SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
แหลงโบราณคดีบานทุงตึก
                                        ( เมืองโบราณ)
                                                                    โดยอาจารยวมล โสภารัตน
                                                                               ิ

         แหลงโบราณคดีบานทุงตึก ตั้งอยูบนเกาะคอเขาอันเปนเกาะใหญปากแมน้ําตะกั่วปา ใน
เขตพื้นที่หมูที่ 3 ตําบลเกาะคอเขา อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา              ตรงบริเวณปลายคลอง
เหมืองทองนักโบราณคดีเรียกแหลงโบราณคดีแหงนี้แตกตางกันหลายอยาง เชน แหลงโบราณคดี
ปลายคลองเหมืองทอง ชุมชุนโบราณตะกั่วปา หรือแหลงโบราณคดีบานทุงตึก เปนตน บริเวณนี้มี
ลักษณะพืนที่เปนลานทรายราบมีตนไมขนหาง ๆ เปนลักษณะปาละเมาะ ทางตะวันออกตอกับปา
           ้                              ึ้
ชายเลน มีเนื้อที่หลายสิบไร ชาวบานเรียกบริเวณนี้วา “ทุงตึก” เนื่องจากไดพบอิฐแผนใหญ ๆ
มากมายบนเนินดิน วางเรียงเปนรูปสี่เหลี่ยม เขาใจวาเปนซากตึกหรือวิหารโบราณปรากฏอยูหลาย
แหง นักโบราณคดีสันนิษฐานวาแหลงโบราณคดีแหงนี้ คือชุมชนโบราณตะกั่วปา ที่รูจักกันใน
นามเมืองทา “ตะโกลา” (Takola) ที่ปรากฏในจดหมายเหตุภูมิศาสตรปโตเลมี ของคลอดิอัส ปโตเล
มี นักภูมิศาสตรชาวกรีก ซึ่งเขียนในราว พ.ศ. 693 หรือ 708 ในคัมภีรมิลนทปญหาของพระ
                                                                                 ิ
ปฎกจุฬาภัยเถระ ที่เขียนในราว พ.ศ. 500 กลาวถึงเมือง “ตักโกละ” วาชาวอินเดียไดตั้งเมืองทา
และศูนยกลางการคาขายใหญโต เปนตลาดการคาเครื่องเทศ และคัมภีรมหานิทเทสซึ่งเขียนราว
พุทธศตวรรษที่ 7 ก็กลาวถึงเมืองทา ตักโกลา (Takkola) สวนในศิลาจารึกที่เมืองตันชอร ประเทศ
อินเดีย ของพระเจาราเชนทรโจฬะที่ 1 เรียกวาเมือง “ละไลตตักโกลัม” (Talaittkolam)
         จากหลักฐานทางดานเอกสารดังกลาวที่ปรากฏคอนขางจะชัดเจนมาก จึงเปนแรงจูงใจให
สํานักงานศิลปากรที่ 15 ภูเก็ต สํานักโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ไดเขาไป
สํารวจขุดคนแหลงโบราณคดีแหงนี้ในระหวางเดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2546 นี้ เพื่อตองการ
ศึกษา คนหาหลักฐานทางโบราณคดีในพื้นที่สนับสนุนเอกสารดังกลาว จากรายงานสรุปผลการ
ดําเนินงานโครงการสํารวจและขุดคนแหลงโบราณคดีบานทุงตึก จํานวน 8 หลุม พบหลักฐานทาง
โบราณคดีมากมาย ที่สําคัญดังนี้
       ๑. โบราณสถาน จากการขุดคนไดพบซากโบราณสถานจํานวน 8 แหง โดยอาคารที่พบ
             นาจะเปนศาสนสถานที่ประดิษฐานรูปเคารพในศาสนาพราหมณและพุทธ จํานวน 7 หลัง
             และเปนบอน้ารูปกลม จํานวน 1 บอ อาคารที่ขุดพบเกือบทั้งหมดใชหินรองรับน้ําหนัก
                           ํ
             แลวจึงใชอิฐกอทับดานบน มีเพียงแหงเดียวที่ไมพบวามีการนําหินมาเรียงทําเปนฐานราก
             เพราะเปนอาคารขนาดเล็กและโบราณกวา บางอาคารยังพบหินฐานเสาที่มีการสลักหิน
             เปนชองสี่เหลียมเล็ก ๆ สําหรับเสียบเดือยเสาไม พบเศษกระเบื้องมุงหลังคาดินเผา
                             ่
             จํานวนมาก แสดงวาเปนอาคารมุงหลังคาดวยกระเบื้องดินเผาทีเกาแกยุคแรก ๆ ของ
                                                                             ่
             โบราณสถานที่พบในประเทศไทย
       ๒. โบราณวัตถุ ไดขุดพบโบราณวัตถุเปนจํานวนมาก สามารถแบงแยกออกเปนประเภท
             ตาง ๆ อยางเครา ๆ ในเบื้องตนไดดงนี้
                                                ั
๒.๑. ภาชนะดินเผา
                          ภาชนะดินเผาพื้นเมือง เปนภาชนะเนือดิน มีลวดลายตาง ๆ เชน ลาย
                                                               ้
                    •
                   เชือกทาบ ลายประทับรูปทรงเรขา รูปสีเหลี่ยม รูปหยักแบบฟนปลา ลายขูดขีด
                                                           ่
                   เปนตาราง ลายขูดเปนรองในแนวนอน นอกจากนั้นยังพบพวยกา จุกภาชนะดิน
                   เผาอีกจํานวนหนึ่งดวย
