (20)

โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
เรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงเรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรง
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 

Semelhante a จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6

7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
Watcharin Chongkonsatit
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
Kanti Bkk
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมาก
Supat Hasuwankit
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Nan Natni
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
Kruthai Kidsdee
 

Semelhante a จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6 (20)

Theoryorem
TheoryoremTheoryorem
Theoryorem
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมาก
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 

Mais de Taraya Srivilas

Mais de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6