                          ภาชนะดินเผาจีน พบเปนจํานวนมากที่เดน ๆ คือ เคลือบสีน้ําตาลแบบ
                    •
                   ฉาง-ชา ผลิตในมณฑลโฮนาน ภาชนะดินเผาเคลือบสีเขียวมะกอก เคลือบสี
                   ขาวซึ่งทั้งหมดอยูในสมัยราชวงศถังของจีน ผลิตขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ 12 –14
                          ภาชนะดินเผาเปอรเชีย เปนภาชนะดินเผาเลือบสีฟา เนื้อดินสีขาวยุยงาย
                    •
                   ภาชนะดินเผาของเปอรเชียแบบนี้ไดแพรหลายในยุคเดียวกับเครื่องปนดินเผา
                   ราชวงศถังของจีน
            ๒.๒. ชิ้นสวนประติมากรรม
                          พบพระหัตถขวาถือลูกประคํา นาจะเปนพระหัตถของพระโพธิสตว และ
                                                                                    ั
                    •
                   ชิ้นสวนพระบาท อาจเปนของพระพุทธรูป
            ๒.๓. เครื่องใชเครื่องประดับ
                          มีทั้งทองคําที่เปนแหวนขนาดเล็ก สลักตางหูทองคํา และแหวนสําริด ฝา
                    •
                   ครอบภาชนะ สําริด ตะปู ฯลฯ
            ๒.๔. ลูกปด
                          ลูกปดถือเปนโบราณวัตถุเดนมากในแหลงโบราณสถานแหงนี้          ไดพบ
                    •
                   ลูกปดหลายชนิด หลายแบบและหลายขนาดที่สําคัญคือ
                       − ลูกปดหินคารเนเลี่ยน
                       − ลูกปดแกวเคลือบ
                       − ลูกปดแกวมีรว สีตาง ๆ เชน ดํา ขาว แดง และฟา
                                         ิ้
                       − ลูกปดแกวทรงกระบอกหลายขนาดหลายสีเชน สีน้ําเงิน เขียว เหลือง ดํา
                        และขาวใส
                       − ลูกปดติดตอกันหลายเม็ด บางครั้งมีการเคลือบทองดานใน
                       − ลูกปดมีตาหลายชั้น
        นอกจากนี้ยังพบเศษแกวชิ้นเล็ก ๆ เปนจํานวนมาก โดยเศษแกวที่พบนี้เชื่อวานําเขามา
จากเปอรเชีย หรือโรมัน
         อยางไรก็ตามแหลงโบราณคดีแหลงนี้เคยมีการสํารวจ ศึกษา ขุดคน โดยนักโบราณคดี
มาแลวหลายคน รวมทั้งการลักลอบขุดหาลูกปดของชาวบานดวย กลาวคือ
         ดร.ควอริทช เวลส (H.G. Quaritch Wales) ไดเขาสํารวจแหลงโบราณคดีบานทุงตึกนี้
ในป พ.ศ. 2478 ไดบันทึกไววา สํารวจพบซากโบราณสถานทีกอดวยอิฐมีขนาดยาว 60 หลา
                                                                  ่
กวาง 30 หลา สูงจากระดับพื้นดินประมาณ 6 ฟุต และไดพบเศษภาชนะดินเผาที่ผลิตในสมัย
ราชวงศถงของจีน (พุทธศตวรรษที่ 12 – 13) และเครื่องแกวของชาวเปอรเชีย โดยทานไมไดขุด
          ั
คนในชั้นดินธรรมชาติ           ภาชนะดินเผาของชาวตางชาติที่พบในแหลงโบราณคดีแหงนี้ ดร.ควอ
ริทช เวลส ไดเก็บรวบรวมสงไปให บริติชมิวเซี่ยม ในประเทศอังกฤษ ชวยวิเคราะห ซึ่งสามารถ
สรุปแยกออกเปน 3 ประเภทคือ                  ประเภทที่ 1 เปนภาชนะดินเผาของจีนสมัยหกราชวงศ
ประมาณ พ.ศ. 763 – 1178 (ราชวงศไหวของพระเจาโจผี ถึงตนราชวงศถง ของพระเจาหลีเอี๋ยน)
                                                                      ั
ประเภทที่ 2 เปนภาชนะดินเผาของจีนเชนกัน แตอายุประมาณ พุทธศตวรรษที่ 13 – 16
ประเภทที่ 3 เปนภาชนะดินเผาลายครามของมุสลิม นาจะทําแถวประเทศเปอรเชียภาคใต ซึ่ง
พวกอาหรับนํามาคาขายในราวพุทธศตวรรษที่ 13
        ในระหวางป พ.ศ.2522 – 2524 ไดมีชาวบานเขาไปลักลอบขุดหาลูกปดและโบราณวัตถุใน
บริเวณแหลงโบราณคดีบานทุงตึกแหงนี้       ไดลูกปดเปนจํานวนมากหลายชนิดหลายลักษณะและ
หลายสมัย นอกจากนั้นยังขุดพบประติมากรรมสตรีอุมเด็กสลักจากหิน ขนาดฐานกวาง 60 ซม.
สูง 65 ซม. พระคเณศหรือคเณปติสลักจากหิน ขนาด สูง 72 ซม. กวาง 31 ซม. หนา 15 ซม.
และโบราณวัตถุอื่น ๆ อีกมากมาย
        ในป พ.ศ. 2525 – 2526 โครงการโบราณคดีประเทศไทย (ภาคใต) กองโบราณคดี กรม
ศิลปากร ไดเขาไปสํารวจและขุดตรวจ (หลุมทดสอบ) บริเวณแหลงโบราณคดีบานทุงตึกแหงนี้
                                                                            
พบหลักฐานเกี่ยวกับเครื่องถวยชามจีนและอาหรับ คลายคลึงกับที่ ดร.ควอริทช เวลส (H.G.
Quaritch Wales) สํารวจพบ
        เมื่อพิจารณาจากหลักฐานที่เปนเอกสาร โบราณวัตถุ และลักษณะทางภูมิศาสตรประกอบ
กันพอจะสรุปไดวา ชื่อเมือง “ตะโกลา” ที่ปรากฏในจดหมายเหตุ ศิลาจารึกและคัมภีรตาง ๆ นาจะ
หมายถึง “แหลงโบราณคดีบานทุงตึกแหงนี” นั่นเอง อยางไรก็ตาม หลักฐานตาง ๆ จะตองมี
                                          ้
การศึกษาวิเคราะหอยางละเอียด ซึ่งจําเปนตองใชการกําหนดอายุทางวิทยาศาสตรรวมดวย เพื่อ
ความชัดเจนทางดานประวัติศาสตรตอไป


                          000000000000000000000000000000

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่าrit77
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1khon Kaen University
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำleemeanxun
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80Rose Banioki
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009Pradya Wongworakun
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรักPradya Wongworakun
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interesttltutortutor
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 
Sale Agreement Condo
Sale Agreement CondoSale Agreement Condo
Sale Agreement Condojavakhao
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 

Mais procurados (20)

7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่า
 
No phone on the road
No phone on the roadNo phone on the road
No phone on the road
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
 
Entrepreneurship
EntrepreneurshipEntrepreneurship
Entrepreneurship
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
Creative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free CultureCreative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free Culture
 
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
 
Digital Lib4camp
Digital Lib4campDigital Lib4camp
Digital Lib4camp
 
Grassroot Media
Grassroot MediaGrassroot Media
Grassroot Media
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรัก
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
Sale Agreement Condo
Sale Agreement CondoSale Agreement Condo
Sale Agreement Condo
 
1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac
 
KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 

แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก

  • 1. แหลงโบราณคดีบานทุงตึก ( เมืองโบราณ) โดยอาจารยวมล โสภารัตน ิ แหลงโบราณคดีบานทุงตึก ตั้งอยูบนเกาะคอเขาอันเปนเกาะใหญปากแมน้ําตะกั่วปา ใน เขตพื้นที่หมูที่ 3 ตําบลเกาะคอเขา อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา ตรงบริเวณปลายคลอง เหมืองทองนักโบราณคดีเรียกแหลงโบราณคดีแหงนี้แตกตางกันหลายอยาง เชน แหลงโบราณคดี ปลายคลองเหมืองทอง ชุมชุนโบราณตะกั่วปา หรือแหลงโบราณคดีบานทุงตึก เปนตน บริเวณนี้มี ลักษณะพืนที่เปนลานทรายราบมีตนไมขนหาง ๆ เปนลักษณะปาละเมาะ ทางตะวันออกตอกับปา ้ ึ้ ชายเลน มีเนื้อที่หลายสิบไร ชาวบานเรียกบริเวณนี้วา “ทุงตึก” เนื่องจากไดพบอิฐแผนใหญ ๆ มากมายบนเนินดิน วางเรียงเปนรูปสี่เหลี่ยม เขาใจวาเปนซากตึกหรือวิหารโบราณปรากฏอยูหลาย แหง นักโบราณคดีสันนิษฐานวาแหลงโบราณคดีแหงนี้ คือชุมชนโบราณตะกั่วปา ที่รูจักกันใน นามเมืองทา “ตะโกลา” (Takola) ที่ปรากฏในจดหมายเหตุภูมิศาสตรปโตเลมี ของคลอดิอัส ปโตเล มี นักภูมิศาสตรชาวกรีก ซึ่งเขียนในราว พ.ศ. 693 หรือ 708 ในคัมภีรมิลนทปญหาของพระ ิ ปฎกจุฬาภัยเถระ ที่เขียนในราว พ.ศ. 500 กลาวถึงเมือง “ตักโกละ” วาชาวอินเดียไดตั้งเมืองทา และศูนยกลางการคาขายใหญโต เปนตลาดการคาเครื่องเทศ และคัมภีรมหานิทเทสซึ่งเขียนราว พุทธศตวรรษที่ 7 ก็กลาวถึงเมืองทา ตักโกลา (Takkola) สวนในศิลาจารึกที่เมืองตันชอร ประเทศ อินเดีย ของพระเจาราเชนทรโจฬะที่ 1 เรียกวาเมือง “ละไลตตักโกลัม” (Talaittkolam) จากหลักฐานทางดานเอกสารดังกลาวที่ปรากฏคอนขางจะชัดเจนมาก จึงเปนแรงจูงใจให สํานักงานศิลปากรที่ 15 ภูเก็ต สํานักโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ไดเขาไป สํารวจขุดคนแหลงโบราณคดีแหงนี้ในระหวางเดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2546 นี้ เพื่อตองการ ศึกษา คนหาหลักฐานทางโบราณคดีในพื้นที่สนับสนุนเอกสารดังกลาว จากรายงานสรุปผลการ ดําเนินงานโครงการสํารวจและขุดคนแหลงโบราณคดีบานทุงตึก จํานวน 8 หลุม พบหลักฐานทาง โบราณคดีมากมาย ที่สําคัญดังนี้ ๑. โบราณสถาน จากการขุดคนไดพบซากโบราณสถานจํานวน 8 แหง โดยอาคารที่พบ นาจะเปนศาสนสถานที่ประดิษฐานรูปเคารพในศาสนาพราหมณและพุทธ จํานวน 7 หลัง และเปนบอน้ารูปกลม จํานวน 1 บอ อาคารที่ขุดพบเกือบทั้งหมดใชหินรองรับน้ําหนัก ํ แลวจึงใชอิฐกอทับดานบน มีเพียงแหงเดียวที่ไมพบวามีการนําหินมาเรียงทําเปนฐานราก เพราะเปนอาคารขนาดเล็กและโบราณกวา บางอาคารยังพบหินฐานเสาที่มีการสลักหิน เปนชองสี่เหลียมเล็ก ๆ สําหรับเสียบเดือยเสาไม พบเศษกระเบื้องมุงหลังคาดินเผา ่ จํานวนมาก แสดงวาเปนอาคารมุงหลังคาดวยกระเบื้องดินเผาทีเกาแกยุคแรก ๆ ของ ่ โบราณสถานที่พบในประเทศไทย ๒. โบราณวัตถุ ไดขุดพบโบราณวัตถุเปนจํานวนมาก สามารถแบงแยกออกเปนประเภท ตาง ๆ อยางเครา ๆ ในเบื้องตนไดดงนี้ ั
  • 2. ๒.๑. ภาชนะดินเผา ภาชนะดินเผาพื้นเมือง เปนภาชนะเนือดิน มีลวดลายตาง ๆ เชน ลาย ้ • เชือกทาบ ลายประทับรูปทรงเรขา รูปสีเหลี่ยม รูปหยักแบบฟนปลา ลายขูดขีด ่ เปนตาราง ลายขูดเปนรองในแนวนอน นอกจากนั้นยังพบพวยกา จุกภาชนะดิน เผาอีกจํานวนหนึ่งดวย ภาชนะดินเผาจีน พบเปนจํานวนมากที่เดน ๆ คือ เคลือบสีน้ําตาลแบบ • ฉาง-ชา ผลิตในมณฑลโฮนาน ภาชนะดินเผาเคลือบสีเขียวมะกอก เคลือบสี ขาวซึ่งทั้งหมดอยูในสมัยราชวงศถังของจีน ผลิตขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ 12 –14 ภาชนะดินเผาเปอรเชีย เปนภาชนะดินเผาเลือบสีฟา เนื้อดินสีขาวยุยงาย • ภาชนะดินเผาของเปอรเชียแบบนี้ไดแพรหลายในยุคเดียวกับเครื่องปนดินเผา ราชวงศถังของจีน ๒.๒. ชิ้นสวนประติมากรรม พบพระหัตถขวาถือลูกประคํา นาจะเปนพระหัตถของพระโพธิสตว และ ั • ชิ้นสวนพระบาท อาจเปนของพระพุทธรูป ๒.๓. เครื่องใชเครื่องประดับ มีทั้งทองคําที่เปนแหวนขนาดเล็ก สลักตางหูทองคํา และแหวนสําริด ฝา • ครอบภาชนะ สําริด ตะปู ฯลฯ ๒.๔. ลูกปด ลูกปดถือเปนโบราณวัตถุเดนมากในแหลงโบราณสถานแหงนี้ ไดพบ • ลูกปดหลายชนิด หลายแบบและหลายขนาดที่สําคัญคือ − ลูกปดหินคารเนเลี่ยน − ลูกปดแกวเคลือบ − ลูกปดแกวมีรว สีตาง ๆ เชน ดํา ขาว แดง และฟา ิ้ − ลูกปดแกวทรงกระบอกหลายขนาดหลายสีเชน สีน้ําเงิน เขียว เหลือง ดํา และขาวใส − ลูกปดติดตอกันหลายเม็ด บางครั้งมีการเคลือบทองดานใน − ลูกปดมีตาหลายชั้น นอกจากนี้ยังพบเศษแกวชิ้นเล็ก ๆ เปนจํานวนมาก โดยเศษแกวที่พบนี้เชื่อวานําเขามา จากเปอรเชีย หรือโรมัน อยางไรก็ตามแหลงโบราณคดีแหลงนี้เคยมีการสํารวจ ศึกษา ขุดคน โดยนักโบราณคดี มาแลวหลายคน รวมทั้งการลักลอบขุดหาลูกปดของชาวบานดวย กลาวคือ ดร.ควอริทช เวลส (H.G. Quaritch Wales) ไดเขาสํารวจแหลงโบราณคดีบานทุงตึกนี้ ในป พ.ศ. 2478 ไดบันทึกไววา สํารวจพบซากโบราณสถานทีกอดวยอิฐมีขนาดยาว 60 หลา ่ กวาง 30 หลา สูงจากระดับพื้นดินประมาณ 6 ฟุต และไดพบเศษภาชนะดินเผาที่ผลิตในสมัย ราชวงศถงของจีน (พุทธศตวรรษที่ 12 – 13) และเครื่องแกวของชาวเปอรเชีย โดยทานไมไดขุด ั คนในชั้นดินธรรมชาติ ภาชนะดินเผาของชาวตางชาติที่พบในแหลงโบราณคดีแหงนี้ ดร.ควอ ริทช เวลส ไดเก็บรวบรวมสงไปให บริติชมิวเซี่ยม ในประเทศอังกฤษ ชวยวิเคราะห ซึ่งสามารถ สรุปแยกออกเปน 3 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 เปนภาชนะดินเผาของจีนสมัยหกราชวงศ
  • 3. ประมาณ พ.ศ. 763 – 1178 (ราชวงศไหวของพระเจาโจผี ถึงตนราชวงศถง ของพระเจาหลีเอี๋ยน) ั ประเภทที่ 2 เปนภาชนะดินเผาของจีนเชนกัน แตอายุประมาณ พุทธศตวรรษที่ 13 – 16 ประเภทที่ 3 เปนภาชนะดินเผาลายครามของมุสลิม นาจะทําแถวประเทศเปอรเชียภาคใต ซึ่ง พวกอาหรับนํามาคาขายในราวพุทธศตวรรษที่ 13 ในระหวางป พ.ศ.2522 – 2524 ไดมีชาวบานเขาไปลักลอบขุดหาลูกปดและโบราณวัตถุใน บริเวณแหลงโบราณคดีบานทุงตึกแหงนี้ ไดลูกปดเปนจํานวนมากหลายชนิดหลายลักษณะและ หลายสมัย นอกจากนั้นยังขุดพบประติมากรรมสตรีอุมเด็กสลักจากหิน ขนาดฐานกวาง 60 ซม. สูง 65 ซม. พระคเณศหรือคเณปติสลักจากหิน ขนาด สูง 72 ซม. กวาง 31 ซม. หนา 15 ซม. และโบราณวัตถุอื่น ๆ อีกมากมาย ในป พ.ศ. 2525 – 2526 โครงการโบราณคดีประเทศไทย (ภาคใต) กองโบราณคดี กรม ศิลปากร ไดเขาไปสํารวจและขุดตรวจ (หลุมทดสอบ) บริเวณแหลงโบราณคดีบานทุงตึกแหงนี้  พบหลักฐานเกี่ยวกับเครื่องถวยชามจีนและอาหรับ คลายคลึงกับที่ ดร.ควอริทช เวลส (H.G. Quaritch Wales) สํารวจพบ เมื่อพิจารณาจากหลักฐานที่เปนเอกสาร โบราณวัตถุ และลักษณะทางภูมิศาสตรประกอบ กันพอจะสรุปไดวา ชื่อเมือง “ตะโกลา” ที่ปรากฏในจดหมายเหตุ ศิลาจารึกและคัมภีรตาง ๆ นาจะ หมายถึง “แหลงโบราณคดีบานทุงตึกแหงนี” นั่นเอง อยางไรก็ตาม หลักฐานตาง ๆ จะตองมี ้ การศึกษาวิเคราะหอยางละเอียด ซึ่งจําเปนตองใชการกําหนดอายุทางวิทยาศาสตรรวมดวย เพื่อ ความชัดเจนทางดานประวัติศาสตรตอไป 000000000000000000000000000000